World Heritage Site : Malaysia,Cambodia

             ประเทศมาเลเซีย องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมาเลเซียทั้งสิ้น 4 แหล่ง
              อุทยานแห่งชาติกูนุงมูลู Gunung Mulu Nation Park เป็นอุทยานที่ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว รัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซีย ติดกับชายแดนของประเทศบรูไน เป็นพื้นที่ที่ทมีความหลากหลายในด้านชีววิทยา และธรณีวิทยาเป็นอย่างมาก มีพันธุ์พืชกว่า 3,500 ชนิด และมีพันธุ์ปาล์มกว่า 109 ชนิด
             ด้านธรณีวิทยาเป็นภูมิประเทศแบบหิปูน มีพื้นที่สูงๆ ต่ำๆ หน้าผาสูงชัน ยอมแหลม มัพบรอยแตกว้าง ซึ่งกบายเป็นถ้ำกว้าง ผนังและเพดามถูกปกคลุมด้วยหินงอกหินย้อย แลเกิดถ้ำทีมีขนาดใหญ่อู่ในอุทยานแห่งนี้ คือ ซาราวัค แซมเบอร์ มีความยาว 700 เมตร กว้าง 396 เมตรและสูง 80 เมตร คำนวฯพื้นที่แล้วสามารถบรรจะเครื่องบินโบอิ้ง 747 ได้ 40 ลำ
           นอกจากนี้ในอุทยานนักท่องเที่ยวยังจะได้พบกับหนึ่งในทางเดิน อดีตถ้ำที่ใหญ่ที่สุดนโลกอย่าง เดียร์เคฟ ซึ่งมีขนาดใหญ่เท่ากับโบสถ์เซนต์ปอลในลอนดอนห้าหลัง รวมไปถึง ถ้ำน้ำใส ซึ่งเป็นถ้ำที่ยาวที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเป็นที่อยุ่ของค้างควมหลายล้านตัว ซึ่งจะพรูกันออกมาจากถ้ำและินเข้าไปในป่าเป็นประจำทุกๆ เย็นขณะที่พระอาทิตย์กลังตกดิน
           ความแปลกตาของหินปูน ซึ่งถูกกัดเซาะโดยธรรมชาติเขตร้อนเป็นรูปร่่างต่างๆ หนึ่งในนั้นคือ หินแหลมขนาดใหญ่ที่คมกริบราวกับมีดโกน ซึ่งถุกกัดกร่อนเป็นแอ่งลึก ซึ่งมีชื่อเรียกตามรูปร่างลักษณะว่า เดอะ พินนาเคิล การเดินป่าในอุทยานแห่งนี้ เต็มไปด้วยเส้นทางที่ยากลำบาก และอาจจะใช้เวลาหลายวัน แต่ให้ผลตอบแทนด้วยความสวยงามที่แสนคุ้มค่า ดดยนักท่องเทียงสามารถติดต่อขอรับบริการได้ที่รีสอร์ทในพื้นที่ ที่สำคัญควรมีมัีคคุเทศน์นำทางและลูกหาบช่วยยอกระเป๋าติดตามไปด้วย
            อุทยานกีนาบาลู Kinabalu Park อุทยานคินาบาลู คือเส้นทางสู่ภูเขาคีนาบาลู อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 1,585 เมตรและเป็นจุดเริ่มต้นในการเดินทางขึ้นสุ่ยอดเขาคินาบาลุ อุทยานแห่งนี้มีพื้นที่ 754 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ของภูเขาคินาบาลู ภูเขาทัมบายุคอน และตีนเขา ภูเขาเหล่านี้มีที่มาที่น่าสนใจ จากหลักฐานทางธราณีวิทยาพบว่า ต้องใช้เวลาถึงหนึ่งล้านปี ภูเขาจึงมีรูปร่างอย่างที่พวกเราเห็นอยุ่ในปัจจุบัน ภูเขาคินาบาลูที่ตั้งตระหว่านอยู่ในอุทยาน แม้จริงแล้วคือเทือกเขาหินแกรนิคขนาดใหย่ที่ดันเปลือกโลกขึ้นมา
           
 เมื่อเวลาผ่านไป ทรายและหินหนาหลายพันฟุตสึกกร่อนลงเผยให้เห็นเทือกเขาแห่งนี้ ในยุคน้ำแข็ง ธารน้ำแข็.ที่ไหลข้ามยอดเขาทำให้ยอดเขาคินาบาลูราบเรียบ แต่ยอดส่วนที่ขุรุขระเหนือระดับของธารน้ำแข็ง ไม่ด้ถูกกัดเซาะไปด้วย ดังนั้น จึงเป็นพื้นที่ผิวขรุขระอย่างในปัจจุบัน
            อุทยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของรัฐซาบะฮ์ บนเกาะบอร์เนียว ทางตะวันออกของมาเลเซีย มีพื้นที่ 754 ตารางกิโลเมตร อยู่รอบๆ ภูเขากีนาลาลู ซึ่งสุง 4,095.2 เมตร และเป็นภูเขาท่สูงที่สุดบนเกาะบอร์เนียว ภายในอุทยานเป็นแหล่งที่อยุ่ของพันธุ์พืชและสัตว์หลากหลายชนิด โดยแบ่งเขตแหล่งที่อยุ่ออกตามสภาพทางภูมิศาสตร์ ออกได้เป็น 4 เขตได้แก่ ป่า โลว์แลนด์ ดิปเตอโรแครป ป่าสนเขา ทุ่งหญ้าบนที่สูง และพุ่มไม่บนยอมเขา บริเวณภูเขาเป็นแหล่งที่พบกล้วยไม้ และพืชกินแมลงหลายสายพันธุ์ ที่มีชื่เสียงคือสายพันธุ์ เนปเปนเทส ราจาร์ และยังเป็นถ่ินอาศัยของสัตว์ประจำถิ่นอีกมากมาย เช่น ปลิงแกงยักษ์กีนาบาลู ไส้เดือนยักษ์กีนาบาลู นกเขียนวก้านตองปีกสีฟ้ากีนาบาลู
             มะละกา และ จอร์จทาวน์ นครแห่งประวัติศาสตร์แห่งช่องแคบมะละกา Melaka and George Town,Historic Citis of the Straits of Malacca มะละกา เป็นรัฐทางตอนใหต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยุ่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึงในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผุ้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผุ้ว่าราชการรัฐแทน ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันอกและตะวันตกบนชองแคบมะละกามากกว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปโปรตุเกส ดัตช์ และมาเลย์ ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา ช่องแคบมะละกาเป็นช่องแคบระหว่งแหลมมลายูกับเกาะสุมาตรา อยู่บริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใจ้ของประเทศไทยตะวันตกและใต้ของมาเลเซีย ทางด้านตะวันออกเแียยงเหนือและเหนือของเกาะสุมาตรา และเลยไปถึงทางด้านใต้ของสิงคโปร์ ระบุพิกัดที่ประมาณ 1.43 องศาเหนือและ 102.89 องศาตะวันออก ช่องแคบมะละกาเป็นช่องแคบที่มีความหว้างบริเวณทางเข้าประมาณ 5 ไมล์ยาวประมาณ 600 ไมล์ ช่วงที่แคบที่สุดประมาณ 1.5 ไมล์ มีเรือผ่านประมาณ 900 ลำต่อวันหรือ
ประมาณ 50,000 ลำต่อปี ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแล้วมีประมาณเรือที่ผ่านมากกว่าคลองสุเอซประมาณ 2 เท่า และมากว่าคองปานามากว่า 3 เท่า

มะละกาเป็นเมืองท่าสำคัญบนช่องแคลมะละกาซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่มะละการุ่งเรืองมาก นั่นจึงเป็นเหตุให้เมืองนี้เป็นที่หมายปองของบรรดาจักรวรรดินิยม จนในที่สุดโปรตุเกสด้เดินทางเข้ามายึดครอง ก่อนที่จะถูกดัตช์ เข้ามาครอบครองต่อ และเปลี่ยนมือผุ้ปกครองมาเป็นอังกฤษ แล้วญี่ปุ่นก็เข้ามาครอบครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2ในช่วงเวลาสั้นๆ  จากนั้นมะละกากลับไปอยุ่ใต้อาณานิคมอังกฤษอีกครั้ง เมื่อมเลเซียประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2500 สถานที่ประกาศเอกราชคือ มะละกา ซึ่งในปัจจุบันตึกอนุสรณ์ในการประกาศอิสรภาพยังคงตั้งตระหว่างโดดเด่นอยุ่ในมะละกา
            มะละกาเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เต็มไปด้วยร่องรอยของประวัติศาสตร์สำคัญของมาเลเซีย จนได้รับการขนานนามว่าเป็น "นครแห่งประวัติศาสตร์ ของชนชาติมาเลเซีย" สถานที่สำคัญของมะละการ คือ บริเวณจตุรัศแดง บนถนน เลก ซา มา น่า หรือเรียกว่า จัตุรัสดัตช์ เนื่องจากที่นี่เคยเป็นศุนย์กลางชุมชนดัตช์ในสมัยที่เข้าปกครองมลายู ซึ่งแวดล้อมไปด้วยสถปัตยกรรมแบบตุวันตกอันสวยงาม มีใจกลางจตุรัส เป็นลานน้ำพุเก่าแก่แบบอังกฤษที่สร้้างถวายแด่ราชินีวิคตอเรีย และมีสถาปัตยกรรมแบบดัตช์สีแดงโดดเด่น ประกอบด้วย โบสถ์คริสต์ ศิลปกรรมดัตช์ประยุกต์ และอาคารสตัดธิวท์ เป็นอาคารดัตช์เก่าแก่ที่สุดในมาเลเซีย ปัจจุบันอาคารสตัดธิวท์กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีที่น่าสนใจย่ิงของมะละกา
            มรดกโลกโบราณคดีแก่งหุบเขาเล็งกง Archaeological Heritage of the Leggong Valley
            หุบเขาเล็งกง ในรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย เป้ฯพื้นที่ที่มีความสำคัญทางโบราณคดีมากที่สุดของคาบสมุทรมาเลเซีย มีการขุดค้นพบร่องรอยในยุคก่อนประวัติศาสตร์จำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการดำรงชีวิตของมนุษย์ในยุคต้นที่เ่กาแก่ที่สุดในคาบสมุทรมาเลเซีย เล็งกงเปรียบเสมือนพิพิธภัณฑ์ในพื้นที่ดล่งและถ้ำ เป็นแหล่งที่ค้นพบโครงกระดุก ฟอสซิลของมนุษย์ซึ่งเรียกว่า มนุษย์เประ ในถ้ำพบค้นพบเครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา อาวุธ และเครื่องมือหิน ถ้ำหลายแห่งในเล็งกงเป็นสถานที่ที่แสดงให้เก็ถึงหลักฐานการดำรงชีวิตและการล่าสัตว์ของมนุษย์ในยุคต้น
            แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกง ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมของมาเลเซีย รวมแหล่งโบราณคดี 4 แห่งเข้าด้วยกัน ได้แก่
         
  - บูกิตบูนูห์ และโกตาแทใปาน เป็นแหล่งโบราณคดีแบบเปิดโล่ง มีพิพิธภัฒฑ์ และแหล่งขุดค้นโบราณคดีที่ตั้งอยุ่ เป็นแหล่งโบราณคดีที่ให้ข้อมุบลทางโบราณคดี และทางธรณีวิทยาี่สำคัญเป็นอย่งมาก ที่ทำให้เข้าใจในเรื่องสิงแวดล้อมใยุคโบราณกับพูติกรรมทางปัญญาและวัฒนธรรมของมนุษย์ในยุคต้นผ่านการใง้งานของเครื่องมือหิน
            - บูกิตจาวา เป็นแหล่งขุดค้นดบราณคดีแบบเปิดโล่ง
            -บูกิตเคปาลากาจาห์ เป็นเทือกเขาหินปูนและถ้ำหลายแห่ง แหล่งดบราณคดีอยุ่ในเพิงผาหินในเทือกเขาหินปูน บูกิต เคปา กาจาห์ ตั้งอยุ่ประามณ  กิโลเมตร จากเมือง เล็งกง การขุดค้นในปี 1900 เผยให้เห็นหลักฐานของการปยู่อาศัยของมนุษย์ประมาณ 11,000 ถึง 6,000  ปีที่ผ่ามาหลักฐานส่วนใหญ่ประกอบด้วยเครื่องมือหินดังกล่าวเป็นเครื่อง มือ และซากสัตว์
           - บูกิตกัวฮาริมัย เป้นแหล่งดบราณคดีสุสานยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยุ่ในเทือกเขาหินปูนบูกิตกัวฮาริมัน ประมาณ 10 กิโลเมตรจากเมืองเล็งกง กัวฮาริมัว เป้นถ้ำขนาดใหญ่ ลึกประมาณ 28 เมตร สุง 20 เมตร พื้นถ้ำปกคลุมไปด้วยก้อนหินงอกหินย้อย มีการขุดพบซากศพโบราณในถ้ำ 11-12 ซาก ดูเหมือนว่าถ้ำแห่งนี้ถุกนำมาใช้เป็นสุสานช่วงระหว่างปลายยุคหินใหม่และยุคโลหะตอนต้น
           แหล่งโบราณคดีเหล่านี้ เป็นหนึ่งในแหลงที่มีกาบันทึกเรืองราวของมนุษย์ในุคต้นอยุนใาถานที่เดียวที่มีอายุยาวนานและเก่าแ่ที่สุดที่อยู่นอกทวีปแอฟริกา จำนวนของแหล่งที่พบในพื้นที่ซึ่งมีขอบเขตสัมพันธ์กันทัง 4 แห่งนี้ ทำให้สามารถคาดคะเน ปรากฎการก่อตัวขึ้นของประชากรขนาดใหญ่ กึ่งเร่ร่อนกึ่งตั้งหลักปักฐาน กับวัฒนธรรมในสมัยหินเก่า หินใหม่ และยุคโลหะที่ยังเหลือให้เห็นอยู่
          ประเทศกัมพูชา องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของ กัมพูชาไว้ 2 แห่ง
           เมืองพระนคร Angkor ตั้งอยู่ในจังหวัดเสีมราฐ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา อยู่เหนือทะเลสาบเขมรไม่ไกลนัก เป็นเมืองที่ได้รับเลือกให้เป็นมรดกโลก  เมืองพระนครถูกจัดให้เป็นแหล่งมรดกโลกที่ตกอยู่ในภาวะอันตราย เพราะขาดการดุแลรักษาที่ดี เมืองพระนคร ถือได้ว่าคือหลักฐาน
สำคัญที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่และรุ่งเรืองในอดคตของอาณาจักรเขมร ซึ่งการปลูกสร้างดบราณสถานต่างๆ ก็ยังสะท้อนให้เห็นถึงภุมิปัญญาอันชาญฉลาดทางสถาปัตยกรรม และประติมากรรมของบรรพบุรุษขอมโบราณ เมืองพระนคร เป็นกลุ่มโบราณสถานที่สำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกฌฉียงใต้และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของแระทเศกัมพุชาดดยมีพ้นที่กว้งใหญ่ถึง 400 ตารางกิโลเตร ครอบคลุมพื้นที่ป่าและปราสามหินและ เทวลัยมากว่า 100 แห่ง ดลราณสถานที่สำตัญ เช่นปราสาทนครวัด ประสามนครธม แราสาทบายน ปราสาทบาปวน เป็นต้น
         
เมื่อพระเจ้าชัววรมันที่ 2 ได้ประกาศแยกแผ่นดินเป้นอิสระจาก ซวา และราชวงศ์ต่อมาก็ได้ทำการสร้างราชะานีแห่งใหม่ขึ้นที่หริหราลัย บริเวณตอนเหนือของโตนเลสาบหลังจากนั้นพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 ก็ได้มีพระราชดำริย้ายเมืองหลวงไปยู่ที่ยโสธรปุระหนือเรียกกันภายหลังว่า "เมืองพระนคร" ถือเป็นยุคที่สร้างปราสาทเป็นจำนวนมากถึงหว่าร้อยแห่ง โนเวลาต่อมาเมืองถึงรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 นครวัดอันยิงใหญ่ได้ถือกำเนิขึ้น แต่ภายหลังเมืองพระเจ้าชัยวรมันที่ ึ ขึ้นครองราชย์ก็มีการย้ายเมืองหลวง ไปยังนครธมและยังได้สร้างปราสาเพ่ิมขึ้นอีกหลายแห่ง เข่น ปราสาทบายน ปราสาทตาพรม เป็นต้น
           ปราสาทนครวัด เป็นศาสนสถานที่สร้างในรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 โดยเป็นศาสนสถานประจำของพระองค์ ตังเทวสถานได้รับการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดี จนเป็นศูนบ์กลางทางศาสนาที่สำคัญเพียงแห่งเดียวที่เหลือรอดมาจนถึงปัจจุบัน เป็นสิงก่อสร้างทางศาสนาที่มขนาดใหญ่ที่สุดของดลก โดยใช้เวลาสร้างร่วม 100 ปี ถือเป็นที่สุดของสถกปัตยกรรมเขมรสมัยคลาสสิกรุงเรือง และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติดดยปรากฎในธงชาติขงประเทศกัมพุชา
           ปราสาทนคระม ตั้งอยุ่ทางทิสเหนือของนครวัด จุดเด่นที่สุดคือทางเข้าด้านใต้ที่มี ลักษณะเป็นหน้าเทวพักตร์ 4 ด้าน เม่อเข้าสุ่ใจกล่างนคระม จะพบกับปราสามหลักของพระเจ้าชัยวรมันเรียกว่า ปราสาทบายน
            ปราสาทบายน ในคระม ประกอบด้วยอค์ปราสาทตั้งอยุ่บนฐานซ้อนสามชั้น มีจุดเด่นที่สำคัญคือ การสลักรูปพระพัตร์พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หันออกไปทั้งสี่ทิศ เพื่อสอดส่องดูแลทุกข์สุขประชาชนตามความเชื่อในสมัยนั้น
           ปราสามพระวิหาร Temple of  Preah Vihear เป็นปราสามหินตามแบบศาสนาฮินดุที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก สุงจากระดับทะเลปานกลาง 657  เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม พนมพระวิหาร อันหมายถึงบรรพตแห่งศาสนสถานอันศักดิ์สิทธิ์ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อ.กันทรลักษณ์ จ.ศรีสะเกษ อันเป็นทางขึ้นสุ่ปรสาทที่สะดวกทีุ่ด ปราสามพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสามขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวอราสาทเป้นเวลานานแล้ว ใน พ.ศ. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างปรเทศพิพากษาให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาม และในปี 2551 องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาิตขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรกโลกในประเทศกัมพูชา ปราสามพระวิหารประดิษฐานอยุ่บนผาเป้ญตาดีอยู่ในเขตหมู่บ้านภูมิซร็อล ตำบลเสาธงชัย อ.กันทรลักษณ์ จ.ศรีสะเกษ ห่างจาก อ.เมืองศรีสะเกษ 110 กิโลเมตร ทั้งนี้ ปราสาทตั้งอยุ่ห่างจากปราสามนครวัดในเมืองพระนครไป 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงพนมเปญไป 320 กิโลเมตร




                 - www.th.wikipedia.org/../รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
                 - travel.mthai.com, อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลุ ดินแดนธรรมชาติ มหัศจรรย์ บนเกาะบอร์เนียว
                 - www.malaysia.travel/../อทุยานคินาบาลู (Kinabalu Park)
                 - aseannotes.blogspot.com,มรดกโลกในมาเลเซีย 1 : มะละกาและจอร์จทาวน์ นครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา
                 - region4.prd.go.th/..,แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกง
                 - gothailandgoasean.touismthailand.org/..,เยือนเมืองพระนคร(Angkor)มรดกโลกในกัมพูชา
                 - www.painaidii.com/..,ปราสามเขาพระวิหาร

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)