วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2560
Thailand Tourism to ASEAN Tourism
ในประเทศอาเซียนกำลังจับจ้องจุดเปลียนผ่านถือว่าเป็นโอากาสต่ออุตสหรรมต่่างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการท่องทเี่ยวของปรtเทศไทย เป็นอุตสาหกรรมที่มีความเข้มแข็งและสร้างรายได้มหาศาบลให้กับประเทศจนกลายเป็นหนึ่งในฟันเฟืองสำคัญใการที่จะขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ ตามพรบ.การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คำว่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีความหมายกว้าง หมายถึงธุกิจ นำเที่ยวจะเป็นธุรกิจโรงแรมรวมถึงภัตตาคาร สถานบริการแล้วก็สถานที่ตากอากาศรวมทั้งการขายของที่ระลึกหรือสินค้าสำหรับนักท่องเที่ยว การกีฬาสำหรับนักท่องเที่ยว แล้วก็การจัดประชุมนานาชาติ งานนิทรรศการงานออกร้านการโฆษณาเผยแพร่ สิงต่างๆ ที่กล่าวมานี้ถือรวมเป็นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ปัจจุบันก็มีชาวต่างชาติเข้ามาทำงานในประเทศไทย ในจังหวัดภูเก็ต เฉพาะคนต่างชาติเข้ามาทำงานเช่น ชาวเมียนมาร์ ชาวอินเดีย ชาวฟิลปินส์ เข้ามากเพราะสามารถตางๆ สื่อารเป้นภาษาอังฏษได้ดี สิงสำคัญ ณ เวลานี้ชาวต่างชาติด็เข้ามาอยุ่ในประเทศไทยมาพอสมควร คือ อีกสิ่งหนึ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นของธุรกิจท่องเที่ยวที่จะนำไปสู่ในสิ่งที่ดีมีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศประมาณ 1,600 ล้านคน ดดยมาเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวที่ยอดนิยมคือในเอเชียตะวันออก เขาคาดการณ์ไว้ในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออเฉียงใต้เป็นเป้าหมายสำคัญ สำหรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในประเทศไทยส่วนใหญ่ ณ เวลานี้มาอยู่ในสองลักษณะคื อท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และท่องเที่ยวเชิงศิลปะและวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงสภขภาพก็พวกเศรษฐกีน้ำมันกลุ่มประทเศชาติอาเหรับ เขามากันทั้งครอบครัว พ่อสมมติเข้ารักษาที่ดรพยาบาลส่วนแม่ลูกก็เดินทางท่องเท่ยว หรือพ่อรักษาเสร็จก็เดินทางท่องเที่ยวเป็นกลุ่มไปยังจังหวัดต่างๆ แค่เฉพาะภาพรวมในปัจจุบันมีความเข้มแข็งแล้วคราวนี้จุดแข็งของไทยในด้านการท่องเที่ยวที่ได้เปรีบบประเทศอื่นๆ มีอะไรบ้าง คือ อัธยาศัยไมตรีอันดีของคนไทย ที่ตั้งเป็นจุดศูนย์กลาง มีการให้บริการที่ต่างชาติชื่นชอบเรื่องของโรงแรม เรื่องของอาหารหลากหลาย มีโครงสร้างพื้นฐานเข้มแข็ง ระบบธนาคารเกี่ยวข้องการเงิน เวลาเบิกเวลาโอนคล่องตัวบ้านเรามีตรงนี้ แล้ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ที่มีชื่อเสียง การมีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ และเรื่องอาหารการกินต่างๆ ไม่น้อยหน้ากว่าชาติอื่น สิ่งสำคัญคือมุ่งเนนการให้บริการที่เป้นมติรและอบอุ่นดังญาติมิตร คือจุดแขงที่ชาติในอาเซียนอื่นๆ ยังด้อย ยังสู้บ้านเราไม่ได้แต่อีกหน่ยยไม่แน่
สิงคโปร์ เป็นประเทศที่น่าจับตามา และมาเซียก็เป็นประเทศที่น่าจับตามองมากในส่วนเกี่ยวกับการเปิดเสรีในด้านการท่องเที่ยวตามกรอบของ AEC คาดว่าจะมีผลกระทบ คาดว่าจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในเอเชียจะเพิ่มขึ้นเป็ฯ 120 ล้านคน ในปี อาเซียนจะต้องก้าวขึ้นเป้นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวยอดนิยมของนักทองเที่ยวจากทั่วโลก รวมทั้งดึงดูดการลงทุนจากจ่างประเทศในธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่องหลั่งไหลเข้ามาในภุมิภาคนี้มากขึ้นแน่นอน คือต้องเตรียมตัวให้ดี นี้จะเป็นโอากสในภาคการท่องเที่ยวของไทยมีแนวโน้มขยายตัวสุงขึนอย่งแน่นอน
ผุ้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวของไย ควรจะปรับปรุงกลยุทธ์ มีสองวิธีการที่สำคัญคือ เพ่ิมส่วนแบ่งการตลาดแล้วก็อาศัยจุดแข็ง การบริการดังญาติมิตร จัดบริการด้านการท่องที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ออกแบบของในลักษณะของการให้บริการประหยัดพลังงาน และใช้พลังงานจากธรรมชาติมากที่สุด และบริการด้านการ่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ณ เวลานี้เราเป้นรองจากสิงดโปร์ บริการด้านเชิงสุขภาพ กลยุทธ์ต้องเน้นสองสอ่ิงทนี้เป้ฯจุดขายที่แตกต่าง นำจุดแข็งของออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด การเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดครอบคลุมส่วนแบ่งการตลาดในแง่ของที่ต้องเป้ฯพันธมิตรทางะุรกิจดกับประทศต่างๆ เช่น เวียดนาม ลาว ฟิลิปปินส์ ทั้งสามประเทศยังไม่รุนแรงนัก ต้ดไปสร้างพันธมิตรเพื่อสร้างเครือข่าย จัดทำตลาดร่วมกัน ประกอบกิจการตรงนี้โดยใช้เงินทุน เทคโนโลยีหรือบริากรที่ครบวงจร ร่วมกัน นี้คือส่วนแบ่งการตลาดที่น่าจะหยิบยื่นและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
ประโยชน์จาก AEC ด้านการท่องเที่ยว เพื่อที่จะขยายตลาดไปสู่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนคือการแข่งขันก็เป็นส่วนหนึ่ง การสร้างพันธมิตรก็เป็นส่วนหนึ่งที่ต้องกไปจับมือร่วมกับเขาเตรียมความพร้อมของการท่องเที่ยวไทยควรจะเริ่มจากวางนโยบายในการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ชัดเจน คือกำหนดนักท่องเที่ยว กลุ่มเป้าหมาย ไม่จำเป็นต้องรับมาก แต่มีนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ต้องการจะเข้ามารักษาในบ้านเรา ก็กำหนดระดับนี้ขึ้นมาอาศัยความร่วมมือในลักาณะของประชาสัมพันธ์การทำตลาดมืออาลีพ สุดยอมของด้านนี้ให้เป็นที่ประจักษ์ แล้วเขาก็จะเดินทางเข้ามาหาเรา แล้วก็ทำ
ตลาดท่องเที่ยวตลาดต่างประเทศและตลาดในประเทศ เช่นการประชาสัมพันะ์การท่องเที่ยวว่าให้ไทยเป้นศูนย์กลางในภุมิภาคแห่งนี้ในเรื่องการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใช้พลังงานธรรมชาติ เป็นจุดขายที่่แตกต่างจากประเทศอื่น สร้างสินค้าแบรนด์ไทย การบริการที่ประทับใจด้วย และความเป้นคนไทย อาหารไทย การนวดแผนไทยต้องมาประทศไทย ของที่ระลึกสำคัญสร้างรยได้ระดับต้นๆ เป็นสญลักษณ์แสดงออกถึงเอกลักษณ์ความเป็ฯไทย และแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความชัดเจน ในแง่ของการเรียนการสอนทางด้านวิชาการท่องเที่ยว ต้องพัฒนาหลักสูตรในสายวิชาชีพ ให้
สร้างบุคลากรระดับปฏิบัติการให้มี มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ สามารถทำงาน ได้ทันที่เมื่อจบการศึกษา จัดตั้งองค์กรความร่วมมือทั้งภาครัฐและเอกชนธุรกิจร่วมมือกัน ให้เกิดเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะทำฐานข้อมูลสำหรับการบริการด้านการท่องเที่ยวให้เกิดความชัดเจน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายต่างๆ ที่ล้าสมัย ให้เป็นกฎหมายที่สามารถที่จะเปิดแข่งขันกันระหว่างประเทศได้สิงนี้สำคัญทุกคนต้องสามารถสื่อสารได้มากกว่า 2 ภาษา ได้อย่างคล่องแคล่วและมีความ
ยุทธศาสตร์หลักของการพัฒนาความร่วมมือรับทางเศรษฐกิจและสังคม ตามเป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจึงมีพลังทางเศรษฐกิจสูง ต้องการความร่วมมือจากทุกผ่ายที่เกี่ยวข้อง ต้องสร้งความเข้าใจสร้างความภูมิใจในทุกๆ ึคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้ทำหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเติบโตได้อย่างยั่งยืน
www.stou.ac.th/study/sumrit/4-60/page1-4-60.html
วันศุกร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2560
Thailand Tourism Industry
คณะรัฐมนตรีม่มติเห็นชอบแผนพัฒนากรท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เมื่อวันที่ 15 ก.พ.
พ.ศ. 2554 โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เพื่อให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาภายใต้บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน และการกำกับดุแลของคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ...
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คาดหวังว่ายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 ฉบับนี้ จะได้รับการผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัตออย่างจริงจัง ดดยมุ่งเน้นกิจกรรมที่มีความจำเป็นเร่งด่วนต้องได้รับการแก้ไขหรือพัฒนาเพ่อวางรากฐานการพัฒนาในระยะถัดไป พร้อมทั้งให้ความสำคัญกับการปรับปรุงกลไกการขับเคลือนสู่การพัฒนาเพื่อให้ประเทศไทยเป้นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ ตั้งแต่ระดับนโยบายซึ่งมีคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติเป็นแกนหลัก ระดับกลุ่มจังหวัดหรือกลุมพื้นที่ คือ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจำเขตพัฒนาการท่องเที่ยว และระดับจังหวัด คือ ๕ระกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดืทั้งน้ ต้องอาเศัยความร่วมมือจากทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องและ ภาคส่วนต่างๆ รวมทั้งภาคธุรกิจเอกชนเพื่อระดมทรัพยากรและร่วมบูรณาการขับเคลื่อนให้บังเกิดผลสำรเ็จเป็นรูปธรรม
และ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาขอขอบคุณหน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งผุ้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สภาบันการศึกษา องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ องค์กรปกครองสวนทื้องถิ่น และ(ุ้แทนเครือข่ายชุมชนที่ได้ให้การสนับสนุนข้อมุลและมีสวนร่วมในการแสกดงความคิดเห็นเืพื่อประกอบการจัดทำยุธศาสตร์การท่องเที่ยวของประเทศได้สำเร็จเป็นอย่างดี
สถานะการณ์และแนวโน้มของการท่องเที่ยวไทย ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการทั้งภายในประเทศและภายนอกกประเทศ อาทิ แนวโน้มและทิศทางการท่อเงเที่ยวในตลาดโลก ภาวะการแข่งขันความสเี่ยง พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และวิกฤตณ์ต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว ดดยเฉพาะสถานการณ์การท่องเที่ยวในปัจจุบันที่ยังคงอยู่บนความไม่แน่นอนทั้งจากภัยธรรมชาติ โรคระบาด ความไม่มั่นคงมีปัญหาเและอุปสรรคอีกทากมาย ซึ่ลัวนแต่เป็นปัจจัยสงผลกระทบทางลบต่อการท่องเที่ยวไทยยังคงมีปัญหาแลบะอุปสรรคอีกมากมาย ซึ่งล้วนแต่เป็นปัจจัยส่งผลกระทบทางบลต่อการท่องเที่ยวโลกและการท่องเที่ยวไทย แต่ในขณะ
เดียวกันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูลด้านการทอ่งเที่ยวความสะดวกสบายในการเกินทาง และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนไปตามกระแสของโลกาภิวัฒน์ทำให้แนวโน้มของจำนวนนักท่องเทีที่ยวทั่งโลยังคงเพ่ิมขึ้นอย่างตอเนื่องซึ่งจะเป็นปัจจัยที่เอื้อประดยชน์และสร้างโอากสในการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทย ดังนั้น การศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ เหล่านี้ จะชี้ให้เห็นถึงจุดแข็งจุดอื่น ศักยภาพและโอากสของการพัฒนาการท่องเที่ยวในระยะต่อไป และเพื่อใช้ประกอบการกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทยในระยะ 3 ปีถัดจากนี้ไป
- สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก นักท่องเที่ยวในตลาดโลกยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากรายงานขององคึ์การกรท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ พบว่า ในปี 2556 มีนักท่องเที่ยวที่เดินทางระหว่างประเทศทั่่วโลกจำนวน พันล้าานคน เพ่ิมขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 5 โดยนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนจะขยายตัวมากที่สุดและงผลต่อการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวโลก และหากนับจากปี 2548 เป็นต้นมา ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีอัตราการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวสุงที่สุดถึงร้อยละ 6.2 ทั้งนี้ UNWTO คาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2030 จำนวนนัท่องเที่ยโลกจะเพ่ิมเป้ฯ 1,800 เป็นจ้นไป ตลาดเกิดใหา่หรือกลุมประเทสกำลังพัฒนาจะเป็นกลุ่มประเทศที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวขยายตัวในอัตราที่สูงกว่าตลาดประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราการขยายตัวสุงที่สุด
- ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกมีแนวโน้มเติบโตสูงข้นอย่างต่อเนื่อง การท่องเที่ยวในภุมิภาคเอเชียตะวันออเและแปซิฟิกจะมบทบาทสำคัญต่อากรท่องเที่ยวโลเพ่ิมขึ้น จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลกในปี ค.ศ. 1995 พบว่าเกือบ 2 น 3 ของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วดลก หรือร้อยละ 59.8 ท่องเที่ยวในภูมิยุโรป รองลงมาได้แก่ภูมิภาคอเมิรกา ร้อยละ 19.3 เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก ร้อยละ 14.4 แอฟริกา ร้อยละ 3.6 ตะวันอออกลาง ร้อยละ 2.2 และเอเชียใต้ ร้อยละ 0.7 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงปี ค.ศ. 2020 UNWTO คาดว่า ยุโรปยังคงเป้ฯภุมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศศูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลง เหลือร้อยละ 45.9 ขณะที่ภูมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่งประเทศสูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลงเหลือร้อบละ 25.4 ภูมิภาคอเมริกาเป็นอันดับ 3 และมีสัดส่วนลดลงเหลือร้อยละ 18.1 นอกจากนี้จากสภานการณ์ปัจจุบันที่หลายประเทศในภูมิภาคยุโรปประสบปัญหาเศรษฐกิจ ขระที่เศราฐกิจจีนและหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นภูมิภาคที่มีบทบาทหรืออิทธิพลต่อการขชับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก วึ่งปัจจัยด้านเศราฐกิจดังกล่าวจะเป็นตัวแปรสำคัญที่กระตุ้นให้การท่องเทียวในภูมิภาคนี้มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว
- กลุ่มประเทศ BRIC จะมีบทบาทสำคัญต่อการเติบโตของการทองเที่ยวโลก กลุ่มประเทศ BRIC ซึ่งประกอบด้วยประเทศบราซิล รัสเซียน อินเดีย และจีน จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวและรยจ่ายเพื่อากรท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วตามภาวะการเติบโตของเศราฐกิจภายในประเทศ โดยในปี 2013 นักท่องเที่ยวจากจีน รัสเซียน และบราซิล มีรายจ่ายดานการทองเที่ยวสูชวสุดในกลุ่ม 10 ดันดับแรกของโลก โดยเฉพาะจีนที่มีรายจ่ายสูงสุดเป้นอันดับที่ 1 มูลค่า 129 พันล้านเรหียญสหรัฐฯ และยังมีอัตราการขยายตัวสุงสุดร้อยละ 26 รองลงมา คือ รัศเวียนอันดับที่ 4 และบราซิลอันดับ 10 อย่างไรก็ตาม ด้วยสถานการณ์เศราฐกจิปัจจุบันได้ส่งผลกระทบต่อการเดินางของนักท่องเที่ยวในประเทศกลุ่มนี้เช่นกั มีเพียงเศราฐกิจจีนเท่านั้นที่มีแนวโน้ขยายตัวขณะที่เศราฐกิจในประทเศอื่นมีแนวโนม้มชะลอตัว เช่น เศราฐกิจรัศเซียนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตยูเครนและการลดลงของราคาน้ำมันในตลาดดลก รวมถึงการลดลงของค่าเงินรูเบิล ซึ่งส่งผลชัดเจนต่อการเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ ขณะที่เศราฐกิจบราซิลคาดว่าจะหดตัวต่อเนื่อง 2 ปีติดต่อกัน จากปัญหาเงินเฟ้อ รายได้จากการส่งออกที่ลดลง และผลกระทบจากภัยแล้ง
- สถานการณ์ท่องเที่ยวไทย
1. การท่องเที่ยวไทยมีกาขยายตัวมาอย่างต่อเนืองทั้งจำนวนและรายไ้จากการท่องเที่ยวในระยะ 5 ปี ที่ผ่านมา จำนวนนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่งต่อเนื่องจรชาก 14.0 ล้านคน ในปี 2552 เป็น 24.8 ล้านคน ในปี 2557 โดยเพ่ิมสุงสุดในปี 2556 มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากถึง 26.5 ล้านคน และสูงสุดเป็นลำดับที่ 7 ของโลกแต่ลดลงใปี 2557 เนื่องจากประสบกับวิกฤตทางการเมืองและวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศยุโรป โดยตลาดหลักยังคงเป้น 10 ตลาดที่มีส่วนแบ่งการตลาดรวมกันมากว่าร้อยละ 60 ได้แก่ จีน อินเดีย สหราชอาณาจักร มาเลเซย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เอยรมนี เกาหลีใต้ แลฝรั่งเศส สำหรับในปี 2558 คาดการ์ว่าจะมีจำนวนนักท่องเที่ยว กว่า 30 ล้านคน ส่วนรายไ้และค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตามจำนวนนักท่องเที่ยว ดยในปี 2556 มีรายได้ 1.20 ฃ้านล้านบาท สูงสุดเป็นอันดับ 10 ของโฃก และลดลงเหลือ 1.17 ล้าล้านบาทในปี 2557 โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 26.35 ต่อปี และคาดว่าในปี 2558 จะมีรายได้ 1.40 ล้านล้านบาท ซึ่งสอดตล้องกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครังของนักท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากค่าใช้จ่าย 36.061 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2552 เ่พิ่มเป็น 47,272 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2557 อย่างไรก็ดี ระยะเวลาพำนักของนักท่องเที่ยวมีอัตราการขยายตัวค่อนข้างน้อย เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของนักท่องเที่ยวในระยะใกล้ โดยในปี 2549 นักท่องเที่ยวมีจำนวนวันพักเฉลี่ย 8.62 วัน/ครั้งเพ่ิมเป็น 9.85 วัน/ครั้ง ในปี 2556 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 0.1 วัน ซึ่งนับเป็นข้อจำกัดประการหนึ่งในการเพ่ิมรายได้ให้กับอุตาหกรรมการท่องเที่ยวไทย
2. นักท่องเที่ยวจากตลาดระยะใกล้ มีแนวโน้มเพ่ิมจำนวนขึ้อย่งรวดเร็วจนกลายเป้นัท่องเที่ยหลักของไทยในปี 2549 นักท่องเที่ยจากภูมิ๓าคเอเชียะวันอก(รวมอาเซียน) มีสัดสวนร้อยละ 57.46 ของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ยุโรปร้อยละ 24.03 ดังนั้น จะเห้นได้่าจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมากว่าครึ่งหนึ่งเป้นักท่องเที่ยวจกตลาดระยะใกล้ที่มีระยะเวลาเดินทางไม่นานและมีแนวโน้มขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น โดยในปี 2556 นักท่องเที่ยวจากภุมิภาคเอเชียตวะันออกมีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นเป้นร้อยละ 60.40 ซึ่งเป็นผลมาจากการเพ่ิมจำนวนขึ้นอย่งรวดเร็วของนักท่องเที่ยจากประทเศจีนและมาเลเซียน รวมทั้งประเทศเพื่อบ้านในแถบอาเซียน ในขณะที่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปลดลงเหลือร้อยละ 23.19 ของจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ วึ่งมีสาเหหตุสำคัญมาจากการหดตัวของเศรษกิจในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป
3. ในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณืว่าประเทไทยจะมีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 67 ล้านคน สำหรับแนวโน้มจำนวนนักท่องเที่ยวระห่างประเทศของไทยในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณ์ว่าจะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากข้อมูบลปัจจุบันในปี 2557 มีจำนวยนักท่องเที่ยว 24.7 ล้าคน จะเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น 45 ล้าคน ในปี 2563 และเพิ่มเป็น 67 ล้าคน ในปี 2573 ทั้งนี้ การคาดกาณณ์ดังกล่วเป็นไปตาาแนวโน้มที่ควรจะเป้นและภายใต้สมมติฐานวาสถานการ์การท่องเที่ยวไทยอยู่ในภาวะปกติ ไม่มีเหตุการ์หรือวิกฤติการณ์ใดๆ ที่ส่งผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่ออุตสาหกรรมการทอ่งเที่ยวไทยในช่วงเวลานับจากนี้เป็นต้นไป โดยกลุ่มตลาดหลักยังจะเป้นแกลุ่มเดิม แต่นักท่องเที่ยวจีนจะมีสั่ดส่วนเพ่ิมมาขึ้นอย่างไรก็ตาม ดดยสภาพข้อเท็จจริงแล้วสถานการณ์เศราฐกิจ ภัยธรรมชาติขนาดใหญ่ โรคระบาดร้ายแรงและคามขัดแย้งทางการเมืองทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศยังคงเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งผลกระทบต่อแนวโน้จำนวนนักท่องเที่ยวดังกล่าว...
- บางส่วนจาก "ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2558-2560" กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กรกฎาคม พ.ศ. 2558.
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568 (จัดทำโดยที่ปรึกษาฟิลิปปินส์..โดยสังเขป)
- แผนยุทธศาสตร์การทอ่งเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2559-2568
วิสัยทัศน์ ภายในปี พ.ศ. 2568 อาเซียนจะเป้นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ นำเสนอประสบการณ์การท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์และมีความหลากหลาย พัฒนาาการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบ ยั่งยืน เท่าเที่ยม ครอบคลุมในทุกมิติยอางสมดุล เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และชีวิตความเป้นอยุ่ที่ดีขึ้นของประชาชนอาเซียน
ทิศทาง ยุทธศาสตร์ ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแหลงท่องเที่ยวปลายทางเดียว และ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวของอาเซียนอย่างยั่งยืนและเท่าเทียม
กลยุทธ์
- ตลาดและการประชาสัมพันธ์
- สินค้าด้านการท่องเที่ยว
- การลงทุนในภาคการท่องเที่ยว
- ขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคล
- มาตรฐานการท่องเที่ยวสำหรับสิ่งอำนวยความสะดวก การบริการ และแหล่งท่องเที่ยว
- การชื่อมโยงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
- การอำนวยความสะดวกในการเดินทาง
- การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาครัฐ เอกชน
- การรักษาความปลอดภัย กรอนุรักษ์และจัดการมรดกทรัพยากร
- การรักษาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแปล่งท่องเที่ยวปลายทางเดียว โดย ยกระดับการทำตลาดและประชาสัมพันธ์, พัฒนาสินค้าด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลาย, กระตุ้นการลงทุนในภาคการท่องเที่ยว, พัฒนาศักยภาพ ของทรัพยากรบุคคล, ดำเนินการตามมาตรฐานการท่องเที่ยวอาเซียน, เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน, ความสะดวกในการเดินทางภายในภูมิภาค
ทิศทางยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยว ของอาเวียน อย่างยั่งยืนและเท่าเทียม โดย สงเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคครัฐและภาคเอกชนในห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยว, พัฒนามากตรการักษาความปลดภัยในแหล่งท่องเที่ยว การอนุรักษณ์และจัดการมรดกทรัพยากร, ยกระดับมาตรการักษาสิ่งแวดล้อมและการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
- บางส่่วนจาก แผนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568" พาวิณี สุนาลัย, วิทยาลัยนวตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
พ.ศ. 2554 โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เพื่อให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาภายใต้บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน และการกำกับดุแลของคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ...
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คาดหวังว่ายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 ฉบับนี้ จะได้รับการผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัตออย่างจริงจัง ดดยมุ่งเน้นกิจกรรมที่มีความจำเป็นเร่งด่วนต้องได้รับการแก้ไขหรือพัฒนาเพ่อวางรากฐานการพัฒนาในระยะถัดไป พร้อมทั้งให้ความสำคัญกับการปรับปรุงกลไกการขับเคลือนสู่การพัฒนาเพื่อให้ประเทศไทยเป้นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ ตั้งแต่ระดับนโยบายซึ่งมีคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติเป็นแกนหลัก ระดับกลุ่มจังหวัดหรือกลุมพื้นที่ คือ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจำเขตพัฒนาการท่องเที่ยว และระดับจังหวัด คือ ๕ระกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดืทั้งน้ ต้องอาเศัยความร่วมมือจากทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องและ ภาคส่วนต่างๆ รวมทั้งภาคธุรกิจเอกชนเพื่อระดมทรัพยากรและร่วมบูรณาการขับเคลื่อนให้บังเกิดผลสำรเ็จเป็นรูปธรรม
และ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาขอขอบคุณหน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งผุ้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สภาบันการศึกษา องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ องค์กรปกครองสวนทื้องถิ่น และ(ุ้แทนเครือข่ายชุมชนที่ได้ให้การสนับสนุนข้อมุลและมีสวนร่วมในการแสกดงความคิดเห็นเืพื่อประกอบการจัดทำยุธศาสตร์การท่องเที่ยวของประเทศได้สำเร็จเป็นอย่างดี
สถานะการณ์และแนวโน้มของการท่องเที่ยวไทย ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการทั้งภายในประเทศและภายนอกกประเทศ อาทิ แนวโน้มและทิศทางการท่อเงเที่ยวในตลาดโลก ภาวะการแข่งขันความสเี่ยง พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และวิกฤตณ์ต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว ดดยเฉพาะสถานการณ์การท่องเที่ยวในปัจจุบันที่ยังคงอยู่บนความไม่แน่นอนทั้งจากภัยธรรมชาติ โรคระบาด ความไม่มั่นคงมีปัญหาเและอุปสรรคอีกทากมาย ซึ่ลัวนแต่เป็นปัจจัยสงผลกระทบทางลบต่อการท่องเที่ยวไทยยังคงมีปัญหาแลบะอุปสรรคอีกมากมาย ซึ่งล้วนแต่เป็นปัจจัยส่งผลกระทบทางบลต่อการท่องเที่ยวโลกและการท่องเที่ยวไทย แต่ในขณะ
เดียวกันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูลด้านการทอ่งเที่ยวความสะดวกสบายในการเกินทาง และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนไปตามกระแสของโลกาภิวัฒน์ทำให้แนวโน้มของจำนวนนักท่องเทีที่ยวทั่งโลยังคงเพ่ิมขึ้นอย่างตอเนื่องซึ่งจะเป็นปัจจัยที่เอื้อประดยชน์และสร้างโอากสในการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทย ดังนั้น การศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ เหล่านี้ จะชี้ให้เห็นถึงจุดแข็งจุดอื่น ศักยภาพและโอากสของการพัฒนาการท่องเที่ยวในระยะต่อไป และเพื่อใช้ประกอบการกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทยในระยะ 3 ปีถัดจากนี้ไป
- สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก นักท่องเที่ยวในตลาดโลกยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากรายงานขององคึ์การกรท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ พบว่า ในปี 2556 มีนักท่องเที่ยวที่เดินทางระหว่างประเทศทั่่วโลกจำนวน พันล้าานคน เพ่ิมขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 5 โดยนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนจะขยายตัวมากที่สุดและงผลต่อการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวโลก และหากนับจากปี 2548 เป็นต้นมา ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีอัตราการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวสุงที่สุดถึงร้อยละ 6.2 ทั้งนี้ UNWTO คาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2030 จำนวนนัท่องเที่ยโลกจะเพ่ิมเป้ฯ 1,800 เป็นจ้นไป ตลาดเกิดใหา่หรือกลุมประเทสกำลังพัฒนาจะเป็นกลุ่มประเทศที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวขยายตัวในอัตราที่สูงกว่าตลาดประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราการขยายตัวสุงที่สุด
- ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกมีแนวโน้มเติบโตสูงข้นอย่างต่อเนื่อง การท่องเที่ยวในภุมิภาคเอเชียตะวันออเและแปซิฟิกจะมบทบาทสำคัญต่อากรท่องเที่ยวโลเพ่ิมขึ้น จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลกในปี ค.ศ. 1995 พบว่าเกือบ 2 น 3 ของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วดลก หรือร้อยละ 59.8 ท่องเที่ยวในภูมิยุโรป รองลงมาได้แก่ภูมิภาคอเมิรกา ร้อยละ 19.3 เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก ร้อยละ 14.4 แอฟริกา ร้อยละ 3.6 ตะวันอออกลาง ร้อยละ 2.2 และเอเชียใต้ ร้อยละ 0.7 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงปี ค.ศ. 2020 UNWTO คาดว่า ยุโรปยังคงเป้ฯภุมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศศูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลง เหลือร้อยละ 45.9 ขณะที่ภูมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่งประเทศสูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลงเหลือร้อบละ 25.4 ภูมิภาคอเมริกาเป็นอันดับ 3 และมีสัดส่วนลดลงเหลือร้อยละ 18.1 นอกจากนี้จากสภานการณ์ปัจจุบันที่หลายประเทศในภูมิภาคยุโรปประสบปัญหาเศรษฐกิจ ขระที่เศราฐกิจจีนและหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นภูมิภาคที่มีบทบาทหรืออิทธิพลต่อการขชับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก วึ่งปัจจัยด้านเศราฐกิจดังกล่าวจะเป็นตัวแปรสำคัญที่กระตุ้นให้การท่องเทียวในภูมิภาคนี้มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว
- กลุ่มประเทศ BRIC จะมีบทบาทสำคัญต่อการเติบโตของการทองเที่ยวโลก กลุ่มประเทศ BRIC ซึ่งประกอบด้วยประเทศบราซิล รัสเซียน อินเดีย และจีน จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวและรยจ่ายเพื่อากรท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วตามภาวะการเติบโตของเศราฐกิจภายในประเทศ โดยในปี 2013 นักท่องเที่ยวจากจีน รัสเซียน และบราซิล มีรายจ่ายดานการทองเที่ยวสูชวสุดในกลุ่ม 10 ดันดับแรกของโลก โดยเฉพาะจีนที่มีรายจ่ายสูงสุดเป้นอันดับที่ 1 มูลค่า 129 พันล้านเรหียญสหรัฐฯ และยังมีอัตราการขยายตัวสุงสุดร้อยละ 26 รองลงมา คือ รัศเวียนอันดับที่ 4 และบราซิลอันดับ 10 อย่างไรก็ตาม ด้วยสถานการณ์เศราฐกจิปัจจุบันได้ส่งผลกระทบต่อการเดินางของนักท่องเที่ยวในประเทศกลุ่มนี้เช่นกั มีเพียงเศราฐกิจจีนเท่านั้นที่มีแนวโน้ขยายตัวขณะที่เศราฐกิจในประทเศอื่นมีแนวโนม้มชะลอตัว เช่น เศราฐกิจรัศเซียนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตยูเครนและการลดลงของราคาน้ำมันในตลาดดลก รวมถึงการลดลงของค่าเงินรูเบิล ซึ่งส่งผลชัดเจนต่อการเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ ขณะที่เศราฐกิจบราซิลคาดว่าจะหดตัวต่อเนื่อง 2 ปีติดต่อกัน จากปัญหาเงินเฟ้อ รายได้จากการส่งออกที่ลดลง และผลกระทบจากภัยแล้ง
- สถานการณ์ท่องเที่ยวไทย
1. การท่องเที่ยวไทยมีกาขยายตัวมาอย่างต่อเนืองทั้งจำนวนและรายไ้จากการท่องเที่ยวในระยะ 5 ปี ที่ผ่านมา จำนวนนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่งต่อเนื่องจรชาก 14.0 ล้านคน ในปี 2552 เป็น 24.8 ล้านคน ในปี 2557 โดยเพ่ิมสุงสุดในปี 2556 มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากถึง 26.5 ล้านคน และสูงสุดเป็นลำดับที่ 7 ของโลกแต่ลดลงใปี 2557 เนื่องจากประสบกับวิกฤตทางการเมืองและวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศยุโรป โดยตลาดหลักยังคงเป้น 10 ตลาดที่มีส่วนแบ่งการตลาดรวมกันมากว่าร้อยละ 60 ได้แก่ จีน อินเดีย สหราชอาณาจักร มาเลเซย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เอยรมนี เกาหลีใต้ แลฝรั่งเศส สำหรับในปี 2558 คาดการ์ว่าจะมีจำนวนนักท่องเที่ยว กว่า 30 ล้านคน ส่วนรายไ้และค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตามจำนวนนักท่องเที่ยว ดยในปี 2556 มีรายได้ 1.20 ฃ้านล้านบาท สูงสุดเป็นอันดับ 10 ของโฃก และลดลงเหลือ 1.17 ล้าล้านบาทในปี 2557 โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 26.35 ต่อปี และคาดว่าในปี 2558 จะมีรายได้ 1.40 ล้านล้านบาท ซึ่งสอดตล้องกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครังของนักท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากค่าใช้จ่าย 36.061 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2552 เ่พิ่มเป็น 47,272 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2557 อย่างไรก็ดี ระยะเวลาพำนักของนักท่องเที่ยวมีอัตราการขยายตัวค่อนข้างน้อย เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของนักท่องเที่ยวในระยะใกล้ โดยในปี 2549 นักท่องเที่ยวมีจำนวนวันพักเฉลี่ย 8.62 วัน/ครั้งเพ่ิมเป็น 9.85 วัน/ครั้ง ในปี 2556 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 0.1 วัน ซึ่งนับเป็นข้อจำกัดประการหนึ่งในการเพ่ิมรายได้ให้กับอุตาหกรรมการท่องเที่ยวไทย
2. นักท่องเที่ยวจากตลาดระยะใกล้ มีแนวโน้มเพ่ิมจำนวนขึ้อย่งรวดเร็วจนกลายเป้นัท่องเที่ยหลักของไทยในปี 2549 นักท่องเที่ยจากภูมิ๓าคเอเชียะวันอก(รวมอาเซียน) มีสัดสวนร้อยละ 57.46 ของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ยุโรปร้อยละ 24.03 ดังนั้น จะเห้นได้่าจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมากว่าครึ่งหนึ่งเป้นักท่องเที่ยวจกตลาดระยะใกล้ที่มีระยะเวลาเดินทางไม่นานและมีแนวโน้มขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น โดยในปี 2556 นักท่องเที่ยวจากภุมิภาคเอเชียตวะันออกมีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นเป้นร้อยละ 60.40 ซึ่งเป็นผลมาจากการเพ่ิมจำนวนขึ้นอย่งรวดเร็วของนักท่องเที่ยจากประทเศจีนและมาเลเซียน รวมทั้งประเทศเพื่อบ้านในแถบอาเซียน ในขณะที่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปลดลงเหลือร้อยละ 23.19 ของจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ วึ่งมีสาเหหตุสำคัญมาจากการหดตัวของเศรษกิจในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป
3. ในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณืว่าประเทไทยจะมีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 67 ล้านคน สำหรับแนวโน้มจำนวนนักท่องเที่ยวระห่างประเทศของไทยในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณ์ว่าจะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากข้อมูบลปัจจุบันในปี 2557 มีจำนวยนักท่องเที่ยว 24.7 ล้าคน จะเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น 45 ล้าคน ในปี 2563 และเพิ่มเป็น 67 ล้าคน ในปี 2573 ทั้งนี้ การคาดกาณณ์ดังกล่วเป็นไปตาาแนวโน้มที่ควรจะเป้นและภายใต้สมมติฐานวาสถานการ์การท่องเที่ยวไทยอยู่ในภาวะปกติ ไม่มีเหตุการ์หรือวิกฤติการณ์ใดๆ ที่ส่งผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่ออุตสาหกรรมการทอ่งเที่ยวไทยในช่วงเวลานับจากนี้เป็นต้นไป โดยกลุ่มตลาดหลักยังจะเป้นแกลุ่มเดิม แต่นักท่องเที่ยวจีนจะมีสั่ดส่วนเพ่ิมมาขึ้นอย่างไรก็ตาม ดดยสภาพข้อเท็จจริงแล้วสถานการณ์เศราฐกิจ ภัยธรรมชาติขนาดใหญ่ โรคระบาดร้ายแรงและคามขัดแย้งทางการเมืองทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศยังคงเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งผลกระทบต่อแนวโน้จำนวนนักท่องเที่ยวดังกล่าว...
- บางส่วนจาก "ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2558-2560" กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กรกฎาคม พ.ศ. 2558.
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568 (จัดทำโดยที่ปรึกษาฟิลิปปินส์..โดยสังเขป)
- แผนยุทธศาสตร์การทอ่งเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2559-2568
วิสัยทัศน์ ภายในปี พ.ศ. 2568 อาเซียนจะเป้นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ นำเสนอประสบการณ์การท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์และมีความหลากหลาย พัฒนาาการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบ ยั่งยืน เท่าเที่ยม ครอบคลุมในทุกมิติยอางสมดุล เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และชีวิตความเป้นอยุ่ที่ดีขึ้นของประชาชนอาเซียน
ทิศทาง ยุทธศาสตร์ ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแหลงท่องเที่ยวปลายทางเดียว และ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวของอาเซียนอย่างยั่งยืนและเท่าเทียม
กลยุทธ์
- ตลาดและการประชาสัมพันธ์
- สินค้าด้านการท่องเที่ยว
- การลงทุนในภาคการท่องเที่ยว
- ขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคล
- มาตรฐานการท่องเที่ยวสำหรับสิ่งอำนวยความสะดวก การบริการ และแหล่งท่องเที่ยว
- การชื่อมโยงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
- การอำนวยความสะดวกในการเดินทาง
- การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาครัฐ เอกชน
- การรักษาความปลอดภัย กรอนุรักษ์และจัดการมรดกทรัพยากร
- การรักษาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแปล่งท่องเที่ยวปลายทางเดียว โดย ยกระดับการทำตลาดและประชาสัมพันธ์, พัฒนาสินค้าด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลาย, กระตุ้นการลงทุนในภาคการท่องเที่ยว, พัฒนาศักยภาพ ของทรัพยากรบุคคล, ดำเนินการตามมาตรฐานการท่องเที่ยวอาเซียน, เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน, ความสะดวกในการเดินทางภายในภูมิภาค
ทิศทางยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยว ของอาเวียน อย่างยั่งยืนและเท่าเทียม โดย สงเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคครัฐและภาคเอกชนในห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยว, พัฒนามากตรการักษาความปลดภัยในแหล่งท่องเที่ยว การอนุรักษณ์และจัดการมรดกทรัพยากร, ยกระดับมาตรการักษาสิ่งแวดล้อมและการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
- บางส่่วนจาก แผนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568" พาวิณี สุนาลัย, วิทยาลัยนวตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2560
Tourism Industry
เมื่อประชาคมอาเซียนเปิดอย่างเป้นทางการ ประเทศไทยจะเป็นประเทศหนึ่งที่เตีียมความพร้อมเข้าสู่การเปิดประชาคมอาเซียน หรือ อาเซียน คอมมูนิตี้ ได้อย่างมีประสทิะิภาพ หากเปรียยเที่ยบกับเพื่อบ้านรอบๆ เราประเทศอื่น การเข้าสู่ประชาคมอาเวียนนั้นต้องเตรียมพร้อมในหลายดๆ ด้าน ทั้งการเมือง เศรษกยฐกิจ และสังคม ในด้านหนึ่ง ซึ่งถือว่าอาเซียนได้พัฒนาอย่างต่อเเนื่องและดูจะมีความก้าวหน้าอย่างมาก คือ การเตรรียมพร้อมในการเปิดเสรีทางการต้า บริการโดยเฉาพะยอ่างยิ่งการบริการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวถือเป็นสาขาหนึ่งของการต้าบริากร ซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อเศรษฐกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่งที่มาของเงนิตราต่างปรเทศ และยังนำมาซึ่งการจ้างงานที่สคำัญจำนวนมาก โดยจากรายงานข้อมุลขององค์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนมกราคม 2555 สรุปว่าในปี 2556 มีนักท่องเที่เยวเดินทางท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคน ในขณะที่ในส่วนของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคน
การเดินทางท่องเที่ยวดังกล่ววทำให้เกิดการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังทำให้เกิดการจ้างงานโดยทางอ้อมด้วย เช่น คนขับรถแท็กซี่ หรือ งานอื่นๆ ที่อาจำม่เกี่ยวพันกับธุรกิจการท่องเที่ยวโดยตรง อีกเป็นจำนวนถึง 25 ล้านคน ซึ่งเห็นได้ว่าอาเซียนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใหเความสำคัญกับธุรกิจการต้าบริการโดยเฉพาะอย่างยิงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงได้มีการลงนามในข้อตกลงหลายด้าน เพื่อการพัฒนาท่องเที่ยวร่วมกัน อาทิเช่น ข้อตกลงท่องเทียแห่งอาเซียน กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ และข้อตกลงอาเวียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว
สำหรับข้อตกลงอาเซยนด้านบุคลการวิชาชีพท่องเที่ยว นั้นถือเป้ฯรูปแบบล่าสุดของการพัฒนาความร่วมมือด้านการต้าบริการของอาเวียน ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณสมบัติของผุ้ให้บริากรซึ่งเป็นประชาชนชาวอาเวียนให้มีคุณภาพได้รับการยอมรับทั้งจากองค์กรภายในประเทศของตน และสามารถที่จะได้รับการรับรองจากประเทศสมาชิกอาเวียนที่ร่วมลงนามในข้อตกลงนี้ด้วย ความร่วมมือนี้มุ่งเน้นสนับสนุนการเคลื่อย้ายผุ้ให้บริการวิชาชีพทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาค ให้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบงคับของประทศสมาชิก และเพื่อเพิ่มความเท่าเที่ยมกัน รวมท้งประสิทธิภาพของทรัพยากรบุคคคลด้านการท่องเที่ยวโดยการใช้มาตรฐานสมารรถนะพื้นฐานการท่องเที่ยวเป็นหลัก
นอกจากนี้อาเซียนยังจะจัดทำมาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคคลการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน ให้แล้วเสร็จและสามารถนำไปใช้ได้ในประเทศสมาชิก โดยจะระบุถึงสมารถนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวที่ต้องการทำงานใสายงานตามข้อตกลงพื้นฐนของอาเวียนแล้วนั้น ก็สามารถเดินทางไปทำงานในประเทศสมาชิกต่างๆ ได้ อย่างไรก็ดีต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ของประเทศนั้นๆ ด้วย
การกำหนดมาตรฐานดังกล่าวจึงมีจุดมุ่งหมายเพือปรับปรุงคถณภาพการบริการท่องเที่ยและสนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือทางด้าน MRA ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นสำคัญ
คุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียนจะได้รับการยอมรับจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดเพือลงนามในข้อตกลง ฯ ซึ่งหมายความว่า บุคลากรที่ได้รับรประกาศนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วงงาน The Tourism Professional Certification Board (TPCB) ที่รับผิดชอบของประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถทำงานในประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ได้ด้วย โดยสิทธิการทำงานจะอยู่ภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของประเทศที่บุคคลผุ้นั้นถูกจ้างงาน ด้งนั้น
ประกาศนียบัตรดังกล่าวจึงถือเป็นเครื่องรับรองสำคัญสำหรับผุ้ที่ต้องการสมัครงานด้านการท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเวียน ข้อตกลงดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการท่องเที่ยวในภุมิภาคและการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานบุคคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวของอาเซียน ข้อตกลงดังกว่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการท่องเที่ยวในภุมิภาคและการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยของอาเวียนให้สะดวกและขยายตัวอย่างรวดเร็วต่อไป
การพัฒนาในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของอาเซียนถือว่าเป็นดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศได้ร่วมกันพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกันอย่างจริงจัง นอกจากข้อตกลงต่างๆ ที่ได้มีการลงนามร่วมกันแล้วยังได้มีการวางหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากรในสายการท่องเที่ยวให้เป็นมาตรฐานเดี่ยวกัน หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน จะช่วยให้บุคลากรในสาายการท่องเที่ยวมีศัยกภาพที่ทัดเที่ยดกันและมีความสามารถสูงที่จะแข่งขันกับภูมิภาคอื่นต่อไป
www.uasean.com/kerobow01/1170
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวถือเป็นสาขาหนึ่งของการต้าบริากร ซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อเศรษฐกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่งที่มาของเงนิตราต่างปรเทศ และยังนำมาซึ่งการจ้างงานที่สคำัญจำนวนมาก โดยจากรายงานข้อมุลขององค์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนมกราคม 2555 สรุปว่าในปี 2556 มีนักท่องเที่เยวเดินทางท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคน ในขณะที่ในส่วนของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคน
การเดินทางท่องเที่ยวดังกล่ววทำให้เกิดการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังทำให้เกิดการจ้างงานโดยทางอ้อมด้วย เช่น คนขับรถแท็กซี่ หรือ งานอื่นๆ ที่อาจำม่เกี่ยวพันกับธุรกิจการท่องเที่ยวโดยตรง อีกเป็นจำนวนถึง 25 ล้านคน ซึ่งเห็นได้ว่าอาเซียนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใหเความสำคัญกับธุรกิจการต้าบริการโดยเฉพาะอย่างยิงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงได้มีการลงนามในข้อตกลงหลายด้าน เพื่อการพัฒนาท่องเที่ยวร่วมกัน อาทิเช่น ข้อตกลงท่องเทียแห่งอาเซียน กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ และข้อตกลงอาเวียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว
สำหรับข้อตกลงอาเซยนด้านบุคลการวิชาชีพท่องเที่ยว นั้นถือเป้ฯรูปแบบล่าสุดของการพัฒนาความร่วมมือด้านการต้าบริการของอาเวียน ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณสมบัติของผุ้ให้บริากรซึ่งเป็นประชาชนชาวอาเวียนให้มีคุณภาพได้รับการยอมรับทั้งจากองค์กรภายในประเทศของตน และสามารถที่จะได้รับการรับรองจากประเทศสมาชิกอาเวียนที่ร่วมลงนามในข้อตกลงนี้ด้วย ความร่วมมือนี้มุ่งเน้นสนับสนุนการเคลื่อย้ายผุ้ให้บริการวิชาชีพทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาค ให้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบงคับของประทศสมาชิก และเพื่อเพิ่มความเท่าเที่ยมกัน รวมท้งประสิทธิภาพของทรัพยากรบุคคคลด้านการท่องเที่ยวโดยการใช้มาตรฐานสมารรถนะพื้นฐานการท่องเที่ยวเป็นหลัก
นอกจากนี้อาเซียนยังจะจัดทำมาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคคลการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน ให้แล้วเสร็จและสามารถนำไปใช้ได้ในประเทศสมาชิก โดยจะระบุถึงสมารถนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวที่ต้องการทำงานใสายงานตามข้อตกลงพื้นฐนของอาเวียนแล้วนั้น ก็สามารถเดินทางไปทำงานในประเทศสมาชิกต่างๆ ได้ อย่างไรก็ดีต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ของประเทศนั้นๆ ด้วย
การกำหนดมาตรฐานดังกล่าวจึงมีจุดมุ่งหมายเพือปรับปรุงคถณภาพการบริการท่องเที่ยและสนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือทางด้าน MRA ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นสำคัญ
คุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียนจะได้รับการยอมรับจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดเพือลงนามในข้อตกลง ฯ ซึ่งหมายความว่า บุคลากรที่ได้รับรประกาศนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วงงาน The Tourism Professional Certification Board (TPCB) ที่รับผิดชอบของประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถทำงานในประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ได้ด้วย โดยสิทธิการทำงานจะอยู่ภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของประเทศที่บุคคลผุ้นั้นถูกจ้างงาน ด้งนั้น
ประกาศนียบัตรดังกล่าวจึงถือเป็นเครื่องรับรองสำคัญสำหรับผุ้ที่ต้องการสมัครงานด้านการท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเวียน ข้อตกลงดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการท่องเที่ยวในภุมิภาคและการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานบุคคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวของอาเซียน ข้อตกลงดังกว่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการท่องเที่ยวในภุมิภาคและการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยของอาเวียนให้สะดวกและขยายตัวอย่างรวดเร็วต่อไป
การพัฒนาในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของอาเซียนถือว่าเป็นดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศได้ร่วมกันพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกันอย่างจริงจัง นอกจากข้อตกลงต่างๆ ที่ได้มีการลงนามร่วมกันแล้วยังได้มีการวางหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากรในสายการท่องเที่ยวให้เป็นมาตรฐานเดี่ยวกัน หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน จะช่วยให้บุคลากรในสาายการท่องเที่ยวมีศัยกภาพที่ทัดเที่ยดกันและมีความสามารถสูงที่จะแข่งขันกับภูมิภาคอื่นต่อไป
www.uasean.com/kerobow01/1170
วันพุธที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2560
Tourism and ASEAN Connect
การเข้าสู่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อย่างเต็มตัวนั่นหมายความว่า นับจากอาเซียนมีความร่วม
มือทางเศราฐกิจในด้านต่างๆ ที่ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะความเชื่อมโยงภูมิภาคอาเซียน หรือที่เรียกว่า อาเซียนคอนเนกต์ ที่ครอบคลุม การเชื่อมโยง 3 ด้าน คือ ความเชื่อมโยงทางกายภาพ ครอบคลุมเรื่องของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงโครงขายด้านการขนส่งเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยง ของสภาบัน ครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีและการอำนวนความสะดวกทางการค้า และการลงทุนในอาเซียน รวมถึงการดำเนินการตามความตกลงด้านการขนส่งรูปแบบต่างๆ การปรับพิธีการและมาตรฐานต่างๆ การลดขั้นตอนในกระบวนการข้ามพรมแดนใหสะดวกและว่ายขึ้น และการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรเพื่อรองรับการดำเนินการดังกล่าว สุดท้ายคือ ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน หมายถึง การเชื่อมโยงถึงกันด้านจิตใจ ลดความขัดแย้งทางสังคม วฒนธรรม และประเพณี ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพ่ิมขึ้น อย่างไรก็ตา อาเวียนได้จัดลำดับความสำคัญของการดำเนินการด้านการพัฒนาความเชื่อมโยงทางกายภาพทางด้านการขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก อังนั้น การกระจาย นักท่องเที่ยวภายในภูมิภาคอาเวียนจึงเป้นผลจากการเชื่อมโนงทางด้านกายภาพ การพัฒนาเส้นทางคมนาคม ดดยอาเว๊ยนได้วางกลยุทธ์ไว้ 5 กลยุทธ์เน้นการเดินเต้มเครือข่ายความเชื่อมโยงระหว่างกันให้สมบูรณืมากยิ่งขึ้น ได้แก่
การพัฒนาเครือข่ายเส้นทางหลวงอาเซียน โดยการยกระดับภนนที่ยังไม่ได้มาตรฐานระดับ 1 จัดทำป้ายบอทาง สร้างสะพานเชื่อมต่อระหวา่งประเทศ รวมทั้งขยายเส้นทางไปสู่จีนและอินเดียซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรและนักท่องเที่ยวที่มีัศักยาพสูง
การพัฒนาโครงการเชื่อมโงเส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์ที่เป้ฯหัวใจสำคัญของการกระจายนักท่องเที่ยวจากจีนลงมาในภูมิภาคโดยเฉพาะการสร้างเส้นทางรถไฟสองสายคือ สายตะวันออก ผ่านไทย กัมพูชา และเวียดนาม และมีทางย่อยแยดเชื่อมระหว่างสปป.ลาว และเวียดนาม สายที่สองคือ สายตะวันตก ผ่านไทยและเมียนมา แต่จะให้ความสำคัญกับสายตะวันออก ที่เประเทศไทยจุดที่อาเซียนต้องการให้เพ่ิมเติมคือ ระหว่างอรัญประเทศและคลองลึก ระยะทาง 6 กิโลเมตร ภายในปี 2557 และช่วงผ่านด่านเจดีย์สามองค์ถึงเมียนมา ระยะทาง 153 กิโลเมตริภายในปี 2563
การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงลำน้ำในปรเทศอย่างเป็นองค์รวมและมีประสิทธิภาพ มีการกำนหเส้นทางการเดินเรือท่องเที่ยวในลุ่มน้ำโขงโดยเร่ิมต้นจากจีนล่องมาจนงเชียงแสนผ่านสิบสองปันนา
การเสริมสร้างระบบการเดินเรือทะเลให้มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้อย่างเป็นองค์รวม ่ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงเส้นทางการเดินเรือทะเลระหว่างประเทศในอาเวียน โดยการจัดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเซียน โดยการจดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเว๊ยน การส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยเรือโดยสารขนาดใหย่ โดยการปรบปรุงสมรรถนะท่าเรือจำนวน 47 ท่า จากผลการศึกาาของอาเซียนในปี 2558 การจัดทำเส้นทางการเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงแผ่นดินใหญและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเชื่อมโยงอนุภูมิภาคต่างๆ ที่มีการริเริ่มขึ้น อาทิ BIMP-EAGA และ IMT-GT ตลอดจนเส้นทางระหว่างประเทศ
การจัดระบบการขนส่วใรูปแบบที่เชื่อมต่อเพื่อให้ปาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ซึ่งจะต้องเร่งดำเนินการ ให้สำเร็จโดยการสร้างจุดเชื่อมที่ยังขาดหายไปในเมียนมา และัพัฒนาท่าเที่ยบเรือที่ยางกุ้ง และเมืองดานัง การส่งเสริม การสร้างสะพานแม่น้ำโขงในกัมพูชา การสร้างท่าเรือทะเลน้ำลึก ในเมียนมา การสร้างทางหลวงและศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างกาญจนบุรีและ ดาไว โดยการพัฒนารูปแบบการเชื่่อมดยงดังกล่าวส่งผลให้ไทยมีศักยภาพในการเป็น ฮับ ในการกระจายสินค้าและการท่องเทียว
นอกจากนั้น อาเซียน ยังสร้างความเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งกับ "เส้นทางสายไหมไใา่ภายใต้ศตวรรษที่ 12 ของประเทศจีน โดยการพัฒนสเส้นทงคมนาคม 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางสายไหมทางบก มีลักษณะคล้ายแถบเส้นเข็มขัดที่เชื่อมโยงจากฝั่งตะวันตกของจีนเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเส้นทางสายไหมเดิม ผ่านเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก เอเลียใต้ อาเซียน ตะวันออกกลาง และยุโรป และ สายไหมทางทะเลที่เชื่อมโยงจากท่าเรือทางตอนใต้ของจีน ผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง แอฟริกาตะวันออก และไปสิ้นสุดที่ยุโรป (ประเทศเบลเยียม) ซึ่งเส้นทางสายไหมทางทะเลถือเป้นยุทธศาสตร์สำคัญในการขยายผลประโยชน์ระหว่างจีนกับประเทศต่งๆ ครอบคลุมหลายภูมิภาค โดยเฉพาะอาเซียน และอาจกลายเป้นเส้นทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการต้าและการลงทุนและการท่องเที่ยวมากที่สุดอีกเส้นางหนึ่งในอนาคตถ้าการพัฒนาระบบการคุมนาคมขนส่งของอาเซียนเสร็จสิ้นลงประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ในการเป็นศุนย์กลางความเชื่อมโยงที่เห้ฯชัดเจน คือ ทางบก (ทางถนนและทางรถไฟ)และทางอากาศจากข้อได้เปรียบลักษณะทางภุมิศาสตร์ที่มีแหล่งที่ตั้งใจกลางอาเซียน รวมท้งความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานในระดับหนึ่ง ตลอดจนการดำเนินงานองไทยที่รองรับโดยการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาประเทศเพื่อให้เชื่อมโยงกบอาเซียนที่มีการสร้างเส้นทางเชื่อมโยงหรือถนนเศรษบกิจ รวมถึงการเชื่อมโยงทางน้ำและอากาศ พร้อมกับกำหนดเขตเศราฐกิจพิเศษ เพื่อขยายโอากสให้ไทยได้ใช้ประโยชน์จากการต้า การลงทุน และการท่องเที่ยวตามแนวเส้นทางเหล่านี้มากขึ้น
การอำนวยความสะดวกในการขนส่ว ที่ให้ความสำคัญกับการขนส่งผุ้โดยสารข้ามชายแดนและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบซึ่งปัจุบัประเทศไทยมีด่านชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อบ้านท้้งหมด 47 แห่ง มี 13 แห่งที่มีความเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียนที่สามารยกระดับเป็นแหล่งหระจายนักท่องเที่ยว และที่สามารถรองรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดนมีเพียง 9 ด่าน ได้แก่ ด่านเชียงของ และด่านแม่สาย จ.เชียงราย ด่านแม่สอด จ.ตาก ด่านหนองคายจ.หนองคาย ด่านมุกดาหาร จ.มุกดาหาร ด่านนครพนม จ.นครพนม ด่านอรัญประเทศ จ.สระแก้ว ด่านสะเดา จ.สงขลา และด่าปาดังเบซาร์ จ.สงขลา และยังเป็นเส้นทางสำหรับนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างกันทั้งรถยนต์ส่วนบุคคลและรถบัสสำหรับท่องเที่ยว กระทรวงคมนาคมจึงได้จัดทำความตกลงการขนส่งคนดดยสารระวห่างประเทศ การพัฒนาเส้นทางใหม่ๆ ในการขนส่ง เสริมสร้างขีดความสามารถของผุ้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ตลอดจนปรับปรุงกฎระเบียบ และกฎหมายเพิ่อเพิ่มประสิทธิภาพภาพการขนส่งข้ามพรมแดน การพัฒนาศุนย์ปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของและที่เชียงราย เป็นต้น
เพื่อนบ้านในอาเซียนรองรับกับการพัฒนาความเชื่อมโยงทางคมนาคมขนส่งของอาเซ๊ยน วึ่งมีทั้งการสร้างพื้นที่เศณาฐกิจใหม่ที่เป้นบริเวณชายแดน การสนับสนุนโครงสร้งพื้นฐานในรูปแบบต่างๆ โดยในปี 2558 ประเทศไทยไ้ด้ประกาศเขตเศราฐกิจพิเศษ รวม 10 จังหวัด โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ประกาศในระยะแรก 5 จังหวัด ได้แก่ จ.ตาก ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเมืองย่างกุ้งของเมียนมาและเชื่อมต่อไปยังอินเดียและจีนตอนใต้ จ.มุกดาหาร ที่สามารถเชื่อมโยงประเทศ สปป. ลาวและเวียดนามผ่านเส้นทาง R9 เข้าสูท่าเรือดานังและเชื่อมต่ไปยังประเทศจีนตอนใต้และประเทศในแถบตะวันออกไกล จ.สระแก้ว ที่สามารถเชื่อมโยงกับด่านศุลกากรแห่งใหม่ทางบ้านสติงบท ประเทศกัมพูชา จ.ตราด ที่สามารถเชื่อมโยงกับท่าเรือสีหนุวิลล์ เกาะกง ของ กัมพูชา และจ.สงขลา ที่สามารถเชื่อมโยงกับทาเรือปีนังและท่าเรือกลางของมาเลเซีย รวมทั้งถนนและระบบรางเชื่อมโยง และระยที่ 2 จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่
- หนองคาย ที่มีจุดเชื่อมโยงกับนครเวียงจันทร์ประเทศสปป.ลาว
- นราธิวาส เชื่อมโยงกับประเทสมาเลเวียและสามารถเชื่อมต่อไปยังสิงคโปร์ได้
- เชียงราย สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเมียมาและประเทศสปป.ลาว
- นครพนม ที่เชื่อโยงกับประเทศสปป.ลาวและเชื่อมต่อไปยังประเทเวียดนามตอนเหนือ และจีนตอนใต้
- กาญจนบุรี เชื่อมต่อกับจังหวัดทวาย ประเทศเมียนมา
ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศต่างๆ ในอาเวียนต่างให้ความสนใจ และใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลือนและสร้างความเติบโตทางเศณาฐกิจของประเทศ โดยตลอด 5 ปีที่ผ่านมามีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนภูมิภาคนี้เพ่ิมขึ้นจาก 81 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2554 เป็น 105 ล้าคน ในปี 2557 หรือขายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.62 ต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียน หรือการท่องเที่ยวระหว่างประเทศอาเวียนด้วยกันเองประมาณร้อยละ 46 แสดงให้เห็นว่า โดยภาพรวมนักท่องเที่ยวของประเทศในกลุ่มอาเวียนส่วนใหย่มาจากประเทศนอกอาเซียน ยกเว้นประเทศมาเลซียที่นักท่องเที่ยวหลักมาจากประทศในกลุ่มอาเซียนเนื่องจากประเทศมาเลเซียได้ประดยชน์จากการมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสิงคโปร์ รวมถึงความัมพันะืทางเสาสฯาและเครือญาติจากนักท่องเที่ยวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเทียวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเที่ยวกลุ่มอาเวียนสูงเป็นอัดับที่ 2 แต่น้อยกว่ามาเลเซียกว่า 3 เท่า ตามด้วยประเทศสิงโปร์ อินโดนีเซีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ กัมพูชา สปป.ลาว บรูไน และเมียนมา ตามลำดับ
ภาพรวมของนักท่องเที่ยวในอาเซียนที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียนเดินทางท่องเทีียวระหว่างกนเพ่ิมขึ้นจาก 38 ล้านคนในปี 2554 เป็น 49 ล้านคนในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.12 ต่อปีสำหรับนักท่องเที่ยวนอกอาเซียน 10 อันดับยอดนิยมที่นิยมเดินทางมาท่องเที่ยวในอาเซียน มีสัดส่วนรวมกันถึงร้อยละ 91.6 ของนักท่องเที่ยวนอกอาเซียนทั้งหมด ได้แก่ นัดท่องเที่ยวจีน ยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ป่นุ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริการ อินเดีย รัสเซีย และไต้หวัน โดยนักท่องเที่ยวจากยุโปรมีแนวโน้มขยายตัวสุงกว่านักท่องเที่ยวจากประเทศือ่นๆ นักท่องเที่ยวจากนอกภูมิภาคอาเซียนมีการขยายตัวในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 11.08 โดยเพิ่มขึ้นจาก 43 ล้านคนในปี 2554 เป็น 56 ล้านคนในปี 2557
จากการเติบโตดังกล่าวแสดงให้เก็นถึงศักยภาพทางการท่องเที่ยวของอาเว๊ยนและเป็นไปตามแนวโน้มที่ UNWTO กล่าวไว้ว่า ภุมิภาคอาเซียนจะเป็นจุดหมายหลักของการเดินทางท่องเทียวและมีอัตราการเติบโตทางการท่องเทียวสูง...
- บางส่วนจาก "รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว", สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, ฉบับที่ 2 ตุลาคม-ธันวาคม 2558.
มือทางเศราฐกิจในด้านต่างๆ ที่ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะความเชื่อมโยงภูมิภาคอาเซียน หรือที่เรียกว่า อาเซียนคอนเนกต์ ที่ครอบคลุม การเชื่อมโยง 3 ด้าน คือ ความเชื่อมโยงทางกายภาพ ครอบคลุมเรื่องของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงโครงขายด้านการขนส่งเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยง ของสภาบัน ครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีและการอำนวนความสะดวกทางการค้า และการลงทุนในอาเซียน รวมถึงการดำเนินการตามความตกลงด้านการขนส่งรูปแบบต่างๆ การปรับพิธีการและมาตรฐานต่างๆ การลดขั้นตอนในกระบวนการข้ามพรมแดนใหสะดวกและว่ายขึ้น และการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรเพื่อรองรับการดำเนินการดังกล่าว สุดท้ายคือ ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน หมายถึง การเชื่อมโยงถึงกันด้านจิตใจ ลดความขัดแย้งทางสังคม วฒนธรรม และประเพณี ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพ่ิมขึ้น อย่างไรก็ตา อาเวียนได้จัดลำดับความสำคัญของการดำเนินการด้านการพัฒนาความเชื่อมโยงทางกายภาพทางด้านการขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก อังนั้น การกระจาย นักท่องเที่ยวภายในภูมิภาคอาเวียนจึงเป้นผลจากการเชื่อมโนงทางด้านกายภาพ การพัฒนาเส้นทางคมนาคม ดดยอาเว๊ยนได้วางกลยุทธ์ไว้ 5 กลยุทธ์เน้นการเดินเต้มเครือข่ายความเชื่อมโยงระหว่างกันให้สมบูรณืมากยิ่งขึ้น ได้แก่
การพัฒนาเครือข่ายเส้นทางหลวงอาเซียน โดยการยกระดับภนนที่ยังไม่ได้มาตรฐานระดับ 1 จัดทำป้ายบอทาง สร้างสะพานเชื่อมต่อระหวา่งประเทศ รวมทั้งขยายเส้นทางไปสู่จีนและอินเดียซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรและนักท่องเที่ยวที่มีัศักยาพสูง
การพัฒนาโครงการเชื่อมโงเส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์ที่เป้ฯหัวใจสำคัญของการกระจายนักท่องเที่ยวจากจีนลงมาในภูมิภาคโดยเฉพาะการสร้างเส้นทางรถไฟสองสายคือ สายตะวันออก ผ่านไทย กัมพูชา และเวียดนาม และมีทางย่อยแยดเชื่อมระหว่างสปป.ลาว และเวียดนาม สายที่สองคือ สายตะวันตก ผ่านไทยและเมียนมา แต่จะให้ความสำคัญกับสายตะวันออก ที่เประเทศไทยจุดที่อาเซียนต้องการให้เพ่ิมเติมคือ ระหว่างอรัญประเทศและคลองลึก ระยะทาง 6 กิโลเมตร ภายในปี 2557 และช่วงผ่านด่านเจดีย์สามองค์ถึงเมียนมา ระยะทาง 153 กิโลเมตริภายในปี 2563
การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงลำน้ำในปรเทศอย่างเป็นองค์รวมและมีประสิทธิภาพ มีการกำนหเส้นทางการเดินเรือท่องเที่ยวในลุ่มน้ำโขงโดยเร่ิมต้นจากจีนล่องมาจนงเชียงแสนผ่านสิบสองปันนา
การเสริมสร้างระบบการเดินเรือทะเลให้มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้อย่างเป็นองค์รวม ่ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงเส้นทางการเดินเรือทะเลระหว่างประเทศในอาเวียน โดยการจัดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเซียน โดยการจดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเว๊ยน การส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยเรือโดยสารขนาดใหย่ โดยการปรบปรุงสมรรถนะท่าเรือจำนวน 47 ท่า จากผลการศึกาาของอาเซียนในปี 2558 การจัดทำเส้นทางการเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงแผ่นดินใหญและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเชื่อมโยงอนุภูมิภาคต่างๆ ที่มีการริเริ่มขึ้น อาทิ BIMP-EAGA และ IMT-GT ตลอดจนเส้นทางระหว่างประเทศ
การจัดระบบการขนส่วใรูปแบบที่เชื่อมต่อเพื่อให้ปาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ซึ่งจะต้องเร่งดำเนินการ ให้สำเร็จโดยการสร้างจุดเชื่อมที่ยังขาดหายไปในเมียนมา และัพัฒนาท่าเที่ยบเรือที่ยางกุ้ง และเมืองดานัง การส่งเสริม การสร้างสะพานแม่น้ำโขงในกัมพูชา การสร้างท่าเรือทะเลน้ำลึก ในเมียนมา การสร้างทางหลวงและศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างกาญจนบุรีและ ดาไว โดยการพัฒนารูปแบบการเชื่่อมดยงดังกล่าวส่งผลให้ไทยมีศักยภาพในการเป็น ฮับ ในการกระจายสินค้าและการท่องเทียว
นอกจากนั้น อาเซียน ยังสร้างความเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งกับ "เส้นทางสายไหมไใา่ภายใต้ศตวรรษที่ 12 ของประเทศจีน โดยการพัฒนสเส้นทงคมนาคม 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางสายไหมทางบก มีลักษณะคล้ายแถบเส้นเข็มขัดที่เชื่อมโยงจากฝั่งตะวันตกของจีนเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเส้นทางสายไหมเดิม ผ่านเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก เอเลียใต้ อาเซียน ตะวันออกกลาง และยุโรป และ สายไหมทางทะเลที่เชื่อมโยงจากท่าเรือทางตอนใต้ของจีน ผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง แอฟริกาตะวันออก และไปสิ้นสุดที่ยุโรป (ประเทศเบลเยียม) ซึ่งเส้นทางสายไหมทางทะเลถือเป้นยุทธศาสตร์สำคัญในการขยายผลประโยชน์ระหว่างจีนกับประเทศต่งๆ ครอบคลุมหลายภูมิภาค โดยเฉพาะอาเซียน และอาจกลายเป้นเส้นทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการต้าและการลงทุนและการท่องเที่ยวมากที่สุดอีกเส้นางหนึ่งในอนาคตถ้าการพัฒนาระบบการคุมนาคมขนส่งของอาเซียนเสร็จสิ้นลงประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ในการเป็นศุนย์กลางความเชื่อมโยงที่เห้ฯชัดเจน คือ ทางบก (ทางถนนและทางรถไฟ)และทางอากาศจากข้อได้เปรียบลักษณะทางภุมิศาสตร์ที่มีแหล่งที่ตั้งใจกลางอาเซียน รวมท้งความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานในระดับหนึ่ง ตลอดจนการดำเนินงานองไทยที่รองรับโดยการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาประเทศเพื่อให้เชื่อมโยงกบอาเซียนที่มีการสร้างเส้นทางเชื่อมโยงหรือถนนเศรษบกิจ รวมถึงการเชื่อมโยงทางน้ำและอากาศ พร้อมกับกำหนดเขตเศราฐกิจพิเศษ เพื่อขยายโอากสให้ไทยได้ใช้ประโยชน์จากการต้า การลงทุน และการท่องเที่ยวตามแนวเส้นทางเหล่านี้มากขึ้น
การอำนวยความสะดวกในการขนส่ว ที่ให้ความสำคัญกับการขนส่งผุ้โดยสารข้ามชายแดนและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบซึ่งปัจุบัประเทศไทยมีด่านชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อบ้านท้้งหมด 47 แห่ง มี 13 แห่งที่มีความเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียนที่สามารยกระดับเป็นแหล่งหระจายนักท่องเที่ยว และที่สามารถรองรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดนมีเพียง 9 ด่าน ได้แก่ ด่านเชียงของ และด่านแม่สาย จ.เชียงราย ด่านแม่สอด จ.ตาก ด่านหนองคายจ.หนองคาย ด่านมุกดาหาร จ.มุกดาหาร ด่านนครพนม จ.นครพนม ด่านอรัญประเทศ จ.สระแก้ว ด่านสะเดา จ.สงขลา และด่าปาดังเบซาร์ จ.สงขลา และยังเป็นเส้นทางสำหรับนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างกันทั้งรถยนต์ส่วนบุคคลและรถบัสสำหรับท่องเที่ยว กระทรวงคมนาคมจึงได้จัดทำความตกลงการขนส่งคนดดยสารระวห่างประเทศ การพัฒนาเส้นทางใหม่ๆ ในการขนส่ง เสริมสร้างขีดความสามารถของผุ้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ตลอดจนปรับปรุงกฎระเบียบ และกฎหมายเพิ่อเพิ่มประสิทธิภาพภาพการขนส่งข้ามพรมแดน การพัฒนาศุนย์ปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของและที่เชียงราย เป็นต้น
เพื่อนบ้านในอาเซียนรองรับกับการพัฒนาความเชื่อมโยงทางคมนาคมขนส่งของอาเซ๊ยน วึ่งมีทั้งการสร้างพื้นที่เศณาฐกิจใหม่ที่เป้นบริเวณชายแดน การสนับสนุนโครงสร้งพื้นฐานในรูปแบบต่างๆ โดยในปี 2558 ประเทศไทยไ้ด้ประกาศเขตเศราฐกิจพิเศษ รวม 10 จังหวัด โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ประกาศในระยะแรก 5 จังหวัด ได้แก่ จ.ตาก ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเมืองย่างกุ้งของเมียนมาและเชื่อมต่อไปยังอินเดียและจีนตอนใต้ จ.มุกดาหาร ที่สามารถเชื่อมโยงประเทศ สปป. ลาวและเวียดนามผ่านเส้นทาง R9 เข้าสูท่าเรือดานังและเชื่อมต่ไปยังประเทศจีนตอนใต้และประเทศในแถบตะวันออกไกล จ.สระแก้ว ที่สามารถเชื่อมโยงกับด่านศุลกากรแห่งใหม่ทางบ้านสติงบท ประเทศกัมพูชา จ.ตราด ที่สามารถเชื่อมโยงกับท่าเรือสีหนุวิลล์ เกาะกง ของ กัมพูชา และจ.สงขลา ที่สามารถเชื่อมโยงกับทาเรือปีนังและท่าเรือกลางของมาเลเซีย รวมทั้งถนนและระบบรางเชื่อมโยง และระยที่ 2 จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่
- หนองคาย ที่มีจุดเชื่อมโยงกับนครเวียงจันทร์ประเทศสปป.ลาว
- นราธิวาส เชื่อมโยงกับประเทสมาเลเวียและสามารถเชื่อมต่อไปยังสิงคโปร์ได้
- เชียงราย สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเมียมาและประเทศสปป.ลาว
- นครพนม ที่เชื่อโยงกับประเทศสปป.ลาวและเชื่อมต่อไปยังประเทเวียดนามตอนเหนือ และจีนตอนใต้
- กาญจนบุรี เชื่อมต่อกับจังหวัดทวาย ประเทศเมียนมา
ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศต่างๆ ในอาเวียนต่างให้ความสนใจ และใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลือนและสร้างความเติบโตทางเศณาฐกิจของประเทศ โดยตลอด 5 ปีที่ผ่านมามีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนภูมิภาคนี้เพ่ิมขึ้นจาก 81 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2554 เป็น 105 ล้าคน ในปี 2557 หรือขายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.62 ต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียน หรือการท่องเที่ยวระหว่างประเทศอาเวียนด้วยกันเองประมาณร้อยละ 46 แสดงให้เห็นว่า โดยภาพรวมนักท่องเที่ยวของประเทศในกลุ่มอาเวียนส่วนใหย่มาจากประเทศนอกอาเซียน ยกเว้นประเทศมาเลซียที่นักท่องเที่ยวหลักมาจากประทศในกลุ่มอาเซียนเนื่องจากประเทศมาเลเซียได้ประดยชน์จากการมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสิงคโปร์ รวมถึงความัมพันะืทางเสาสฯาและเครือญาติจากนักท่องเที่ยวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเทียวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเที่ยวกลุ่มอาเวียนสูงเป็นอัดับที่ 2 แต่น้อยกว่ามาเลเซียกว่า 3 เท่า ตามด้วยประเทศสิงโปร์ อินโดนีเซีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ กัมพูชา สปป.ลาว บรูไน และเมียนมา ตามลำดับ
ภาพรวมของนักท่องเที่ยวในอาเซียนที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียนเดินทางท่องเทีียวระหว่างกนเพ่ิมขึ้นจาก 38 ล้านคนในปี 2554 เป็น 49 ล้านคนในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.12 ต่อปีสำหรับนักท่องเที่ยวนอกอาเซียน 10 อันดับยอดนิยมที่นิยมเดินทางมาท่องเที่ยวในอาเซียน มีสัดส่วนรวมกันถึงร้อยละ 91.6 ของนักท่องเที่ยวนอกอาเซียนทั้งหมด ได้แก่ นัดท่องเที่ยวจีน ยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ป่นุ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริการ อินเดีย รัสเซีย และไต้หวัน โดยนักท่องเที่ยวจากยุโปรมีแนวโน้มขยายตัวสุงกว่านักท่องเที่ยวจากประเทศือ่นๆ นักท่องเที่ยวจากนอกภูมิภาคอาเซียนมีการขยายตัวในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 11.08 โดยเพิ่มขึ้นจาก 43 ล้านคนในปี 2554 เป็น 56 ล้านคนในปี 2557
จากการเติบโตดังกล่าวแสดงให้เก็นถึงศักยภาพทางการท่องเที่ยวของอาเว๊ยนและเป็นไปตามแนวโน้มที่ UNWTO กล่าวไว้ว่า ภุมิภาคอาเซียนจะเป็นจุดหมายหลักของการเดินทางท่องเทียวและมีอัตราการเติบโตทางการท่องเทียวสูง...
- บางส่วนจาก "รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว", สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, ฉบับที่ 2 ตุลาคม-ธันวาคม 2558.
วันอังคารที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ASEAM Tourism Strategic Plan
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 แผนฉบับนี้เกิดจากความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างองค์กรอ้านการท่องเที่ยวของประเทศสามชิกอาเซียน กับโครงการ ASEAN Competitiveness Enhancement (The ACE Project) ซึ่ง ได้รับการสนับสนนุนด้านวลประมาณจากองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างปะเทศของสหรัฐอเมริกา โดยมอบหมายให้คณะผุ้วิจัยจากวิทยาลัยวัตถกรรม มหาวิทยาลัยธรรมาสตร์เป้นที่ปรึกษาในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์นี้ ซึ่งดครงการดำเนินงานในช่วงระหว่างปี 2553 ร่วมกับ ASEAN Secretariat และองค์กรด้านการท่องเที่ยวของประเทศอาเว๊ยน
แผนดังกล่าวประกอบด้วย การวิเคราะห์สถานการณ์ทั่วไปด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน วิสัยทัศน์และโครงกสร้งอคงค์กรด้านการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน การดำเนินงานและรายละเอียดกิจกรรมตามแนวทางยุทธศาสตร์สำตัญ 3 ด้าน ได้แก่
- ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการ การตลาดและการลงทุน
- ด้านการพัฒนาคุณภาบุคลากร การบิรการและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว
- ด้านการส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมโยงด้านการเดินทงท่องเที่ยวในภูมิภาค
แผนยุทธศาสตร์การตลาดด้านการท่งเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2555-2558 แผนฉบับนี้จัดทำโดยคณะผุ้วิจัยจากวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีเป้าหมายกลักคือการเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาเยือนมากกว่าหนึ่งประเทศในภูมิภาค เพื่อส่งเสริมการสร้างอาเซียนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกแะลเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการ่องเที่ยว ดดยคำนึงถึงความสามารถด้านการตลาดและทรัพยากรด้านการทอ่งเที่ยวของแต่ละประเทศสมิกเป็นสำคัญองค์ประกอบหลักอขงแผนประกอบด้วย
- การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจุจบันและแนวโน้มด้านการตลาดของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาค
- การกำหนดกลุ่มตลาดลูกค้าเป้าหมายหลักของอาเซียน
- การพัฒนาด้านสินค้าและบริากรด้านการท่องเที่ยว โดยให้สอดคล้องกับ 4 กลุ่สินค้าหลักที่กำหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน ได้แก่ (1) culture/heritage (2) nature (3) community-based experiences และ (4) cruise/river-based tourism
- การสร้้าง ASEAN Brand
- การกำหนดช่องทางการกระจายกลุ่มลูกค้า
- การจัดตั้งคณะทำงานด้านการตลาดและการติดต่อสื่อสารระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อรับผิดชอบการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
- รายละเอียดการดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ
กรอบความตกลงอาเซียนด้านบริการ ในเดือนธันวาคม 2538 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (ในขณะนั้นมีทั้งหมด 7 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซียน มเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไนและเวียนดนาม) ได้ลงนามในกรอบความตกลงอาเซียนด้านการบิริการ
เป้าหมายหลักของ AFAS คือการเสริมสร้างความร่วมมือด้นการบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันของผุ้ให้บริการ เพ่ิมความสามารถในการผลิตและกระจายการบิรการไปยังผุ้บริโภคทั้งภายในและภายนอกอาเซียน รวมทั้งเพื่อขจัดข้อบังคับทางการต้าในภาคบริการระวห่างประเทศสมาชิก และเพื่อปิดเสรรีการค้าบริากรโดยขยายทั้งในเชิงลึกและเชิงกว้างของการเปิดเสรีของผุ้ให้บริการ ข้อตกลงดังกล่าวยังกำหนดแนวทางการดำเนินงานสำหีับประเทศสมาชิกในการปรับปรุงการเข้าสู่ตลาด และการเพิ่มความเท่าเที่ยมกันของผุ้ให้บิรการ โดยระเบียบข้อบังคับทั้งหมดของ AFAS จะมีความสดอคล้องกับระเบียบข้อบับคับของ GATS
ภายใต้กรอบของ AFAS อาเซียนได้มีการเจรจาต่อรองการต้าบริการระวห่างประเทศสมาชิกจำนวน 5 รอบ ส่งผลให้เกิดการลงนามในข้อผุกพันเปิดตลาดการต้าบริการทั้งหมด 7 ชุด ข้อผุกพันฯ เหล่านี้ครอบคลุมการเปิตลาดเสรีการบริการหลายประเภท ได้แก่ สาขาบริการะุรกิจ บริการด้านวิชาชีพ การก่อสร้าง การจัดจำหน่าย การศึกษา บริการด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ การขนส่งทางน้ำ การโทรคมนาคม และการท่องเที่ยว
ล่าสุดอาเซียนได้มีการจัดทำข้อผูกพันเปิดตลาดการต้าบิรการชุดที่ 8 โดยในส่วนของประเทศไทยมีกรมแจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักดำเนินการจัดทำตารางข้อผุกพันฯ ชุดที่ 8 ซึ่งมีกำหนดขำเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาพในปี พ.ศ. 2555
สาระสำคัญของข้อผูกพันฯ ชุดที่ 8 ที่แตกต่างจากข้อผุกพันฯ ชุดก่อน ได้แก่ การมีระดับากรเปิดเสรีเพ่ิมขึ้น โดยประเทศสมาชิก จะต้องอนุญาตหใหนักลงทุนหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเวียน สามารถเข้ามามีส่ัดส่วนการถือหุ้นในธุรกิจบริการในประเทศได้ร้อยละ 70 ในสาขาเร่งรัด ได้แก่เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สุขภาพ ท่องเที่ยว และการขนสงทางอากาศ รวมถึงสาขา
โลจิสติกส์ และไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 หรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งในสาขาบริากรอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก 4 สาขาข้างต้น พร้อมกับจะต้องยกเลิกขอ้จำกัดการเข้าสู่ตลาดอื่นๆ ทั้งหมดอีกด้วย
ข้อตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว ในการประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ยวอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2552 รัฐมนตรีท่องเที่ยวอาเซียนลงนามในข้อตกลงอาเซียนด้าบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว ซึ่งมีเป้าหมายเืพ่อส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานด้านลบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในอาเว๊ยน 9 ประเทศ โดยปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่ได้ลงนาในข้อตกลงนี้ เน่อจากติดเงื่อนไขต้องผ่านการพิจารณาของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญของประเทศ
เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 ประเทศไทย โดยนายชุมพล ศิลปอาชา รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยและวกีฬา ได้ลงนามในข้อตกลงดังกล่าว ทำให้ปัจจุบันการเคลื่อนย้ายบคุลากรวิชาชีพท่องเที่ยวครอบคลุมทุกประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งผลให้แต่ละประเทศต้องดำเนินการจัดต้งคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายใสใน 180 วัน
ตามแผยดำเนินงานที่วางไว้ อาเวียนจะจัดทำ "มาตรฐานสมรรถนะขึ้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน" ให้แล้วเสร็จาภยนปพี พงศ. 2558 และสามารถนำไปใช้ได้ในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ปรเทศ โดย ACCSTP จะระบุถึงสมรรถนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในสายงานสาขาตางๆ โดยบุคลากรที่ได้รับประกาสนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวใสในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วยงานที่รับผิดชอบของประเทศใดรประเทศหนึ่ง จะสามารถทำงานในประเทศสมาชิกาอาเซียนอื่นๆ ได้ โดยสิทธิการทำงานจะยังอยู่ภมยใต้กฎหมายมและข้อบงคับของประเทศที่บุคลลผุ้นั้นถูกจ้างงาน ดังนั้นประกาศนียลัติรดังกล่าวจึงถือเป็นเครือรับรองสคำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการสมัครงานด้านกาท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเวียน
กาจัดทำมาตรฐานสมรรถนะ ฯ นี มุ่งเน้นสำหรับหลุ่มธุรกิจสำคัญ 2 กลุ่ม ได้แำก่ หลุ่มธุรกิจโรงแรม และกลุ่มธุรกิจบริการด้านการท่องเที่ยว โดยจจะครอบคลุมทั้งหมด 32 ตำแหน่งงาน ใน 6 สาขา
ข้อตกลง FTA ด้านการท่องเที่ยว อุตสาหกรรมท่องเที่ยวถือเป็นสาขาหนึ่งของการต้าบริการ ซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อเศรษบกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่งที่มาของเงินตราต่างประเทศและการจ้างงาน จากรายงานขององ์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนเมณายน 2554 สรุปว่าในปี 2553 จำนวนักท่องเที่ยวทั่วโลกมีถึง 940 ล้าคน ขณะที่ภูมิภาคอาเวียนมีจำนวยนใชนักท่องเที่ยวเดินทางมาเยือนในปี 2553 ถึง 73 ล้าคน
ด้วยเล็งเห็นถึงความสำคัญของอุตสหกรรมการบิรการโดยเฉพาะสาขาการท่องเที่ยว หลายประเทศทั้งโลกจึงได้มีการริเร่ิมความร่วมมือ และพยายามผลักดันให้มีการสร้างกฎเกณฑ์กติการสำหรัีบการต้าบริการระหว่างประเทศขึ้น โดยความร่วมมือที่สำัญประการหนึ่งคือการผลักดันให้มีการเปิเสรการต้าบริการทัี่วโลกซึ่งความพยายามดังกล่าวได้รัการสนับสนุนและผลักดันจาาหลายองค์กรระวห่งประเทศ ทั้งองค์กรในระดับพนุภาคี และองค์กรระดับภูมิภาค รวมทัังยังมีความตกลงที่ทำขึ้นระหว่งคู่ประเทศสัญญา หรือความตกลงระดับทวิภาคี เช่น ความตกลงเขตการค้าเสรีทวิภาคีระหว่างปรเทศไทยกับประเทศออสเตรเลีย และความตกลงหุ้นส่วนทางเศาฐกิจระวห่างประเทศญี่ปุ่นกับประเทศไทย เป็นต้น
คือการเจรจาเืพ่ยกเลิกข้อกีดขวาง หรืออุปสรรคที่มีต่อการค้าลริการในทุกรูปแบบของการต้าบริการ ระหว่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อช่ยวยสร้างเสถียรภาพและความโปร่งใสทางการ้าระว่างประเทศ รวมทั้งบรรยากาศความน่าลทุน ซึงจะเป็นประยชน์อย่างยิ่งต่อากรพัฒนาประเทศ การเปิดเสรียังขช่วยเพ่ิมโอกาศ ทางธุรกิจในการส่งออกสินค้าและบิรการไปยังประเทศอื่ๆน เพ่ิมโอากาสในการเรียนรู้ ช่วยสร้างงานให้กับคนในประเทศ กระตุ้นการแข่งขันในตลาด ทำให้สินค้าและบริการมีคุณภาพดีขึ้นแต่ราคาถุกลง ซึ่งส่งผลดีต่อผุ้บิรกโภค
อย่างไรก็ตา การเปิดเสรีการต้าบริากรอาจส่งผลกระทบต่อผุ้บิรโภค ผุ้ประกอบการและาภครัฐโดยเฉพาะถ้าขาดการวางแผนรองรับและการจัดการทีดี ผลกระทบสำคัญ ได้แก่ ผุ้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางปละขนาดย่อม หรือ SMEs อาจเสียงต่อการปิดกิจการเนื่องจากไม่สามารถแข่งขันกับบริษัทต่างชาิตได้ ซึ่งขึ้นอยุ่กับปััจัยสำคัญอื่นๆ ด้วย เช่น คุณภาพและศักยภาพขององค์กรภาครัฐ ขึดความสามารถในการแข่งขันของผุ้ประกอบการ
ดังนั้น ในการเพ่ิมประโยชน์และลดผลเสียที่อสจตามมา การเปิดเสรีภาคบริการทุกประเภทความต้องดำเนินการตามขึ้นตอนอย่างรัดกุม รมทั้งแต่ละประเทศควรต้องมีคณะทำงานบริหารที่มีความรุ้และข้อบังคับทางกฎหมายที่เหมาสม เพื่อช่ยให้การเปิดเสรีนำมาซึ่งผลดีกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมากที่สุด
ในปี พ.ศ. 2538 ประเทศสมาชิกองคการการต้าโลก มีการลงนามใน "ความต้ตกลงด้านการต้าบริการ" โดยมัีวัตถุประสงค์ขยายการต้าบริากรภายใต้เงื่อนไขของความโปร่งใสของกฎเกณฑ์และระเียบข้อบังคับ การเปิดเสรีเพ่ิมขึ้นเป็นลำดับผ่านรอบการเจรจา และการมีส่วนร่วมของประเทศกำลังพัฒนา โดยกำหนดให้มีการเจรจาเปิดตลดาการต้าบริการในทุกๆ 5 ปี เพื่อ เพ่ิมการเปิดตลาดเสรีการต้าบริากรให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยการลดข้อจำกัดต่างๆ นการต้าบริากรในแตละรอบของการเจรจาการต้า
GATS ถือเป็นข้อตกลงแรกทางด้านกฎหมายในระดับพนุภาคีที่ครอบคลุมถึงการต้าบริากรและการท่องเที่ยว โดยวางกรอบด้านกฎหมายสำหรับการเจรจาต่อรองและการเปิดเสรีทางการต้า ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อขจัดข้อกีดขวางต่างๆ ที่เป็นข้อจำกัดสำหรับผุ้ให้บริากรที่เป็นชาวต่างชาติ ทำให้ไม่ใไ้สามารถเข้าถึงตลาดและได้รับการยอมรับใระดับชาติ นอกจากนี้ แกรตส์ ยังมุ่งเน้นให้มีการเคลื่อนย้ายคนเพื่อไปให้บริการในประเทศสมาชิกได้อย่างเสรีเป็นการชั่วคราว เพื่อเป็นการช่วยลดต้นทุนการขนส่ง โทรคมนาคมและสินค้าโดยต้องคำนึงถึงวัฒนธรรมและกฎหมายของประเทศสมาชิกที่ใช้บังคับอยู่เดิม อาทิเช่น การจำกัดอาชีพให้เป็นอาชีพสงวน การเก็บาษีซ้ำซ้อน และการกำหนดค่าธรรมเนียมวีซ่าที่สูง
กระบวนการของ แกทส์ เร่ิมต้นที่การวางกำหนดารางการเปิดตลาดเสรีการต้าบริากรภาคส่วนใดภาค่วนหนึ่ง การปกิบัตเยี่ยงคนชาติ รวมทั้งวางแผนขั้นตอนการดำเนินงานในระดับชาติและการกำหนดความรับผิดชอบในส่วนอื่นๆ นั่นหมายถึงประเทศนั้นๆ พร้อมเพื่อการเปิดตลาดสำหรับบิรษัทต่างชาิตที่จะได้รับการปฏิบัติที่เท่าเที่ยมกันจากภาครัฐ โดยการกำหนดข้อผุกพันสำหรับรูปแบบของการต้าบริากร ต่างๆ โดยแต่ละประเทศจะมีอิสระในการตัดสินใจวาจะร่วมเปิดเสรในประเภทของะุรกิจบริการใดบ้าง สามารถกำหนดระดับการเปิเสรี ลำดับขึ้ตอนและรายละเอียดของนโยบายระดับชาติ กฎหมายหรือระเบียบข้อบับคับที่จะถุกนำมาใช้ปฏิบัตเพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม และสามารถวางเงือนไขหรือข้อจำกัดพิเศษได้ ยกตัวอยางเช่น ประเทศหนึ่งอาจอนุญาตในห้ธนาคารค่างชาติเข้ามาเปิดบริการในประเทศได้ แต่กำหนดจำนวนใบอนุญาตที่จะให้ หรือจำนวนสาขาของธนาคารต่างชาติ เป้นต้น อย่างไรก็ตามทุกประเทจะต้องกำหนดเวลาที่แน่นอนในการเปิดเสรี รวมทั้งต้องจัดตารางเวลาสำหรับว่งผู้บริหารระดับสูง และตัวแทนการต้าระหว่างประเทศสมาชิก ภ้ารประเทศใดไม่สามารถทำตามกำหนดเวลาดังกล่าวก็จะถุกนำเข้าไปสู่กระบวนการบังคับของ WTO
เพื่อเป็นการกำหนดขอบเขตที่ชัดเจนของสาขาบริากรและเกิดความสะดวกในการเจรจา WTO ได้ ระบุกิจกรรมหลักของบริการด้านท่องเที่ยวว่าประกอบไปด้วย โรงแรมร้านอาหาร, ตัวแทนนำเทียวและผุ้ประกอบการท่องเที่ยว, บริการมัคคุเทศก์และอื่นๆ
- "ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน", กลุ่มงานข้อมุลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดภูเก็ต.
วันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Tourism
ประเทศในกลุ่มอาเซียน รวม 10 ประเทศ มีประชากรรวมกันท้งสิ้น 610.6 ล้านคนโดยประเทศอินโดนีเซียนมีมากที่สุดกว่าสองร้อยห้าสิบล้านคน และเป็นประเทศมุสลิมที่ใหย๋ที่สุดในโลก และฟิลิปปปินส์มีประกรกว่างร้อยล้านคน เป็นประเทศที่นับถือคริสต์มากเป็นอันดับ 4 ของโลก ตามด้วยเวียดนาม กว่าเก้าสิบล้านคน และไทย หกสิบหกล้าน คน และ พม่า มาเลเซีย กัมพูชา ลาว สิงคโปร์ตามลำดับ ส่วนประเทศที่มีประชากรน้อยที่สุดคือ บรูไน มีทั้งสิ้น 4 แสนคน
ผลิตภัณฑ์มาวรวม ภายในกลุ่มประเทศอาเซียน (GDP) เมื่อปี 2013 ทั้งสิ้น กว่า 2,395,000 ดอลล่าร์ยูเอสเอ โดยประเทศอินโดนีเซียกว่า แปดแสนหกหมื่อนยูเอสดอลล่าร์ ตามมาด้วยมาเลเซีย สามแสนหนึ่งหมื่นสองพัน ดอลล่าร์ ไทย สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันดอลล่าร์ สิงคโปร สองแสนเก้าหมืนเจ็ด ดอลล่าร์ ฟิลิปปินส์ สองแสนหกหมื่น..พม่า ห้าหมื่อนสี่ัพัน..บรูไน หนึ่งหมืนหกพัน..กัมพุชา หนึ่งหมื่นห้าพัน..ล่าว หนึ่งหมื่นเศษ ที่กล่าวมาเป็นตัวเลขคราวๆ ในปี 2013 โดยเมื่อเปรียบเที่ยบตัวเลข GDP ของประเทศต่างๆ จะค่อนข้างแปรผันไปตามจำนวนประชากรของประเทศนั้นๆ
โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว ของประเทสมาชิกอาเซียน ในปี 2013 เท่ากับ 3,831.8 ดอลล่าร์ยูเอส แต่เมื่อเปรีบเที่ยบตัวแลขผลิตภัณฑ์มวบลรวมต่หัวของแต่ละประเทศแล้วจะเห็นว่ามีความแตกต่งกันเป็นอย่างมากโดยไม่มีความสอดคล้องกับจำนวนประชากรแต่อข่างไร แต่ขึ้นอยู่กับความสามารถด้านเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ โดยจะแสดงให้เห็นตัวเลขผลิตภัฒฑ์มวลรวมต่อหัว เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตามลำดับดังนี้ สิงคโปร์ 55,xxx ดอลล่าร์ยูเอส บรูไน 39.xxx ..., มาเลเซีย 10,xxx.., ไทย 5,6xx.., อินโดนีเซีย 3,4xx..., ฟิลิปปินส์ 2,7xx.., เวียดนาม 1,9xx.., ลาว 1,5xx.., กัมพุชา 1,xxx.., พม่า 8xx..,
จำนวนนักท่องเที่ยวในกลุ่มสมาชิกอาเซียน
เมื่อพิจารณาประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน มีความแตกต่างกันเป็นอย่างมากทั้งในแวของ เศรษฐฏิจ สังคม การเมือง ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี แต่ละประเทศมีประวัติศาสตร์ ที่แตกต่างกัน ทำให้กลุ่มประเทศเหล่านี้มีความหลากหลายไม่ซ้อแบบกันอย่างน่าสนใจ ทำให้แต่ละปะเทศมีจุดเด่นของตนเองเป็นเอกลักษ์และแบบเฉพาะของตน แต่ละประเทศมีจุดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งในกลุ่มสามาชิกอาเซียน และนอกประเทศสมาชิกอาเซียน นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศต่างๆ ในกลุ่มรปะเทศอาเซียนโดยไม่ซ้ำแบบกัน
ซึ่งตลาดทางท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ให้แ่ก่ประเทศได้เป็นจำนวนมหาศาล โดยในปี 2012 มีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวภายในกลุ่มประทเศสมาชิกอาเวียน จำนวนทั้งสิ้น กว่าแปดสิบเก้าล้านคน เป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยภายในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเว๊ยน ด้วยกัน จำนวนทั้งสิ้น สี่สิบเก้าล้านคน คิดเป็น 55.3% โดยหากแบ่งตามจำนวนนักที่องเที่ยวที่เดินทางภายในประเทศสมาชิกอาเซียน เรียงตามลำับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
- มาเลเซียน 25 ล้านคน 28%
- ไทย ยี่สิบสองบล้านคน 25%
- สิงคโปร์ 14 ล้านคน 16%
- อินโดนีเซีย แปดร้านคน 9%
- เวียดนาม หกล้านแปดแสนคน..7%
- ฟิลิปปินส์ สีล้านสองแสนคน 4%
- กัมพูชา สามล้านห้าแสนคน 4%
- ลาว สามล้านคน 3%
- พม่า หนึ่งล้านคน 1%
- และบรูไน สองแสนคน คิดเป็น 0.23%...
นักท้องเที่ยวที่เดินทางมาจากภายนอกประเทศกลุ่มประเทศอาเซียน จากมากไปน้อย ประกอบด้วย จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย ไตหวัน รัสเซียน ตามลำดับ
- "ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN Tourism Information" กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร, สำนักงานจังหวัดภูเก็ต..
ผลิตภัณฑ์มาวรวม ภายในกลุ่มประเทศอาเซียน (GDP) เมื่อปี 2013 ทั้งสิ้น กว่า 2,395,000 ดอลล่าร์ยูเอสเอ โดยประเทศอินโดนีเซียกว่า แปดแสนหกหมื่อนยูเอสดอลล่าร์ ตามมาด้วยมาเลเซีย สามแสนหนึ่งหมื่นสองพัน ดอลล่าร์ ไทย สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันดอลล่าร์ สิงคโปร สองแสนเก้าหมืนเจ็ด ดอลล่าร์ ฟิลิปปินส์ สองแสนหกหมื่น..พม่า ห้าหมื่อนสี่ัพัน..บรูไน หนึ่งหมืนหกพัน..กัมพุชา หนึ่งหมื่นห้าพัน..ล่าว หนึ่งหมื่นเศษ ที่กล่าวมาเป็นตัวเลขคราวๆ ในปี 2013 โดยเมื่อเปรียบเที่ยบตัวเลข GDP ของประเทศต่างๆ จะค่อนข้างแปรผันไปตามจำนวนประชากรของประเทศนั้นๆ
โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว ของประเทสมาชิกอาเซียน ในปี 2013 เท่ากับ 3,831.8 ดอลล่าร์ยูเอส แต่เมื่อเปรีบเที่ยบตัวแลขผลิตภัณฑ์มวบลรวมต่หัวของแต่ละประเทศแล้วจะเห็นว่ามีความแตกต่งกันเป็นอย่างมากโดยไม่มีความสอดคล้องกับจำนวนประชากรแต่อข่างไร แต่ขึ้นอยู่กับความสามารถด้านเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ โดยจะแสดงให้เห็นตัวเลขผลิตภัฒฑ์มวลรวมต่อหัว เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตามลำดับดังนี้ สิงคโปร์ 55,xxx ดอลล่าร์ยูเอส บรูไน 39.xxx ..., มาเลเซีย 10,xxx.., ไทย 5,6xx.., อินโดนีเซีย 3,4xx..., ฟิลิปปินส์ 2,7xx.., เวียดนาม 1,9xx.., ลาว 1,5xx.., กัมพุชา 1,xxx.., พม่า 8xx..,
จำนวนนักท่องเที่ยวในกลุ่มสมาชิกอาเซียน
เมื่อพิจารณาประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน มีความแตกต่างกันเป็นอย่างมากทั้งในแวของ เศรษฐฏิจ สังคม การเมือง ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี แต่ละประเทศมีประวัติศาสตร์ ที่แตกต่างกัน ทำให้กลุ่มประเทศเหล่านี้มีความหลากหลายไม่ซ้อแบบกันอย่างน่าสนใจ ทำให้แต่ละปะเทศมีจุดเด่นของตนเองเป็นเอกลักษ์และแบบเฉพาะของตน แต่ละประเทศมีจุดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งในกลุ่มสามาชิกอาเซียน และนอกประเทศสมาชิกอาเซียน นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศต่างๆ ในกลุ่มรปะเทศอาเซียนโดยไม่ซ้ำแบบกัน
ซึ่งตลาดทางท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ให้แ่ก่ประเทศได้เป็นจำนวนมหาศาล โดยในปี 2012 มีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวภายในกลุ่มประทเศสมาชิกอาเวียน จำนวนทั้งสิ้น กว่าแปดสิบเก้าล้านคน เป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยภายในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเว๊ยน ด้วยกัน จำนวนทั้งสิ้น สี่สิบเก้าล้านคน คิดเป็น 55.3% โดยหากแบ่งตามจำนวนนักที่องเที่ยวที่เดินทางภายในประเทศสมาชิกอาเซียน เรียงตามลำับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
- มาเลเซียน 25 ล้านคน 28%
- ไทย ยี่สิบสองบล้านคน 25%
- สิงคโปร์ 14 ล้านคน 16%
- อินโดนีเซีย แปดร้านคน 9%
- เวียดนาม หกล้านแปดแสนคน..7%
- ฟิลิปปินส์ สีล้านสองแสนคน 4%
- กัมพูชา สามล้านห้าแสนคน 4%
- ลาว สามล้านคน 3%
- พม่า หนึ่งล้านคน 1%
- และบรูไน สองแสนคน คิดเป็น 0.23%...
นักท้องเที่ยวที่เดินทางมาจากภายนอกประเทศกลุ่มประเทศอาเซียน จากมากไปน้อย ประกอบด้วย จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย ไตหวัน รัสเซียน ตามลำดับ
- "ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN Tourism Information" กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร, สำนักงานจังหวัดภูเก็ต..
วันอาทิตย์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2560
The tourist
การท่องเที่ยวอาเซียน : ความหลากหลายที่ลงตัว ด้วยความหลากหลายทางศิลปะ ความร่ำรวย
ทางวัฒนธรรม และความบริสุทธิ์งดงามของธรรมชาติ ทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นจุดดึงดูดที่สำคัญของปรเทศในกลุ่มอาเซยนและเป็นที่มาของเม็ดเงินมหาศาลที่แต่ละประเทศได้นำใช้ในการพัฒนามาช้านาน อย่างไรก็ตาม เป้นในที่รับรู้กันในแวดวงการท่องเที่ยวอย่างแพร่หลายว่า ที่ผ่านมานั้นแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเวียนมีการแข่งขันกันเองอย่างดุเดือดในการดึงนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกให้เข้ามาท่องเที่ยวและจับจ่ายใช้สอยในประเทศของตน กล่าาวได้ว่าการทำการประชาสัมพันะือย่างเช้มข้นของแต่ละประเทศทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลกมากมาย เช่น หาดสวรรค์แห่ง ภูเก็ต บาหลี หรือบาราเค ไปจนถึงเมืองแห่งตึกระฟ้า เช่น สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ หรือนครแห่งวัดวาอาราม เช่น กรุงเทพ รวมไปถึงนครวัด
ในแง่การตลาดระดับภูมิภาคมีความพยายามมานานในการผลักดันให้กิดความร่วมมือกนเพื่อส่งเสริม "ASEAN Destination" แบบไม่แยกส่วน กล่าวคื อให้ประเทศในกลุ่มอาเวียนไ้จับมือกันเพื่อเพิ่มมุลค่าเพ่ิมให้กับการท่องเที่ยวของภุมิภาค เพื่อที่จะแข่งขันกับกลุ่มประเทศอื่นๆ แทนท่จะแข่งขันกันเอง นอกเนหือจากองค์ประกอบที่ชัดเจนของการท่องเที่ยวในอาเซียน เช่น ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์แล้ว จุดขายที่โดดเด่นของอาเซียน คือ "ความแตกต่างหลากหลาย"
จะมีภูมิภาคใดบ้างใดลกที่นักท่องเทียวสามารถสัมผัสความทันสมัย สะดวกสบายของเมืองใหญ่ และสามารถมีประสบการณ์อันน่าทึ่งกับชาวบ้านที่ยังคงใช้ชีวิตเรียบง่าย ภายใต้ชีวิตและขนบประเพณีแบบดั้งเดิม
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่่นักท่องเทียวจะได้เห็นร่องรอยประวัติศาสตร์และสภาปัตยกรรมของประเทศที่เคยถูกเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกกับประเทศที่สามารถคงความเอกราชมาได้อย่างยาวนาน
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่นักท่องเที่ยวได้เห้ฯความสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติ ทั้งป่าเขา ท้องทะเล ซึ่งมีระบบนิเวศที่มีความพิเศษแตกต่าง
ทั้งหมดนี้ล้วนสัมผัสได้ในภูมิภาคอาเซียนซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเดินทางจากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่งภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง ดังนั้น การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกจิอาเซียนจะเป้นการก้าวกระโดดครั้งสำคัญในมิติของการท่องเที่ยวที่จะทำให้เกิดการสร้างกฎเกณฑ์และมาตรฐาน ตลาดจนสร้างพลวัตของตลาดแรงานฝีมือเพื่อไปสู่เป้าหมายใหญ่คือการสร้างแบรนด์ "อาเซียน" ที่มีเสน่ห์และเอกลักษณ์เฉพาะเพื่อสื่สารไปสู่นักท่องเที่ยวในนานาประเทศทั่วโลก รวมทั้งนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน
ความร่วมมือดังกล่าวจะทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมด้านการท่องเที่ยวใหม่ๆ ผ่านการแบ่งปันองค์ความรู้ด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนสร้างกระแสการท่องเที่ยวสีเขียวให้เป็นกระแสหลลัก หากอาเซียนมียุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคที่ชัดเจนและถูกทิศถูกทางทำให้การท่องเที่ยวเป็นหัวหอกด้านการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการนำภูมิภาคนี้ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นธรรม และไม่แบ่งแยกอย่างแท้จริงwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4473&filename=index
อาเซียนถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งจากภายในภูมิภาคและระหว่างประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้นมาโดยตลอด ในปี 2013 นั้นมีนักท่องเที่ยวมาเยื่อนอาเซียนทั้งสิ้น 99.2 ล้านคน เพ่ิมขึ้น11.73% จากปีก่อนหน้า
มีความก้าวหน้าสำคัญในการอำนวยความสะดวกการเคลือนย้ายบริการและแรงงานมีทักษะอย่างเสรี โดยการดำเนินการตาม ASEAN Mutual Recognition Arrangement (MRA) on Tourism Professionals นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนามาตรฐานด้านการท่องเที่ยวสำหรับโรงแรมสีเขียว โฮมสเตย์ บริการสปา ห้องสุขาสาธารณะ เมืองท่องเที่ยวที่สะอาดและมีพื้นฐานจากชุมชนและรับรองมาตรฐาน ซึ่่งจะเป้นการช่วยเสริมสร้างคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์และบิรการด้านต่างๆ ในสาขาท่องเที่ยว มีการทำการตลาดและสงเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวอาเซียนร่วมกับภาคเอกขนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุงเว็บไซต์ด้านการท่องเทียวอาเซียน ให้มีคุณภาพดีขึ้น
ด้านการร่วมมือกับประเทศที่มิใช้สมาชิกอาเซียนนั้น ในปัจจุบันมีความร่วมมือกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อเป้ฯการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศเหล่านั้นด้วย การท่องเที่ยวอาเซียน ได้ร่วมกันกำหนดแผนการรวมกลุ่มสาขาการท่องเที่ยของอาเซียนขึ้น โดยแผนการรวมกลุ่มสาขาท่องเที่ยวดังกล่าวจะมีส่วนำสำคัญต่อการเร่งรัดการเปิดเสรีการบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาครวมถึงมาตการต่างๆ ในการอำนวนความสะดวก การเดินทางของนักท่องเที่ย เช่น กระบวนการออกวีซ่าให้เป้นมาตรฐานเดียวกัน การยกเว้นวีซ่าให้คนชาติอาเซียน การเร่งรัดการจัดทำ อาเซียน ซิงเกิล วีซา และมาตรการการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม และมาตรการการสงสเริมการตลาดร่วมกันเพื่อประชาสัมพันะือาเว๊ยนในฐานะแหล่งท่องเที่ยวร่วมกัน ตลอดจนมีการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน โดยล่าสุดคือแผนระหว่างปี 2011-2015 เพื่อพัฒนาไปสู่การท่องเทียวที่ยั่งยืน
แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเป้นผลจากการประชุมกลุ่มทำงานพิเศษด้านการบูรณาการการท่องเที่ยวอาเซียน ในปี 2009 ที่ต้องการพัฒนาพิมพ์เขียวในการกำหนดนโยบายและโครงการต่างๆ ขององค์กรท่องเที่ยวระดับชาติอาเซียน ทั้งในด้านการตลาด การัพฒนาผลิตภัฒฑ์ มาตรฐาน การพัฒนาบุคลากร การลงทุน และการสื่อสารระหว่างกันโดยมีการกำนดวัตถุประสงค์ ไว้ดังนี้
- ทบทวนปฏิญญา ความตกลงต่างๆ ในการัดตั้งประชาคมอาเว๊ยนและการบรูณาการภาคการท่องเทียว อาทิ กรอบข้อตกลงด้านการต้าบริการอาเซียน
- ปรึกษาหารือกับองค์กรพัฒนาเอกชนอาเซียน และประธานหน่วยทำงานต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน เพื่อหาข้อมูล แนวความคิด ข้อเสนอแนะในด้านวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ สำหรับการท่องเทียวอาเวียนภายในปี 2015
- ประเมินผลการทำงานของ NTOs คณะทำงานต่างๆ ที่ควรดำเนินการเื่อกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายของการท่องเที่ยวอาเซียนภาในปี 2015
- จัดเตรียมแผนการดำเนินงานสำหรับการท่องเที่ยวอาเซียน ดดยมีการระบุโครงการและกิจกรรม กรอบระยะเวลา และผุ้รับผิดชอบ
โดยการดำเนินงานตามแผนฯ นั้นจะยึดหลัการสำคัญ 6 ประการคือ
1.การพัฒนาการท่องเที่ยจะต้องเป็นการพัฒนาดดยมีการบูรณาการและมีรูปแบบ
2. มีความยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ
3. ได้รับความร่่วมมือจากผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงกว้าง
4. มีการพัฒนาผลิตภัฒฑืการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
5. มีการบิรการเป็นเลิส และ
ุ6. ได้รับประสบการณ์ ที่โดดเด่นและการมีปฏิสัมพันธ์
การประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนเป็นการประชุมเพื่อหารือและกำหนดนโยบายด้นการท่องเทียวของอาเวียน โดยมีการประชุมปีละครั้ง การประชุมคร้งล่าสุดเป็นการประชุมครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2558 กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ดดยมี ฯพณฯ U Htay Aung รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการโรงแรมและท่องเที่ยว เป็นประธาน มีสาระสำคัญของการประชุมโดยสังเขป คือ
- มีความคืบหน้าในการดำเนินการตาม อาเซียน โอเพ่นส์ สกายส์ อะกรีเม้นต์ เพื่อเป็นการสงเสริมการท่องเทียวการท่องเที่ยภายในอาเซียนซึ่งถือป็นที่มาหลักของการเจริญเตบโตในด้านการท่องเที่ยว
- ความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน 201132015 และเห็นพ้องว่าสำหรับแผนฯ ฉบับต่อไป ระหว่าง 2016-2025 นั้น อาเซียนควรมุ่งเน้นในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ โดยการนำเสนอประเด็นการท่องเทียวที่จะได้รับประสบการณ์ที่มีเอกลักษณ์และมีความหลากหลายและยึดมั่นในหลักการแห่งความรับผิดชอบ และการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวที่ทั่วถึงและสมดุล
- ในด้านบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ได้มีการับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำนักเลขาธิการท่องเที่ยว ได้มีการรับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำรักเลขาธิการระดับภูมิภาคขึ้นในกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นการอำนวย ความสะดวกและดำเนินการตามข้อตกลงยอมรับร่วม ในด้านผุ้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว โดยจะมีการรับรองผู้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวประมาณ 6,000 ราย..
- มีความคืบหน้าในการัพมฯาระบบการขึ้นทะเบียผุ้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวอากวียน และะครงการอื่นๆ
- ด้านการปรับปรุงคุณภาพ จะถือเป้นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียน ในฐานะแหล่งท่องเทียวร่วม นอกจากจะมีความคืบหน้าในการจัดทำมาตรฐานด้านการท่องเที่ยวอาเซียนแล้ว ยังมีความคิดริเริ่ม ที่จะพัฒนามาตรฐานการจัดประชุมไมซ์ อีกด้วย
- มีการิเริ่มจัดทำแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยการท่องเที่ยวอาเซียน และมีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการหาข้อมูลในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวอาเวียนในขช่องทางต่างๆ ทั้งเว็บไซต์ สื่งสังคมออนไลน์ และความร่วมมือกับภาคเอกชน
- มีการพัฒนาผลิตภัฒฑ์ด้านการท่องเที่ยวอาเซียนที่เน้นด้านธรรมชาติ ดดยได้มีการพัฒนา แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อาเซียน และด้านวัฒนธรรมด้วย
- มีการปรับปรุงการเชื่อมโยงทางอากาศในอาเซียนผ่าน อาเซียน โอเพ่น สกายส์ อะกรีเม้นต์ และมีการเจรจากับประทศคู่เจรจา ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลี
- มีการจัดงาน อาเซียน ทัวลิส ฟอร์ลัม 2015 ณ กรุง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ภายใต้ชื่อ งาน "อาเซียน-ทัวลิสต์ ทูวาส เพส พลอสเพอริตี้
- ในวาระเดียวกันยังมีการประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนบวกสาม ครั้งที่ 14...www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3963&filename=index
ทางวัฒนธรรม และความบริสุทธิ์งดงามของธรรมชาติ ทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นจุดดึงดูดที่สำคัญของปรเทศในกลุ่มอาเซยนและเป็นที่มาของเม็ดเงินมหาศาลที่แต่ละประเทศได้นำใช้ในการพัฒนามาช้านาน อย่างไรก็ตาม เป้นในที่รับรู้กันในแวดวงการท่องเที่ยวอย่างแพร่หลายว่า ที่ผ่านมานั้นแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเวียนมีการแข่งขันกันเองอย่างดุเดือดในการดึงนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกให้เข้ามาท่องเที่ยวและจับจ่ายใช้สอยในประเทศของตน กล่าาวได้ว่าการทำการประชาสัมพันะือย่างเช้มข้นของแต่ละประเทศทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลกมากมาย เช่น หาดสวรรค์แห่ง ภูเก็ต บาหลี หรือบาราเค ไปจนถึงเมืองแห่งตึกระฟ้า เช่น สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ หรือนครแห่งวัดวาอาราม เช่น กรุงเทพ รวมไปถึงนครวัด
ในแง่การตลาดระดับภูมิภาคมีความพยายามมานานในการผลักดันให้กิดความร่วมมือกนเพื่อส่งเสริม "ASEAN Destination" แบบไม่แยกส่วน กล่าวคื อให้ประเทศในกลุ่มอาเวียนไ้จับมือกันเพื่อเพิ่มมุลค่าเพ่ิมให้กับการท่องเที่ยวของภุมิภาค เพื่อที่จะแข่งขันกับกลุ่มประเทศอื่นๆ แทนท่จะแข่งขันกันเอง นอกเนหือจากองค์ประกอบที่ชัดเจนของการท่องเที่ยวในอาเซียน เช่น ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์แล้ว จุดขายที่โดดเด่นของอาเซียน คือ "ความแตกต่างหลากหลาย"
จะมีภูมิภาคใดบ้างใดลกที่นักท่องเทียวสามารถสัมผัสความทันสมัย สะดวกสบายของเมืองใหญ่ และสามารถมีประสบการณ์อันน่าทึ่งกับชาวบ้านที่ยังคงใช้ชีวิตเรียบง่าย ภายใต้ชีวิตและขนบประเพณีแบบดั้งเดิม
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่่นักท่องเทียวจะได้เห็นร่องรอยประวัติศาสตร์และสภาปัตยกรรมของประเทศที่เคยถูกเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกกับประเทศที่สามารถคงความเอกราชมาได้อย่างยาวนาน
จะมีภูมิภาคใดบ้างที่นักท่องเที่ยวได้เห้ฯความสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติ ทั้งป่าเขา ท้องทะเล ซึ่งมีระบบนิเวศที่มีความพิเศษแตกต่าง
ทั้งหมดนี้ล้วนสัมผัสได้ในภูมิภาคอาเซียนซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเดินทางจากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่งภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง ดังนั้น การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกจิอาเซียนจะเป้นการก้าวกระโดดครั้งสำคัญในมิติของการท่องเที่ยวที่จะทำให้เกิดการสร้างกฎเกณฑ์และมาตรฐาน ตลาดจนสร้างพลวัตของตลาดแรงานฝีมือเพื่อไปสู่เป้าหมายใหญ่คือการสร้างแบรนด์ "อาเซียน" ที่มีเสน่ห์และเอกลักษณ์เฉพาะเพื่อสื่สารไปสู่นักท่องเที่ยวในนานาประเทศทั่วโลก รวมทั้งนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน
ความร่วมมือดังกล่าวจะทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมด้านการท่องเที่ยวใหม่ๆ ผ่านการแบ่งปันองค์ความรู้ด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนสร้างกระแสการท่องเที่ยวสีเขียวให้เป็นกระแสหลลัก หากอาเซียนมียุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคที่ชัดเจนและถูกทิศถูกทางทำให้การท่องเที่ยวเป็นหัวหอกด้านการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการนำภูมิภาคนี้ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นธรรม และไม่แบ่งแยกอย่างแท้จริงwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4473&filename=index
อาเซียนถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งจากภายในภูมิภาคและระหว่างประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้นมาโดยตลอด ในปี 2013 นั้นมีนักท่องเที่ยวมาเยื่อนอาเซียนทั้งสิ้น 99.2 ล้านคน เพ่ิมขึ้น11.73% จากปีก่อนหน้า
มีความก้าวหน้าสำคัญในการอำนวยความสะดวกการเคลือนย้ายบริการและแรงงานมีทักษะอย่างเสรี โดยการดำเนินการตาม ASEAN Mutual Recognition Arrangement (MRA) on Tourism Professionals นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนามาตรฐานด้านการท่องเที่ยวสำหรับโรงแรมสีเขียว โฮมสเตย์ บริการสปา ห้องสุขาสาธารณะ เมืองท่องเที่ยวที่สะอาดและมีพื้นฐานจากชุมชนและรับรองมาตรฐาน ซึ่่งจะเป้นการช่วยเสริมสร้างคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์และบิรการด้านต่างๆ ในสาขาท่องเที่ยว มีการทำการตลาดและสงเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวอาเซียนร่วมกับภาคเอกขนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุงเว็บไซต์ด้านการท่องเทียวอาเซียน ให้มีคุณภาพดีขึ้น
ด้านการร่วมมือกับประเทศที่มิใช้สมาชิกอาเซียนนั้น ในปัจจุบันมีความร่วมมือกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อเป้ฯการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศเหล่านั้นด้วย การท่องเที่ยวอาเซียน ได้ร่วมกันกำหนดแผนการรวมกลุ่มสาขาการท่องเที่ยของอาเซียนขึ้น โดยแผนการรวมกลุ่มสาขาท่องเที่ยวดังกล่าวจะมีส่วนำสำคัญต่อการเร่งรัดการเปิดเสรีการบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาครวมถึงมาตการต่างๆ ในการอำนวนความสะดวก การเดินทางของนักท่องเที่ย เช่น กระบวนการออกวีซ่าให้เป้นมาตรฐานเดียวกัน การยกเว้นวีซ่าให้คนชาติอาเซียน การเร่งรัดการจัดทำ อาเซียน ซิงเกิล วีซา และมาตรการการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม และมาตรการการสงสเริมการตลาดร่วมกันเพื่อประชาสัมพันะือาเว๊ยนในฐานะแหล่งท่องเที่ยวร่วมกัน ตลอดจนมีการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน โดยล่าสุดคือแผนระหว่างปี 2011-2015 เพื่อพัฒนาไปสู่การท่องเทียวที่ยั่งยืน
แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเป้นผลจากการประชุมกลุ่มทำงานพิเศษด้านการบูรณาการการท่องเที่ยวอาเซียน ในปี 2009 ที่ต้องการพัฒนาพิมพ์เขียวในการกำหนดนโยบายและโครงการต่างๆ ขององค์กรท่องเที่ยวระดับชาติอาเซียน ทั้งในด้านการตลาด การัพฒนาผลิตภัฒฑ์ มาตรฐาน การพัฒนาบุคลากร การลงทุน และการสื่อสารระหว่างกันโดยมีการกำนดวัตถุประสงค์ ไว้ดังนี้
- ทบทวนปฏิญญา ความตกลงต่างๆ ในการัดตั้งประชาคมอาเว๊ยนและการบรูณาการภาคการท่องเทียว อาทิ กรอบข้อตกลงด้านการต้าบริการอาเซียน
- ปรึกษาหารือกับองค์กรพัฒนาเอกชนอาเซียน และประธานหน่วยทำงานต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน เพื่อหาข้อมูล แนวความคิด ข้อเสนอแนะในด้านวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ สำหรับการท่องเทียวอาเวียนภายในปี 2015
- ประเมินผลการทำงานของ NTOs คณะทำงานต่างๆ ที่ควรดำเนินการเื่อกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายของการท่องเที่ยวอาเซียนภาในปี 2015
- จัดเตรียมแผนการดำเนินงานสำหรับการท่องเที่ยวอาเซียน ดดยมีการระบุโครงการและกิจกรรม กรอบระยะเวลา และผุ้รับผิดชอบ
โดยการดำเนินงานตามแผนฯ นั้นจะยึดหลัการสำคัญ 6 ประการคือ
1.การพัฒนาการท่องเที่ยจะต้องเป็นการพัฒนาดดยมีการบูรณาการและมีรูปแบบ
2. มีความยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ
3. ได้รับความร่่วมมือจากผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงกว้าง
4. มีการพัฒนาผลิตภัฒฑืการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
5. มีการบิรการเป็นเลิส และ
ุ6. ได้รับประสบการณ์ ที่โดดเด่นและการมีปฏิสัมพันธ์
การประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนเป็นการประชุมเพื่อหารือและกำหนดนโยบายด้นการท่องเทียวของอาเวียน โดยมีการประชุมปีละครั้ง การประชุมคร้งล่าสุดเป็นการประชุมครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2558 กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ดดยมี ฯพณฯ U Htay Aung รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการโรงแรมและท่องเที่ยว เป็นประธาน มีสาระสำคัญของการประชุมโดยสังเขป คือ
- มีความคืบหน้าในการดำเนินการตาม อาเซียน โอเพ่นส์ สกายส์ อะกรีเม้นต์ เพื่อเป็นการสงเสริมการท่องเทียวการท่องเที่ยภายในอาเซียนซึ่งถือป็นที่มาหลักของการเจริญเตบโตในด้านการท่องเที่ยว
- ความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน 201132015 และเห็นพ้องว่าสำหรับแผนฯ ฉบับต่อไป ระหว่าง 2016-2025 นั้น อาเซียนควรมุ่งเน้นในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ โดยการนำเสนอประเด็นการท่องเทียวที่จะได้รับประสบการณ์ที่มีเอกลักษณ์และมีความหลากหลายและยึดมั่นในหลักการแห่งความรับผิดชอบ และการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวที่ทั่วถึงและสมดุล
- ในด้านบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ได้มีการับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำนักเลขาธิการท่องเที่ยว ได้มีการรับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำรักเลขาธิการระดับภูมิภาคขึ้นในกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นการอำนวย ความสะดวกและดำเนินการตามข้อตกลงยอมรับร่วม ในด้านผุ้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว โดยจะมีการรับรองผู้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวประมาณ 6,000 ราย..
- มีความคืบหน้าในการัพมฯาระบบการขึ้นทะเบียผุ้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวอากวียน และะครงการอื่นๆ
- ด้านการปรับปรุงคุณภาพ จะถือเป้นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียน ในฐานะแหล่งท่องเทียวร่วม นอกจากจะมีความคืบหน้าในการจัดทำมาตรฐานด้านการท่องเที่ยวอาเซียนแล้ว ยังมีความคิดริเริ่ม ที่จะพัฒนามาตรฐานการจัดประชุมไมซ์ อีกด้วย
- มีการิเริ่มจัดทำแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยการท่องเที่ยวอาเซียน และมีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการหาข้อมูลในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวอาเวียนในขช่องทางต่างๆ ทั้งเว็บไซต์ สื่งสังคมออนไลน์ และความร่วมมือกับภาคเอกชน
- มีการพัฒนาผลิตภัฒฑ์ด้านการท่องเที่ยวอาเซียนที่เน้นด้านธรรมชาติ ดดยได้มีการพัฒนา แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อาเซียน และด้านวัฒนธรรมด้วย
- มีการปรับปรุงการเชื่อมโยงทางอากาศในอาเซียนผ่าน อาเซียน โอเพ่น สกายส์ อะกรีเม้นต์ และมีการเจรจากับประทศคู่เจรจา ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลี
- มีการจัดงาน อาเซียน ทัวลิส ฟอร์ลัม 2015 ณ กรุง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ภายใต้ชื่อ งาน "อาเซียน-ทัวลิสต์ ทูวาส เพส พลอสเพอริตี้
- ในวาระเดียวกันยังมีการประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนบวกสาม ครั้งที่ 14...www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3963&filename=index
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...