The tourist

          การท่องเที่ยวอาเซียน : ความหลากหลายที่ลงตัว ด้วยความหลากหลายทางศิลปะ ความร่ำรวย
ทางวัฒนธรรม และความบริสุทธิ์งดงามของธรรมชาติ ทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นจุดดึงดูดที่สำคัญของปรเทศในกลุ่มอาเซยนและเป็นที่มาของเม็ดเงินมหาศาลที่แต่ละประเทศได้นำใช้ในการพัฒนามาช้านาน อย่างไรก็ตาม เป้นในที่รับรู้กันในแวดวงการท่องเที่ยวอย่างแพร่หลายว่า ที่ผ่านมานั้นแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเวียนมีการแข่งขันกันเองอย่างดุเดือดในการดึงนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกให้เข้ามาท่องเที่ยวและจับจ่ายใช้สอยในประเทศของตน กล่าาวได้ว่าการทำการประชาสัมพันะือย่างเช้มข้นของแต่ละประเทศทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลกมากมาย เช่น หาดสวรรค์แห่ง ภูเก็ต บาหลี หรือบาราเค ไปจนถึงเมืองแห่งตึกระฟ้า เช่น สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ หรือนครแห่งวัดวาอาราม เช่น กรุงเทพ รวมไปถึงนครวัด
           ในแง่การตลาดระดับภูมิภาคมีความพยายามมานานในการผลักดันให้กิดความร่วมมือกนเพื่อส่งเสริม "ASEAN Destination" แบบไม่แยกส่วน กล่าวคื อให้ประเทศในกลุ่มอาเวียนไ้จับมือกันเพื่อเพิ่มมุลค่าเพ่ิมให้กับการท่องเที่ยวของภุมิภาค เพื่อที่จะแข่งขันกับกลุ่มประเทศอื่นๆ แทนท่จะแข่งขันกันเอง นอกเนหือจากองค์ประกอบที่ชัดเจนของการท่องเที่ยวในอาเซียน เช่น ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์แล้ว จุดขายที่โดดเด่นของอาเซียน คือ "ความแตกต่างหลากหลาย"
          จะมีภูมิภาคใดบ้างใดลกที่นักท่องเทียวสามารถสัมผัสความทันสมัย สะดวกสบายของเมืองใหญ่ และสามารถมีประสบการณ์อันน่าทึ่งกับชาวบ้านที่ยังคงใช้ชีวิตเรียบง่าย ภายใต้ชีวิตและขนบประเพณีแบบดั้งเดิม
           จะมีภูมิภาคใดบ้างที่่นักท่องเทียวจะได้เห็นร่องรอยประวัติศาสตร์และสภาปัตยกรรมของประเทศที่เคยถูกเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกกับประเทศที่สามารถคงความเอกราชมาได้อย่างยาวนาน
           จะมีภูมิภาคใดบ้างที่นักท่องเที่ยวได้เห้ฯความสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติ ทั้งป่าเขา ท้องทะเล ซึ่งมีระบบนิเวศที่มีความพิเศษแตกต่าง
         
ทั้งหมดนี้ล้วนสัมผัสได้ในภูมิภาคอาเซียนซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเดินทางจากประเทศหนึ่งไปสู่อีกประเทศหนึ่งภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง ดังนั้น การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกจิอาเซียนจะเป้นการก้าวกระโดดครั้งสำคัญในมิติของการท่องเที่ยวที่จะทำให้เกิดการสร้างกฎเกณฑ์และมาตรฐาน ตลาดจนสร้างพลวัตของตลาดแรงานฝีมือเพื่อไปสู่เป้าหมายใหญ่คือการสร้างแบรนด์ "อาเซียน" ที่มีเสน่ห์และเอกลักษณ์เฉพาะเพื่อสื่สารไปสู่นักท่องเที่ยวในนานาประเทศทั่วโลก รวมทั้งนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน
            ความร่วมมือดังกล่าวจะทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมด้านการท่องเที่ยวใหม่ๆ ผ่านการแบ่งปันองค์ความรู้ด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนสร้างกระแสการท่องเที่ยวสีเขียวให้เป็นกระแสหลลัก หากอาเซียนมียุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคที่ชัดเจนและถูกทิศถูกทางทำให้การท่องเที่ยวเป็นหัวหอกด้านการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการนำภูมิภาคนี้ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นธรรม และไม่แบ่งแยกอย่างแท้จริงwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4473&filename=index
             อาเซียนถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งจากภายในภูมิภาคและระหว่างประเทศ โดยจำนวนนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้นมาโดยตลอด ในปี 2013 นั้นมีนักท่องเที่ยวมาเยื่อนอาเซียนทั้งสิ้น 99.2 ล้านคน เพ่ิมขึ้น11.73% จากปีก่อนหน้า
              มีความก้าวหน้าสำคัญในการอำนวยความสะดวกการเคลือนย้ายบริการและแรงงานมีทักษะอย่างเสรี โดยการดำเนินการตาม ASEAN Mutual Recognition Arrangement (MRA) on Tourism Professionals นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนามาตรฐานด้านการท่องเที่ยวสำหรับโรงแรมสีเขียว โฮมสเตย์ บริการสปา ห้องสุขาสาธารณะ เมืองท่องเที่ยวที่สะอาดและมีพื้นฐานจากชุมชนและรับรองมาตรฐาน ซึ่่งจะเป้นการช่วยเสริมสร้างคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์และบิรการด้านต่างๆ ในสาขาท่องเที่ยว มีการทำการตลาดและสงเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวอาเซียนร่วมกับภาคเอกขนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุงเว็บไซต์ด้านการท่องเทียวอาเซียน ให้มีคุณภาพดีขึ้น
           
ด้านการร่วมมือกับประเทศที่มิใช้สมาชิกอาเซียนนั้น ในปัจจุบันมีความร่วมมือกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เพื่อเป้ฯการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศเหล่านั้นด้วย การท่องเที่ยวอาเซียน ได้ร่วมกันกำหนดแผนการรวมกลุ่มสาขาการท่องเที่ยของอาเซียนขึ้น โดยแผนการรวมกลุ่มสาขาท่องเที่ยวดังกล่าวจะมีส่วนำสำคัญต่อการเร่งรัดการเปิดเสรีการบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาครวมถึงมาตการต่างๆ ในการอำนวนความสะดวก การเดินทางของนักท่องเที่ย เช่น กระบวนการออกวีซ่าให้เป้นมาตรฐานเดียวกัน การยกเว้นวีซ่าให้คนชาติอาเซียน การเร่งรัดการจัดทำ อาเซียน ซิงเกิล วีซา และมาตรการการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม และมาตรการการสงสเริมการตลาดร่วมกันเพื่อประชาสัมพันะือาเว๊ยนในฐานะแหล่งท่องเที่ยวร่วมกัน ตลอดจนมีการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน โดยล่าสุดคือแผนระหว่างปี 2011-2015 เพื่อพัฒนาไปสู่การท่องเทียวที่ยั่งยืน
          แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเป้นผลจากการประชุมกลุ่มทำงานพิเศษด้านการบูรณาการการท่องเที่ยวอาเซียน ในปี 2009 ที่ต้องการพัฒนาพิมพ์เขียวในการกำหนดนโยบายและโครงการต่างๆ ขององค์กรท่องเที่ยวระดับชาติอาเซียน ทั้งในด้านการตลาด การัพฒนาผลิตภัฒฑ์ มาตรฐาน การพัฒนาบุคลากร การลงทุน และการสื่อสารระหว่างกันโดยมีการกำนดวัตถุประสงค์ ไว้ดังนี้
           - ทบทวนปฏิญญา ความตกลงต่างๆ ในการัดตั้งประชาคมอาเว๊ยนและการบรูณาการภาคการท่องเทียว อาทิ กรอบข้อตกลงด้านการต้าบริการอาเซียน
           - ปรึกษาหารือกับองค์กรพัฒนาเอกชนอาเซียน และประธานหน่วยทำงานต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน เพื่อหาข้อมูล แนวความคิด ข้อเสนอแนะในด้านวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ สำหรับการท่องเทียวอาเวียนภายในปี 2015
            - ประเมินผลการทำงานของ NTOs คณะทำงานต่างๆ ที่ควรดำเนินการเื่อกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายของการท่องเที่ยวอาเซียนภาในปี 2015
            - จัดเตรียมแผนการดำเนินงานสำหรับการท่องเที่ยวอาเซียน ดดยมีการระบุโครงการและกิจกรรม กรอบระยะเวลา และผุ้รับผิดชอบ
            โดยการดำเนินงานตามแผนฯ นั้นจะยึดหลัการสำคัญ 6 ประการคือ
             1.การพัฒนาการท่องเที่ยจะต้องเป็นการพัฒนาดดยมีการบูรณาการและมีรูปแบบ
             2. มีความยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ
             3. ได้รับความร่่วมมือจากผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงกว้าง
             4. มีการพัฒนาผลิตภัฒฑืการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
             5. มีการบิรการเป็นเลิส และ
             ุ6. ได้รับประสบการณ์ ที่โดดเด่นและการมีปฏิสัมพันธ์
         
การประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนเป็นการประชุมเพื่อหารือและกำหนดนโยบายด้นการท่องเทียวของอาเวียน โดยมีการประชุมปีละครั้ง การประชุมคร้งล่าสุดเป็นการประชุมครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2558 กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ดดยมี ฯพณฯ U Htay Aung รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการโรงแรมและท่องเที่ยว เป็นประธาน มีสาระสำคัญของการประชุมโดยสังเขป คือ
          - มีความคืบหน้าในการดำเนินการตาม อาเซียน โอเพ่นส์ สกายส์ อะกรีเม้นต์ เพื่อเป็นการสงเสริมการท่องเทียวการท่องเที่ยภายในอาเซียนซึ่งถือป็นที่มาหลักของการเจริญเตบโตในด้านการท่องเที่ยว
          - ความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน 201132015 และเห็นพ้องว่าสำหรับแผนฯ ฉบับต่อไป ระหว่าง 2016-2025 นั้น อาเซียนควรมุ่งเน้นในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ โดยการนำเสนอประเด็นการท่องเทียวที่จะได้รับประสบการณ์ที่มีเอกลักษณ์และมีความหลากหลายและยึดมั่นในหลักการแห่งความรับผิดชอบ และการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวที่ทั่วถึงและสมดุล
          - ในด้านบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ได้มีการับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำนักเลขาธิการท่องเที่ยว ได้มีการรับรองข้อเสนอที่จะจัดตั้งสำรักเลขาธิการระดับภูมิภาคขึ้นในกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นการอำนวย ความสะดวกและดำเนินการตามข้อตกลงยอมรับร่วม ในด้านผุ้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว โดยจะมีการรับรองผู้ประกอบวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวประมาณ 6,000 ราย..
       
 - มีความคืบหน้าในการัพมฯาระบบการขึ้นทะเบียผุ้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวอากวียน และะครงการอื่นๆ
         - ด้านการปรับปรุงคุณภาพ จะถือเป้นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียน ในฐานะแหล่งท่องเทียวร่วม นอกจากจะมีความคืบหน้าในการจัดทำมาตรฐานด้านการท่องเที่ยวอาเซียนแล้ว ยังมีความคิดริเริ่ม ที่จะพัฒนามาตรฐานการจัดประชุมไมซ์ อีกด้วย
         - มีการิเริ่มจัดทำแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยการท่องเที่ยวอาเซียน และมีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการหาข้อมูลในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
         - มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวอาเวียนในขช่องทางต่างๆ ทั้งเว็บไซต์ สื่งสังคมออนไลน์ และความร่วมมือกับภาคเอกชน
         - มีการพัฒนาผลิตภัฒฑ์ด้านการท่องเที่ยวอาเซียนที่เน้นด้านธรรมชาติ ดดยได้มีการพัฒนา แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อาเซียน และด้านวัฒนธรรมด้วย
         - มีการปรับปรุงการเชื่อมโยงทางอากาศในอาเซียนผ่าน อาเซียน โอเพ่น สกายส์ อะกรีเม้นต์ และมีการเจรจากับประทศคู่เจรจา ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลี
         - มีการจัดงาน อาเซียน ทัวลิส ฟอร์ลัม 2015 ณ กรุง เนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ภายใต้ชื่อ งาน "อาเซียน-ทัวลิสต์ ทูวาส เพส พลอสเพอริตี้
         - ในวาระเดียวกันยังมีการประชุมรัฐมนตรีด้านการท่องเที่ยวอาเซียนบวกสาม ครั้งที่ 14...www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3963&filename=index




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)