Thailand Tourism Industry

           คณะรัฐมนตรีม่มติเห็นชอบแผนพัฒนากรท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เมื่อวันที่ 15 ก.พ.
พ.ศ. 2554 โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เพื่อให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาภายใต้บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน และการกำกับดุแลของคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ...
           กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คาดหวังว่ายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 ฉบับนี้ จะได้รับการผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัตออย่างจริงจัง ดดยมุ่งเน้นกิจกรรมที่มีความจำเป็นเร่งด่วนต้องได้รับการแก้ไขหรือพัฒนาเพ่อวางรากฐานการพัฒนาในระยะถัดไป พร้อมทั้งให้ความสำคัญกับการปรับปรุงกลไกการขับเคลือนสู่การพัฒนาเพื่อให้ประเทศไทยเป้นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ ตั้งแต่ระดับนโยบายซึ่งมีคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติเป็นแกนหลัก ระดับกลุ่มจังหวัดหรือกลุมพื้นที่ คือ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจำเขตพัฒนาการท่องเที่ยว และระดับจังหวัด คือ ๕ระกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดืทั้งน้ ต้องอาเศัยความร่วมมือจากทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องและ ภาคส่วนต่างๆ รวมทั้งภาคธุรกิจเอกชนเพื่อระดมทรัพยากรและร่วมบูรณาการขับเคลื่อนให้บังเกิดผลสำรเ็จเป็นรูปธรรม
         
และ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาขอขอบคุณหน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งผุ้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สภาบันการศึกษา องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ องค์กรปกครองสวนทื้องถิ่น และ(ุ้แทนเครือข่ายชุมชนที่ได้ให้การสนับสนุนข้อมุลและมีสวนร่วมในการแสกดงความคิดเห็นเืพื่อประกอบการจัดทำยุธศาสตร์การท่องเที่ยวของประเทศได้สำเร็จเป็นอย่างดี
           สถานะการณ์และแนวโน้มของการท่องเที่ยวไทย ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการทั้งภายในประเทศและภายนอกกประเทศ อาทิ แนวโน้มและทิศทางการท่อเงเที่ยวในตลาดโลก ภาวะการแข่งขันความสเี่ยง พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และวิกฤตณ์ต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว ดดยเฉพาะสถานการณ์การท่องเที่ยวในปัจจุบันที่ยังคงอยู่บนความไม่แน่นอนทั้งจากภัยธรรมชาติ โรคระบาด ความไม่มั่นคงมีปัญหาเและอุปสรรคอีกทากมาย ซึ่ลัวนแต่เป็นปัจจัยสงผลกระทบทางลบต่อการท่องเที่ยวไทยยังคงมีปัญหาแลบะอุปสรรคอีกมากมาย ซึ่งล้วนแต่เป็นปัจจัยส่งผลกระทบทางบลต่อการท่องเที่ยวโลกและการท่องเที่ยวไทย แต่ในขณะ
เดียวกันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร  การเข้าถึงข้อมูลด้านการทอ่งเที่ยวความสะดวกสบายในการเกินทาง และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนไปตามกระแสของโลกาภิวัฒน์ทำให้แนวโน้มของจำนวนนักท่องเทีที่ยวทั่งโลยังคงเพ่ิมขึ้นอย่างตอเนื่องซึ่งจะเป็นปัจจัยที่เอื้อประดยชน์และสร้างโอากสในการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทย ดังนั้น การศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ เหล่านี้ จะชี้ให้เห็นถึงจุดแข็งจุดอื่น ศักยภาพและโอากสของการพัฒนาการท่องเที่ยวในระยะต่อไป และเพื่อใช้ประกอบการกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทยในระยะ 3 ปีถัดจากนี้ไป
          - สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก นักท่องเที่ยวในตลาดโลกยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากรายงานขององคึ์การกรท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ พบว่า ในปี 2556 มีนักท่องเที่ยวที่เดินทางระหว่างประเทศทั่่วโลกจำนวน พันล้าานคน เพ่ิมขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 5 โดยนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนจะขยายตัวมากที่สุดและงผลต่อการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวโลก และหากนับจากปี 2548 เป็นต้นมา ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีอัตราการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวสุงที่สุดถึงร้อยละ 6.2  ทั้งนี้ UNWTO คาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2030 จำนวนนัท่องเที่ยโลกจะเพ่ิมเป้ฯ 1,800 เป็นจ้นไป ตลาดเกิดใหา่หรือกลุมประเทสกำลังพัฒนาจะเป็นกลุ่มประเทศที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวขยายตัวในอัตราที่สูงกว่าตลาดประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราการขยายตัวสุงที่สุด
         
- ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกมีแนวโน้มเติบโตสูงข้นอย่างต่อเนื่อง การท่องเที่ยวในภุมิภาคเอเชียตะวันออเและแปซิฟิกจะมบทบาทสำคัญต่อากรท่องเที่ยวโลเพ่ิมขึ้น จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลกในปี ค.ศ. 1995 พบว่าเกือบ 2 น 3 ของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วดลก หรือร้อยละ 59.8 ท่องเที่ยวในภูมิยุโรป รองลงมาได้แก่ภูมิภาคอเมิรกา ร้อยละ 19.3 เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก ร้อยละ 14.4 แอฟริกา ร้อยละ 3.6 ตะวันอออกลาง ร้อยละ 2.2 และเอเชียใต้ ร้อยละ 0.7 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงปี ค.ศ. 2020 UNWTO คาดว่า ยุโรปยังคงเป้ฯภุมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศศูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลง เหลือร้อยละ 45.9 ขณะที่ภูมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่งประเทศสูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลงเหลือร้อบละ 25.4 ภูมิภาคอเมริกาเป็นอันดับ 3 และมีสัดส่วนลดลงเหลือร้อยละ 18.1 นอกจากนี้จากสภานการณ์ปัจจุบันที่หลายประเทศในภูมิภาคยุโรปประสบปัญหาเศรษฐกิจ ขระที่เศราฐกิจจีนและหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นภูมิภาคที่มีบทบาทหรืออิทธิพลต่อการขชับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก วึ่งปัจจัยด้านเศราฐกิจดังกล่าวจะเป็นตัวแปรสำคัญที่กระตุ้นให้การท่องเทียวในภูมิภาคนี้มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว
          - กลุ่มประเทศ BRIC จะมีบทบาทสำคัญต่อการเติบโตของการทองเที่ยวโลก กลุ่มประเทศ BRIC ซึ่งประกอบด้วยประเทศบราซิล รัสเซียน อินเดีย และจีน จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวและรยจ่ายเพื่อากรท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วตามภาวะการเติบโตของเศราฐกิจภายในประเทศ โดยในปี 2013 นักท่องเที่ยวจากจีน รัสเซียน และบราซิล มีรายจ่ายดานการทองเที่ยวสูชวสุดในกลุ่ม 10 ดันดับแรกของโลก โดยเฉพาะจีนที่มีรายจ่ายสูงสุดเป้นอันดับที่ 1 มูลค่า 129 พันล้านเรหียญสหรัฐฯ และยังมีอัตราการขยายตัวสุงสุดร้อยละ 26 รองลงมา คือ รัศเวียนอันดับที่ 4 และบราซิลอันดับ 10 อย่างไรก็ตาม ด้วยสถานการณ์เศราฐกจิปัจจุบันได้ส่งผลกระทบต่อการเดินางของนักท่องเที่ยวในประเทศกลุ่มนี้เช่นกั มีเพียงเศราฐกิจจีนเท่านั้นที่มีแนวโน้ขยายตัวขณะที่เศราฐกิจในประทเศอื่นมีแนวโนม้มชะลอตัว เช่น เศราฐกิจรัศเซียนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตยูเครนและการลดลงของราคาน้ำมันในตลาดดลก รวมถึงการลดลงของค่าเงินรูเบิล ซึ่งส่งผลชัดเจนต่อการเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ ขณะที่เศราฐกิจบราซิลคาดว่าจะหดตัวต่อเนื่อง 2 ปีติดต่อกัน จากปัญหาเงินเฟ้อ รายได้จากการส่งออกที่ลดลง และผลกระทบจากภัยแล้ง
           - สถานการณ์ท่องเที่ยวไทย
            1. การท่องเที่ยวไทยมีกาขยายตัวมาอย่างต่อเนืองทั้งจำนวนและรายไ้จากการท่องเที่ยวในระยะ 5 ปี ที่ผ่านมา จำนวนนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่งต่อเนื่องจรชาก 14.0 ล้านคน ในปี 2552 เป็น 24.8 ล้านคน ในปี 2557 โดยเพ่ิมสุงสุดในปี 2556 มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากถึง 26.5 ล้านคน และสูงสุดเป็นลำดับที่ 7 ของโลกแต่ลดลงใปี 2557 เนื่องจากประสบกับวิกฤตทางการเมืองและวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศยุโรป โดยตลาดหลักยังคงเป้น 10 ตลาดที่มีส่วนแบ่งการตลาดรวมกันมากว่าร้อยละ 60 ได้แก่ จีน อินเดีย สหราชอาณาจักร มาเลเซย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เอยรมนี เกาหลีใต้ แลฝรั่งเศส สำหรับในปี 2558 คาดการ์ว่าจะมีจำนวนนักท่องเที่ยว กว่า 30 ล้านคน ส่วนรายไ้และค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตามจำนวนนักท่องเที่ยว ดยในปี 2556 มีรายได้ 1.20 ฃ้านล้านบาท สูงสุดเป็นอันดับ 10 ของโฃก และลดลงเหลือ 1.17 ล้าล้านบาทในปี 2557 โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 26.35 ต่อปี และคาดว่าในปี 2558 จะมีรายได้ 1.40 ล้านล้านบาท ซึ่งสอดตล้องกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครังของนักท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากค่าใช้จ่าย 36.061 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2552 เ่พิ่มเป็น 47,272 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2557 อย่างไรก็ดี ระยะเวลาพำนักของนักท่องเที่ยวมีอัตราการขยายตัวค่อนข้างน้อย เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของนักท่องเที่ยวในระยะใกล้ โดยในปี 2549 นักท่องเที่ยวมีจำนวนวันพักเฉลี่ย 8.62 วัน/ครั้งเพ่ิมเป็น 9.85 วัน/ครั้ง ในปี 2556 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 0.1 วัน ซึ่งนับเป็นข้อจำกัดประการหนึ่งในการเพ่ิมรายได้ให้กับอุตาหกรรมการท่องเที่ยวไทย
     
   2. นักท่องเที่ยวจากตลาดระยะใกล้ มีแนวโน้มเพ่ิมจำนวนขึ้อย่งรวดเร็วจนกลายเป้นัท่องเที่ยหลักของไทยในปี  2549 นักท่องเที่ยจากภูมิ๓าคเอเชียะวันอก(รวมอาเซียน) มีสัดสวนร้อยละ 57.46 ของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ยุโรปร้อยละ 24.03 ดังนั้น จะเห้นได้่าจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมากว่าครึ่งหนึ่งเป้นักท่องเที่ยวจกตลาดระยะใกล้ที่มีระยะเวลาเดินทางไม่นานและมีแนวโน้มขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น โดยในปี 2556 นักท่องเที่ยวจากภุมิภาคเอเชียตวะันออกมีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นเป้นร้อยละ 60.40 ซึ่งเป็นผลมาจากการเพ่ิมจำนวนขึ้นอย่งรวดเร็วของนักท่องเที่ยจากประทเศจีนและมาเลเซียน รวมทั้งประเทศเพื่อบ้านในแถบอาเซียน ในขณะที่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปลดลงเหลือร้อยละ 23.19 ของจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ วึ่งมีสาเหหตุสำคัญมาจากการหดตัวของเศรษกิจในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป
       3. ในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณืว่าประเทไทยจะมีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 67 ล้านคน สำหรับแนวโน้มจำนวนนักท่องเที่ยวระห่างประเทศของไทยในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณ์ว่าจะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากข้อมูบลปัจจุบันในปี 2557 มีจำนวยนักท่องเที่ยว 24.7 ล้าคน จะเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น 45 ล้าคน ในปี 2563 และเพิ่มเป็น 67 ล้าคน ในปี 2573 ทั้งนี้ การคาดกาณณ์ดังกล่วเป็นไปตาาแนวโน้มที่ควรจะเป้นและภายใต้สมมติฐานวาสถานการ์การท่องเที่ยวไทยอยู่ในภาวะปกติ ไม่มีเหตุการ์หรือวิกฤติการณ์ใดๆ ที่ส่งผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่ออุตสาหกรรมการทอ่งเที่ยวไทยในช่วงเวลานับจากนี้เป็นต้นไป โดยกลุ่มตลาดหลักยังจะเป้นแกลุ่มเดิม แต่นักท่องเที่ยวจีนจะมีสั่ดส่วนเพ่ิมมาขึ้นอย่างไรก็ตาม ดดยสภาพข้อเท็จจริงแล้วสถานการณ์เศราฐกิจ ภัยธรรมชาติขนาดใหญ่ โรคระบาดร้ายแรงและคามขัดแย้งทางการเมืองทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศยังคงเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งผลกระทบต่อแนวโน้จำนวนนักท่องเที่ยวดังกล่าว...
           - บางส่วนจาก "ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2558-2560" กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กรกฎาคม พ.ศ. 2558.
           แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568 (จัดทำโดยที่ปรึกษาฟิลิปปินส์..โดยสังเขป)
            - แผนยุทธศาสตร์การทอ่งเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2559-2568
            วิสัยทัศน์ ภายในปี พ.ศ. 2568 อาเซียนจะเป้นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ นำเสนอประสบการณ์การท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์และมีความหลากหลาย พัฒนาาการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบ ยั่งยืน เท่าเที่ยม ครอบคลุมในทุกมิติยอางสมดุล เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และชีวิตความเป้นอยุ่ที่ดีขึ้นของประชาชนอาเซียน
            ทิศทาง ยุทธศาสตร์ ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแหลงท่องเที่ยวปลายทางเดียว และ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวของอาเซียนอย่างยั่งยืนและเท่าเทียม
         
  กลยุทธ์
                       - ตลาดและการประชาสัมพันธ์
                       - สินค้าด้านการท่องเที่ยว
                       - การลงทุนในภาคการท่องเที่ยว
                       - ขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคล
                       - มาตรฐานการท่องเที่ยวสำหรับสิ่งอำนวยความสะดวก การบริการ และแหล่งท่องเที่ยว
                       - การชื่อมโยงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
                       - การอำนวยความสะดวกในการเดินทาง
                       - การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาครัฐ เอกชน
                       - การรักษาความปลอดภัย กรอนุรักษ์และจัดการมรดกทรัพยากร
                       - การรักษาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
           ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแปล่งท่องเที่ยวปลายทางเดียว โดย ยกระดับการทำตลาดและประชาสัมพันธ์, พัฒนาสินค้าด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลาย, กระตุ้นการลงทุนในภาคการท่องเที่ยว, พัฒนาศักยภาพ ของทรัพยากรบุคคล, ดำเนินการตามมาตรฐานการท่องเที่ยวอาเซียน, เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน, ความสะดวกในการเดินทางภายในภูมิภาค
           ทิศทางยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยว ของอาเวียน อย่างยั่งยืนและเท่าเทียม โดย สงเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคครัฐและภาคเอกชนในห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยว, พัฒนามากตรการักษาความปลดภัยในแหล่งท่องเที่ยว การอนุรักษณ์และจัดการมรดกทรัพยากร, ยกระดับมาตรการักษาสิ่งแวดล้อมและการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
                   - บางส่่วนจาก แผนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568" พาวิณี สุนาลัย, วิทยาลัยนวตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)