Tourism and ASEAN Connect

              การเข้าสู่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อย่างเต็มตัวนั่นหมายความว่า นับจากอาเซียนมีความร่วม
มือทางเศราฐกิจในด้านต่างๆ ที่ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะความเชื่อมโยงภูมิภาคอาเซียน หรือที่เรียกว่า อาเซียนคอนเนกต์ ที่ครอบคลุม การเชื่อมโยง 3 ด้าน คือ ความเชื่อมโยงทางกายภาพ ครอบคลุมเรื่องของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงโครงขายด้านการขนส่งเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยง ของสภาบัน ครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีและการอำนวนความสะดวกทางการค้า และการลงทุนในอาเซียน รวมถึงการดำเนินการตามความตกลงด้านการขนส่งรูปแบบต่างๆ การปรับพิธีการและมาตรฐานต่างๆ การลดขั้นตอนในกระบวนการข้ามพรมแดนใหสะดวกและว่ายขึ้น และการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรเพื่อรองรับการดำเนินการดังกล่าว สุดท้ายคือ ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน หมายถึง การเชื่อมโยงถึงกันด้านจิตใจ ลดความขัดแย้งทางสังคม วฒนธรรม และประเพณี ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพ่ิมขึ้น อย่างไรก็ตา อาเวียนได้จัดลำดับความสำคัญของการดำเนินการด้านการพัฒนาความเชื่อมโยงทางกายภาพทางด้านการขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก อังนั้น การกระจาย นักท่องเที่ยวภายในภูมิภาคอาเวียนจึงเป้นผลจากการเชื่อมโนงทางด้านกายภาพ การพัฒนาเส้นทางคมนาคม ดดยอาเว๊ยนได้วางกลยุทธ์ไว้ 5 กลยุทธ์เน้นการเดินเต้มเครือข่ายความเชื่อมโยงระหว่างกันให้สมบูรณืมากยิ่งขึ้น ได้แก่
              การพัฒนาเครือข่ายเส้นทางหลวงอาเซียน โดยการยกระดับภนนที่ยังไม่ได้มาตรฐานระดับ 1 จัดทำป้ายบอทาง สร้างสะพานเชื่อมต่อระหวา่งประเทศ รวมทั้งขยายเส้นทางไปสู่จีนและอินเดียซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรและนักท่องเที่ยวที่มีัศักยาพสูง
             การพัฒนาโครงการเชื่อมโงเส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์ที่เป้ฯหัวใจสำคัญของการกระจายนักท่องเที่ยวจากจีนลงมาในภูมิภาคโดยเฉพาะการสร้างเส้นทางรถไฟสองสายคือ สายตะวันออก ผ่านไทย กัมพูชา และเวียดนาม และมีทางย่อยแยดเชื่อมระหว่างสปป.ลาว และเวียดนาม สายที่สองคือ สายตะวันตก ผ่านไทยและเมียนมา แต่จะให้ความสำคัญกับสายตะวันออก ที่เประเทศไทยจุดที่อาเซียนต้องการให้เพ่ิมเติมคือ ระหว่างอรัญประเทศและคลองลึก ระยะทาง 6 กิโลเมตร ภายในปี 2557 และช่วงผ่านด่านเจดีย์สามองค์ถึงเมียนมา ระยะทาง 153 กิโลเมตริภายในปี 2563
           
การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงลำน้ำในปรเทศอย่างเป็นองค์รวมและมีประสิทธิภาพ มีการกำนหเส้นทางการเดินเรือท่องเที่ยวในลุ่มน้ำโขงโดยเร่ิมต้นจากจีนล่องมาจนงเชียงแสนผ่านสิบสองปันนา
            การเสริมสร้างระบบการเดินเรือทะเลให้มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้อย่างเป็นองค์รวม  ่ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงเส้นทางการเดินเรือทะเลระหว่างประเทศในอาเวียน โดยการจัดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเซียน โดยการจดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเว๊ยน การส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยเรือโดยสารขนาดใหย่ โดยการปรบปรุงสมรรถนะท่าเรือจำนวน 47 ท่า จากผลการศึกาาของอาเซียนในปี 2558 การจัดทำเส้นทางการเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงแผ่นดินใหญและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเชื่อมโยงอนุภูมิภาคต่างๆ ที่มีการริเริ่มขึ้น อาทิ BIMP-EAGA และ IMT-GT ตลอดจนเส้นทางระหว่างประเทศ
          การจัดระบบการขนส่วใรูปแบบที่เชื่อมต่อเพื่อให้ปาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ซึ่งจะต้องเร่งดำเนินการ ให้สำเร็จโดยการสร้างจุดเชื่อมที่ยังขาดหายไปในเมียนมา และัพัฒนาท่าเที่ยบเรือที่ยางกุ้ง และเมืองดานัง การส่งเสริม การสร้างสะพานแม่น้ำโขงในกัมพูชา การสร้างท่าเรือทะเลน้ำลึก ในเมียนมา การสร้างทางหลวงและศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างกาญจนบุรีและ ดาไว โดยการพัฒนารูปแบบการเชื่่อมดยงดังกล่าวส่งผลให้ไทยมีศักยภาพในการเป็น ฮับ ในการกระจายสินค้าและการท่องเทียว
         นอกจากนั้น อาเซียน ยังสร้างความเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งกับ "เส้นทางสายไหมไใา่ภายใต้ศตวรรษที่ 12 ของประเทศจีน โดยการพัฒนสเส้นทงคมนาคม 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางสายไหมทางบก มีลักษณะคล้ายแถบเส้นเข็มขัดที่เชื่อมโยงจากฝั่งตะวันตกของจีนเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเส้นทางสายไหมเดิม ผ่านเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก เอเลียใต้ อาเซียน ตะวันออกกลาง และยุโรป และ สายไหมทางทะเลที่เชื่อมโยงจากท่าเรือทางตอนใต้ของจีน ผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง แอฟริกาตะวันออก และไปสิ้นสุดที่ยุโรป (ประเทศเบลเยียม) ซึ่งเส้นทางสายไหมทางทะเลถือเป้นยุทธศาสตร์สำคัญในการขยายผลประโยชน์ระหว่างจีนกับประเทศต่งๆ ครอบคลุมหลายภูมิภาค โดยเฉพาะอาเซียน และอาจกลายเป้นเส้นทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการต้าและการลงทุนและการท่องเที่ยวมากที่สุดอีกเส้นางหนึ่งในอนาคตถ้าการพัฒนาระบบการคุมนาคมขนส่งของอาเซียนเสร็จสิ้นลงประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ในการเป็นศุนย์กลางความเชื่อมโยงที่เห้ฯชัดเจน คือ ทางบก (ทางถนนและทางรถไฟ)และทางอากาศจากข้อได้เปรียบลักษณะทางภุมิศาสตร์ที่มีแหล่งที่ตั้งใจกลางอาเซียน รวมท้งความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานในระดับหนึ่ง ตลอดจนการดำเนินงานองไทยที่รองรับโดยการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาประเทศเพื่อให้เชื่อมโยงกบอาเซียนที่มีการสร้างเส้นทางเชื่อมโยงหรือถนนเศรษบกิจ รวมถึงการเชื่อมโยงทางน้ำและอากาศ พร้อมกับกำหนดเขตเศราฐกิจพิเศษ เพื่อขยายโอากสให้ไทยได้ใช้ประโยชน์จากการต้า การลงทุน และการท่องเที่ยวตามแนวเส้นทางเหล่านี้มากขึ้น
           
การอำนวยความสะดวกในการขนส่ว ที่ให้ความสำคัญกับการขนส่งผุ้โดยสารข้ามชายแดนและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบซึ่งปัจุบัประเทศไทยมีด่านชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อบ้านท้้งหมด 47 แห่ง มี 13 แห่งที่มีความเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียนที่สามารยกระดับเป็นแหล่งหระจายนักท่องเที่ยว และที่สามารถรองรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดนมีเพียง 9 ด่าน ได้แก่ ด่านเชียงของ และด่านแม่สาย จ.เชียงราย  ด่านแม่สอด จ.ตาก ด่านหนองคายจ.หนองคาย ด่านมุกดาหาร จ.มุกดาหาร ด่านนครพนม จ.นครพนม ด่านอรัญประเทศ จ.สระแก้ว ด่านสะเดา จ.สงขลา และด่าปาดังเบซาร์ จ.สงขลา และยังเป็นเส้นทางสำหรับนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างกันทั้งรถยนต์ส่วนบุคคลและรถบัสสำหรับท่องเที่ยว กระทรวงคมนาคมจึงได้จัดทำความตกลงการขนส่งคนดดยสารระวห่างประเทศ การพัฒนาเส้นทางใหม่ๆ ในการขนส่ง เสริมสร้างขีดความสามารถของผุ้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ตลอดจนปรับปรุงกฎระเบียบ และกฎหมายเพิ่อเพิ่มประสิทธิภาพภาพการขนส่งข้ามพรมแดน การพัฒนาศุนย์ปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของและที่เชียงราย เป็นต้น
            เพื่อนบ้านในอาเซียนรองรับกับการพัฒนาความเชื่อมโยงทางคมนาคมขนส่งของอาเซ๊ยน วึ่งมีทั้งการสร้างพื้นที่เศณาฐกิจใหม่ที่เป้นบริเวณชายแดน การสนับสนุนโครงสร้งพื้นฐานในรูปแบบต่างๆ โดยในปี 2558 ประเทศไทยไ้ด้ประกาศเขตเศราฐกิจพิเศษ รวม 10 จังหวัด โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ประกาศในระยะแรก 5 จังหวัด ได้แก่ จ.ตาก ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเมืองย่างกุ้งของเมียนมาและเชื่อมต่อไปยังอินเดียและจีนตอนใต้ จ.มุกดาหาร ที่สามารถเชื่อมโยงประเทศ สปป. ลาวและเวียดนามผ่านเส้นทาง R9 เข้าสูท่าเรือดานังและเชื่อมต่ไปยังประเทศจีนตอนใต้และประเทศในแถบตะวันออกไกล จ.สระแก้ว ที่สามารถเชื่อมโยงกับด่านศุลกากรแห่งใหม่ทางบ้านสติงบท ประเทศกัมพูชา จ.ตราด ที่สามารถเชื่อมโยงกับท่าเรือสีหนุวิลล์ เกาะกง ของ กัมพูชา และจ.สงขลา ที่สามารถเชื่อมโยงกับทาเรือปีนังและท่าเรือกลางของมาเลเซีย รวมทั้งถนนและระบบรางเชื่อมโยง และระยที่ 2 จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่
          - หนองคาย ที่มีจุดเชื่อมโยงกับนครเวียงจันทร์ประเทศสปป.ลาว
          - นราธิวาส เชื่อมโยงกับประเทสมาเลเวียและสามารถเชื่อมต่อไปยังสิงคโปร์ได้
          - เชียงราย สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเมียมาและประเทศสปป.ลาว
          - นครพนม ที่เชื่อโยงกับประเทศสปป.ลาวและเชื่อมต่อไปยังประเทเวียดนามตอนเหนือ และจีนตอนใต้
          - กาญจนบุรี เชื่อมต่อกับจังหวัดทวาย ประเทศเมียนมา
          ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศต่างๆ ในอาเวียนต่างให้ความสนใจ และใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลือนและสร้างความเติบโตทางเศณาฐกิจของประเทศ โดยตลอด 5 ปีที่ผ่านมามีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนภูมิภาคนี้เพ่ิมขึ้นจาก 81 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2554 เป็น 105 ล้าคน ในปี 2557 หรือขายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.62 ต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียน หรือการท่องเที่ยวระหว่างประเทศอาเวียนด้วยกันเองประมาณร้อยละ 46 แสดงให้เห็นว่า โดยภาพรวมนักท่องเที่ยวของประเทศในกลุ่มอาเวียนส่วนใหย่มาจากประเทศนอกอาเซียน ยกเว้นประเทศมาเลซียที่นักท่องเที่ยวหลักมาจากประทศในกลุ่มอาเซียนเนื่องจากประเทศมาเลเซียได้ประดยชน์จากการมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสิงคโปร์ รวมถึงความัมพันะืทางเสาสฯาและเครือญาติจากนักท่องเที่ยวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเทียวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเที่ยวกลุ่มอาเวียนสูงเป็นอัดับที่ 2 แต่น้อยกว่ามาเลเซียกว่า 3 เท่า ตามด้วยประเทศสิงโปร์ อินโดนีเซีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ กัมพูชา สปป.ลาว บรูไน และเมียนมา ตามลำดับ
         
 ภาพรวมของนักท่องเที่ยวในอาเซียนที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียนเดินทางท่องเทีียวระหว่างกนเพ่ิมขึ้นจาก 38 ล้านคนในปี 2554 เป็น 49 ล้านคนในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.12 ต่อปีสำหรับนักท่องเที่ยวนอกอาเซียน 10 อันดับยอดนิยมที่นิยมเดินทางมาท่องเที่ยวในอาเซียน มีสัดส่วนรวมกันถึงร้อยละ 91.6 ของนักท่องเที่ยวนอกอาเซียนทั้งหมด ได้แก่ นัดท่องเที่ยวจีน ยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ป่นุ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริการ อินเดีย รัสเซีย และไต้หวัน โดยนักท่องเที่ยวจากยุโปรมีแนวโน้มขยายตัวสุงกว่านักท่องเที่ยวจากประเทศือ่นๆ นักท่องเที่ยวจากนอกภูมิภาคอาเซียนมีการขยายตัวในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 11.08 โดยเพิ่มขึ้นจาก 43 ล้านคนในปี 2554 เป็น 56 ล้านคนในปี 2557
           จากการเติบโตดังกล่าวแสดงให้เก็นถึงศักยภาพทางการท่องเที่ยวของอาเว๊ยนและเป็นไปตามแนวโน้มที่ UNWTO กล่าวไว้ว่า ภุมิภาคอาเซียนจะเป็นจุดหมายหลักของการเดินทางท่องเทียวและมีอัตราการเติบโตทางการท่องเทียวสูง...

                 - บางส่วนจาก "รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว", สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, ฉบับที่ 2 ตุลาคม-ธันวาคม 2558.
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)