วันอังคารที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAM Tourism Strategic Plan

           
 แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554-2558 แผนฉบับนี้เกิดจากความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างองค์กรอ้านการท่องเที่ยวของประเทศสามชิกอาเซียน กับโครงการ ASEAN Competitiveness Enhancement (The ACE Project) ซึ่ง ได้รับการสนับสนนุนด้านวลประมาณจากองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างปะเทศของสหรัฐอเมริกา โดยมอบหมายให้คณะผุ้วิจัยจากวิทยาลัยวัตถกรรม มหาวิทยาลัยธรรมาสตร์เป้นที่ปรึกษาในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์นี้ ซึ่งดครงการดำเนินงานในช่วงระหว่างปี 2553 ร่วมกับ ASEAN Secretariat และองค์กรด้านการท่องเที่ยวของประเทศอาเว๊ยน
            แผนดังกล่าวประกอบด้วย การวิเคราะห์สถานการณ์ทั่วไปด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน วิสัยทัศน์และโครงกสร้งอคงค์กรด้านการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน การดำเนินงานและรายละเอียดกิจกรรมตามแนวทางยุทธศาสตร์สำตัญ 3 ด้าน ได้แก่
            - ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการ การตลาดและการลงทุน
            - ด้านการพัฒนาคุณภาบุคลากร การบิรการและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว
            - ด้านการส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมโยงด้านการเดินทงท่องเที่ยวในภูมิภาค
           แผนยุทธศาสตร์การตลาดด้านการท่งเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2555-2558 แผนฉบับนี้จัดทำโดยคณะผุ้วิจัยจากวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีเป้าหมายกลักคือการเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาเยือนมากกว่าหนึ่งประเทศในภูมิภาค เพื่อส่งเสริมการสร้างอาเซียนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกแะลเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการ่องเที่ยว ดดยคำนึงถึงความสามารถด้านการตลาดและทรัพยากรด้านการทอ่งเที่ยวของแต่ละประเทศสมิกเป็นสำคัญองค์ประกอบหลักอขงแผนประกอบด้วย
             - การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจุจบันและแนวโน้มด้านการตลาดของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภูมิภาค
             - การกำหนดกลุ่มตลาดลูกค้าเป้าหมายหลักของอาเซียน
             - การพัฒนาด้านสินค้าและบริากรด้านการท่องเที่ยว โดยให้สอดคล้องกับ 4 กลุ่สินค้าหลักที่กำหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน ได้แก่ (1) culture/heritage (2) nature (3) community-based experiences และ (4) cruise/river-based tourism
             - การสร้้าง ASEAN Brand
             - การกำหนดช่องทางการกระจายกลุ่มลูกค้า
             - การจัดตั้งคณะทำงานด้านการตลาดและการติดต่อสื่อสารระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อรับผิดชอบการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
             - รายละเอียดการดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ
             กรอบความตกลงอาเซียนด้านบริการ ในเดือนธันวาคม 2538 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (ในขณะนั้นมีทั้งหมด 7 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซียน มเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไนและเวียนดนาม) ได้ลงนามในกรอบความตกลงอาเซียนด้านการบิริการ
              เป้าหมายหลักของ AFAS คือการเสริมสร้างความร่วมมือด้นการบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันของผุ้ให้บริการ เพ่ิมความสามารถในการผลิตและกระจายการบิรการไปยังผุ้บริโภคทั้งภายในและภายนอกอาเซียน รวมทั้งเพื่อขจัดข้อบังคับทางการต้าในภาคบริการระวห่างประเทศสมาชิก และเพื่อปิดเสรรีการค้าบริากรโดยขยายทั้งในเชิงลึกและเชิงกว้างของการเปิดเสรีของผุ้ให้บริการ ข้อตกลงดังกล่าวยังกำหนดแนวทางการดำเนินงานสำหีับประเทศสมาชิกในการปรับปรุงการเข้าสู่ตลาด และการเพิ่มความเท่าเที่ยมกันของผุ้ให้บิรการ โดยระเบียบข้อบังคับทั้งหมดของ AFAS จะมีความสดอคล้องกับระเบียบข้อบับคับของ GATS
         
 ภายใต้กรอบของ AFAS อาเซียนได้มีการเจรจาต่อรองการต้าบริการระวห่างประเทศสมาชิกจำนวน 5 รอบ ส่งผลให้เกิดการลงนามในข้อผุกพันเปิดตลาดการต้าบริการทั้งหมด 7 ชุด ข้อผุกพันฯ เหล่านี้ครอบคลุมการเปิตลาดเสรีการบริการหลายประเภท ได้แก่ สาขาบริการะุรกิจ บริการด้านวิชาชีพ การก่อสร้าง การจัดจำหน่าย การศึกษา บริการด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ การขนส่งทางน้ำ การโทรคมนาคม และการท่องเที่ยว
             ล่าสุดอาเซียนได้มีการจัดทำข้อผูกพันเปิดตลาดการต้าบิรการชุดที่ 8 โดยในส่วนของประเทศไทยมีกรมแจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักดำเนินการจัดทำตารางข้อผุกพันฯ ชุดที่ 8 ซึ่งมีกำหนดขำเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาพในปี พ.ศ. 2555
            สาระสำคัญของข้อผูกพันฯ ชุดที่ 8 ที่แตกต่างจากข้อผุกพันฯ ชุดก่อน ได้แก่ การมีระดับากรเปิดเสรีเพ่ิมขึ้น โดยประเทศสมาชิก จะต้องอนุญาตหใหนักลงทุนหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเวียน สามารถเข้ามามีส่ัดส่วนการถือหุ้นในธุรกิจบริการในประเทศได้ร้อยละ 70 ในสาขาเร่งรัด ได้แก่เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สุขภาพ ท่องเที่ยว และการขนสงทางอากาศ รวมถึงสาขา
โลจิสติกส์ และไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 หรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งในสาขาบริากรอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก 4 สาขาข้างต้น พร้อมกับจะต้องยกเลิกขอ้จำกัดการเข้าสู่ตลาดอื่นๆ ทั้งหมดอีกด้วย
           ข้อตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว ในการประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ยวอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2552 รัฐมนตรีท่องเที่ยวอาเซียนลงนามในข้อตกลงอาเซียนด้าบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว ซึ่งมีเป้าหมายเืพ่อส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานด้านลบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในอาเว๊ยน 9 ประเทศ โดยปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่ได้ลงนาในข้อตกลงนี้ เน่อจากติดเงื่อนไขต้องผ่านการพิจารณาของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญของประเทศ
           เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 ประเทศไทย โดยนายชุมพล ศิลปอาชา รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยและวกีฬา ได้ลงนามในข้อตกลงดังกล่าว ทำให้ปัจจุบันการเคลื่อนย้ายบคุลากรวิชาชีพท่องเที่ยวครอบคลุมทุกประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งผลให้แต่ละประเทศต้องดำเนินการจัดต้งคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายใสใน 180 วัน
          ตามแผยดำเนินงานที่วางไว้ อาเวียนจะจัดทำ "มาตรฐานสมรรถนะขึ้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน" ให้แล้วเสร็จาภยนปพี พงศ. 2558 และสามารถนำไปใช้ได้ในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ปรเทศ โดย ACCSTP จะระบุถึงสมรรถนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในสายงานสาขาตางๆ โดยบุคลากรที่ได้รับประกาสนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวใสในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วยงานที่รับผิดชอบของประเทศใดรประเทศหนึ่ง จะสามารถทำงานในประเทศสมาชิกาอาเซียนอื่นๆ ได้ โดยสิทธิการทำงานจะยังอยู่ภมยใต้กฎหมายมและข้อบงคับของประเทศที่บุคลลผุ้นั้นถูกจ้างงาน ดังนั้นประกาศนียลัติรดังกล่าวจึงถือเป็นเครือรับรองสคำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการสมัครงานด้านกาท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเวียน
           กาจัดทำมาตรฐานสมรรถนะ ฯ นี มุ่งเน้นสำหรับหลุ่มธุรกิจสำคัญ 2 กลุ่ม ได้แำก่ หลุ่มธุรกิจโรงแรม และกลุ่มธุรกิจบริการด้านการท่องเที่ยว โดยจจะครอบคลุมทั้งหมด 32 ตำแหน่งงาน ใน 6 สาขา
           ข้อตกลง FTA ด้านการท่องเที่ยว อุตสาหกรรมท่องเที่ยวถือเป็นสาขาหนึ่งของการต้าบริการ ซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อเศรษบกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่งที่มาของเงินตราต่างประเทศและการจ้างงาน จากรายงานขององ์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนเมณายน 2554 สรุปว่าในปี 2553 จำนวนักท่องเที่ยวทั่วโลกมีถึง 940 ล้าคน ขณะที่ภูมิภาคอาเวียนมีจำนวยนใชนักท่องเที่ยวเดินทางมาเยือนในปี 2553 ถึง 73 ล้าคน
           ด้วยเล็งเห็นถึงความสำคัญของอุตสหกรรมการบิรการโดยเฉพาะสาขาการท่องเที่ยว หลายประเทศทั้งโลกจึงได้มีการริเร่ิมความร่วมมือ และพยายามผลักดันให้มีการสร้างกฎเกณฑ์กติการสำหรัีบการต้าบริการระหว่างประเทศขึ้น โดยความร่วมมือที่สำัญประการหนึ่งคือการผลักดันให้มีการเปิเสรการต้าบริการทัี่วโลกซึ่งความพยายามดังกล่าวได้รัการสนับสนุนและผลักดันจาาหลายองค์กรระวห่งประเทศ ทั้งองค์กรในระดับพนุภาคี และองค์กรระดับภูมิภาค รวมทัังยังมีความตกลงที่ทำขึ้นระหว่งคู่ประเทศสัญญา หรือความตกลงระดับทวิภาคี เช่น ความตกลงเขตการค้าเสรีทวิภาคีระหว่างปรเทศไทยกับประเทศออสเตรเลีย และความตกลงหุ้นส่วนทางเศาฐกิจระวห่างประเทศญี่ปุ่นกับประเทศไทย เป็นต้น
         
 คือการเจรจาเืพ่ยกเลิกข้อกีดขวาง หรืออุปสรรคที่มีต่อการค้าลริการในทุกรูปแบบของการต้าบริการ ระหว่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อช่ยวยสร้างเสถียรภาพและความโปร่งใสทางการ้าระว่างประเทศ รวมทั้งบรรยากาศความน่าลทุน ซึงจะเป็นประยชน์อย่างยิ่งต่อากรพัฒนาประเทศ การเปิดเสรียังขช่วยเพ่ิมโอกาศ ทางธุรกิจในการส่งออกสินค้าและบิรการไปยังประเทศอื่ๆน เพ่ิมโอากาสในการเรียนรู้ ช่วยสร้างงานให้กับคนในประเทศ กระตุ้นการแข่งขันในตลาด ทำให้สินค้าและบริการมีคุณภาพดีขึ้นแต่ราคาถุกลง ซึ่งส่งผลดีต่อผุ้บิรกโภค
          อย่างไรก็ตา การเปิดเสรีการต้าบริากรอาจส่งผลกระทบต่อผุ้บิรโภค ผุ้ประกอบการและาภครัฐโดยเฉพาะถ้าขาดการวางแผนรองรับและการจัดการทีดี ผลกระทบสำคัญ ได้แก่ ผุ้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางปละขนาดย่อม หรือ SMEs อาจเสียงต่อการปิดกิจการเนื่องจากไม่สามารถแข่งขันกับบริษัทต่างชาิตได้ ซึ่งขึ้นอยุ่กับปััจัยสำคัญอื่นๆ ด้วย เช่น คุณภาพและศักยภาพขององค์กรภาครัฐ ขึดความสามารถในการแข่งขันของผุ้ประกอบการ
          ดังนั้น ในการเพ่ิมประโยชน์และลดผลเสียที่อสจตามมา การเปิดเสรีภาคบริการทุกประเภทความต้องดำเนินการตามขึ้นตอนอย่างรัดกุม รมทั้งแต่ละประเทศควรต้องมีคณะทำงานบริหารที่มีความรุ้และข้อบังคับทางกฎหมายที่เหมาสม เพื่อช่ยให้การเปิดเสรีนำมาซึ่งผลดีกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมากที่สุด
          ในปี พ.ศ. 2538 ประเทศสมาชิกองคการการต้าโลก มีการลงนามใน "ความต้ตกลงด้านการต้าบริการ" โดยมัีวัตถุประสงค์ขยายการต้าบริากรภายใต้เงื่อนไขของความโปร่งใสของกฎเกณฑ์และระเียบข้อบังคับ การเปิดเสรีเพ่ิมขึ้นเป็นลำดับผ่านรอบการเจรจา และการมีส่วนร่วมของประเทศกำลังพัฒนา โดยกำหนดให้มีการเจรจาเปิดตลดาการต้าบริการในทุกๆ 5 ปี เพื่อ เพ่ิมการเปิดตลาดเสรีการต้าบริากรให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยการลดข้อจำกัดต่างๆ นการต้าบริากรในแตละรอบของการเจรจาการต้า
        GATS ถือเป็นข้อตกลงแรกทางด้านกฎหมายในระดับพนุภาคีที่ครอบคลุมถึงการต้าบริากรและการท่องเที่ยว โดยวางกรอบด้านกฎหมายสำหรับการเจรจาต่อรองและการเปิดเสรีทางการต้า ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อขจัดข้อกีดขวางต่างๆ ที่เป็นข้อจำกัดสำหรับผุ้ให้บริากรที่เป็นชาวต่างชาติ ทำให้ไม่ใไ้สามารถเข้าถึงตลาดและได้รับการยอมรับใระดับชาติ นอกจากนี้ แกรตส์ ยังมุ่งเน้นให้มีการเคลื่อนย้ายคนเพื่อไปให้บริการในประเทศสมาชิกได้อย่างเสรีเป็นการชั่วคราว เพื่อเป็นการช่วยลดต้นทุนการขนส่ง โทรคมนาคมและสินค้าโดยต้องคำนึงถึงวัฒนธรรมและกฎหมายของประเทศสมาชิกที่ใช้บังคับอยู่เดิม อาทิเช่น การจำกัดอาชีพให้เป็นอาชีพสงวน การเก็บาษีซ้ำซ้อน และการกำหนดค่าธรรมเนียมวีซ่าที่สูง
         กระบวนการของ แกทส์ เร่ิมต้นที่การวางกำหนดารางการเปิดตลาดเสรีการต้าบริากรภาคส่วนใดภาค่วนหนึ่ง การปกิบัตเยี่ยงคนชาติ รวมทั้งวางแผนขั้นตอนการดำเนินงานในระดับชาติและการกำหนดความรับผิดชอบในส่วนอื่นๆ นั่นหมายถึงประเทศนั้นๆ พร้อมเพื่อการเปิดตลาดสำหรับบิรษัทต่างชาิตที่จะได้รับการปฏิบัติที่เท่าเที่ยมกันจากภาครัฐ โดยการกำหนดข้อผุกพันสำหรับรูปแบบของการต้าบริากร ต่างๆ โดยแต่ละประเทศจะมีอิสระในการตัดสินใจวาจะร่วมเปิดเสรในประเภทของะุรกิจบริการใดบ้าง สามารถกำหนดระดับการเปิเสรี ลำดับขึ้ตอนและรายละเอียดของนโยบายระดับชาติ กฎหมายหรือระเบียบข้อบับคับที่จะถุกนำมาใช้ปฏิบัตเพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม และสามารถวางเงือนไขหรือข้อจำกัดพิเศษได้ ยกตัวอยางเช่น ประเทศหนึ่งอาจอนุญาตในห้ธนาคารค่างชาติเข้ามาเปิดบริการในประเทศได้ แต่กำหนดจำนวนใบอนุญาตที่จะให้ หรือจำนวนสาขาของธนาคารต่างชาติ เป้นต้น อย่างไรก็ตามทุกประเทจะต้องกำหนดเวลาที่แน่นอนในการเปิดเสรี รวมทั้งต้องจัดตารางเวลาสำหรับว่งผู้บริหารระดับสูง และตัวแทนการต้าระหว่างประเทศสมาชิก ภ้ารประเทศใดไม่สามารถทำตามกำหนดเวลาดังกล่าวก็จะถุกนำเข้าไปสู่กระบวนการบังคับของ WTO
          เพื่อเป็นการกำหนดขอบเขตที่ชัดเจนของสาขาบริากรและเกิดความสะดวกในการเจรจา WTO ได้ ระบุกิจกรรมหลักของบริการด้านท่องเที่ยวว่าประกอบไปด้วย โรงแรมร้านอาหาร, ตัวแทนนำเทียวและผุ้ประกอบการท่องเที่ยว, บริการมัคคุเทศก์และอื่นๆ

               - "ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน", กลุ่มงานข้อมุลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดภูเก็ต.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...