Fabiau หรือ fabliaux เป็นเรื่องขนาดสั้น ทำให้เป็นที่นิยมในยุคกกลาง ใฝรั่งเศส ซึ่งจะมีควาาม
โดดเด่นด้วยรายละเอียดที่ชัดเจนจากการสังเกตจากประสบการณ์จริง และมักจะเป้นเรื่องหยาบคาย และเหยียดหยายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการรักนวลสงวนตัวของพวกผู้หญิง
กว่า 150 เรื่อง ที่ยังคงมีอยู่จนถึงปัจจุบัน เมื่อได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง fabliaux เป็นตัวแทนของวรรณกรรมของชนชั้นกลาง บางเรื่องได้รับการยอมรับเวลา และได้แพร่หลายไปในประเทศต่างๆ
The Decameron ตำนานสิบราตรี เป็นจุบนิยาย ร้อยเรื่องที่เขียนโดย โจวันนี บอกัชโช นักประพันะ์ชาวอิตาลี ที่อาจจะรเ่มราวผี ค.ศ. 1350 และจบลงในปี ค.ศ. 1353 "ตำนานสิบราตรี" เป็นหนังสือที่เขียนเป็นอุปมานิทัศน์ที่เป็นเรื่องราวของความรักแบต่างๆ ตั้งแต่รักที่ยั่วยวนไปจนถึงรักที่จบลงด้วยโศกนฎกรรม บางท่านก็เชื่อว่าบางส่วนองหนังสือได้รับอิทธิพลมาจาก "ตำราแห่งความรัก" (The Book of Good Love) โดย ฆวน ราอุส
All's Well That Ends Well โดย เวิลเลียม เชกสเปียร์ ที่มีรากฐานมาจากเล่มสามเร่องที่เก้า หรือ โคลง "อสาเบลลาและกรถางใบโหระพา" Isabella, or the Pot of Basilโดย จิห์น คีตส์ ที่มาจากเรื่องของลิสาเบ็ตตา
"ตำนานสิบราตรี" มีอิทธิพลต่องานปรพะันธ์และงานจิตรกรรมต่อมอีกมากเช่น "ตำนานแคนเตอร์บรี" โดยเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ื หรือ "
ชื่เอรืงมาจากคำภาษากรีกสองคำผสมกัน เนื้อเรื่อง "ตำนานสิบราตรี" เป็นหนังสือที่เขียนโดยใช้ดครงสร้างแบลบที่เรียกว่า " เฟมส์ นาราทีฟ" และถือกันว่เป้นวนิยายเล่มแรกที่เขียนเสร็จโดย โจวันนี บอกกัชโช ในปี ค.ศ. 1353 บอกกัชโซเริ่มด้วยการบรรยายถึงกาฬโรค (กาฬโรคระบาดในยุดรป) และนำไปสู่การแนะนำหลุ่มชายหนุ่มสามคนและหญิงสาวอีกเจ็ดคนที่เป้นตัวละรในเรื่อง ที่หลบหนีจากโรคระบาดในฟลอเรนซ์ ไปยังพำนักอยู่ที่คฤหาสน์ในเนเปิลส์ เืพ่อเป้นการฆ่าเวลา สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มก็จะเล่าเรื่องหนึ่งเื่องต่อแต่ละคือนที่พำนักอยุ่ในคฤหาสน์
"ตำนานสิบราตรี" เป็นงานชิ้นสำคญตรงที่ให้คำบรรยายอย่างละเอียดถึงผลกระทบกระเทื่นทั้งทางกาย ทางใจ และทางสังคมของกาฬโรคต่อยุโรป และส่ิงที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือเรื่องหลายเรือ่ง มาปรากฎใน "ตำนานแคนเตอร์บรี" โดยเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ แต่ไม่เป้ฯที่ทราบแน่นอนว่าชอเซอร์รู้จัก "ตำนานสิบราตรี" หรือไม่
แพรริเนีย ตัวละครสตรีคนหนึ่งได้รับเลือกให้เป็นราชินีของวันแรก แต่ละวันราชินีหรือราชาของวัก่อนหน้านั้นก็จะเลือกหัวข้อของวันต่อไป แต่ละวันก็จะเป็นหัวเรื่องใหม่ นอกจากวันแรกและวันที่เก้าหัวข้อต่างๆ ก็รวมท้งหัวข้อที่เีก่ยวกับเหตุกาณณ์ร้ายที่ในที่สุก็นำความสุขที่มิได้คาดหวังมาให้ ผุ้ที่ได้รับความสำเร็จตาที่หวังไว้หรือพบส่ิงที่หายไป เรื่องรักที่จบลงด้วยความไม่มความสุข เรื่องรักที่รอดจาภัยพิบัติอันร้ายแรง , ผุ้ที่สามารถรอดจาอนตราย, กลเม็ดของสรีที่ใช้กับสามี, กลเม็ดของทั้งชายและหญิงที่ใช้ต่อกัน และผุ้ที่ได้รับสิ่งต่างๆ อย่างมากไม่วาจะเป็นความรักหรืออื่นๆ
บรรยากาศของเรืองที่บรรยายใน "ตำนานสิบราตรี" มีอทิะพลเป็นอย่างมากมาจากความเชื่อและความสำคํยของเลขศาสตร์ ของยุคกลาง เช่นเป็นที่เชื่อกันโดยทั่วไปว่าสตรีเจ็ดคนในเรื่องเป็นสัญลักษณ์ของคุณธรมสีประการ (ความรอบคอบ ความพอประมาณ ความอดทน และความยุติธรรม) และคุณธรรมสามประการของคริสต์ศาสนา (ความศรัทธา ความวหัง และความรัก) และมีผุ้เสนอต่อไปว่าชายสามคนเป้ฯสัฐลักษณ์ของการแบ่งสภาวะของกรีกสามอย่าง (ความมีเหตุผล ความโกรธ และความหลง)
ชื่อตัวละครในเรื่องของสตรีเจ็ดคนก็ได้แก่ แพนพิเนีย ฟามเม็ตตา ฟิโลเมนา เอมิเลีย ลอเร็ตตา เนฟิเล และเอลิสสา ตัวละครชายก็ได้แก่ พานฟิโล ฟิโลสตราโต และดิโอเนโอ...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5
วันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2561
วันพุธที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2561
The Canterbury Tale
Lyric คีตกานท์ เกิดจากนักร้องเร่ที่เรยกตัวเองว่า ตรูบาดูร์ จะแต่งบทกวี ขับร้องกับพิณ นิยม
บรรเลงกันในปราสาทของขุนนางและราชสำนัก เป็นเรื่องเกี่ยวกับควารักแบบเทิดทูนต่อสตรีสูงศักด์ ซึ่งได้รับอิทะิพลมาจากราชสำนักของพวกมุสลิม การเทิดทุนสตรีที่สูงศกด์ก่อให้เกิดระเบียบวิะีปฏิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ ซึ่งถือปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดในหมู่อัศวินมีคุณค่าและมีเกียรติยศยิ่งนัก
Lyric คีตกานต์ เป้นวรรคดีประเภทหนึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่ 14 โดยมีความสนและการแสดงออกทางอารมร์ ดยปกติแล้วเนื้อเพลงจะกล่าวถึง "ช่วงเวลา" โดยปกติแล้วจะพุดหรือแสดงในบุรุษที่ หนึ่ง แม้ว่าเนื้อบางส่วนจะมีเรื่องเล่าก้ตาม แต่จะมีเพียงครั้งคราว เนื่องจากเนื้อร้องสะท้อนถึง
"คุณสมบัติชุน" และการระบุผุ้เขียนเป็นเรื่องยากมาก เนื้อเพลงส่วนใหญ่มักยกเลิกการจับยคุ่และปรากฎในคอลเล็กชันที่ไม่มีความเป็นเอกภาพในตัว มีหลายเพลงที่ยังคงดำรงมาถึงปัจจุบัน ได้รับการกล่าวขวัยกันอย่างแพร่หลายในหลายรูปแบบต่างๆ ก่อนที่จะถูกเขียนลงเป็นหลักฐาน ซึ่งปรากฎในบทกวีภาษอังกฤษ ยุคกลาง โดยเฉาพะเรื่อง The Canterbury Tale ของ Geoffrey Chaucer..
The Canterbury Tales ตำนานแคนเตอร์บรี เป้ฯวรรณกรรมที่เขียนโดย เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นเรื่องยอ่ยที่รวบรวมกันเป็น
หนังสือ (สองเล่เป็นร้อยแก้ว อีกยี่สิบสองเล่มเป็นร้อยกรอง( ทีเป็นตำนานที่เล่าดดยนักแสวงบุญแต่ละคนจากซัทเธิร์ด ในลอนดอนที่เินทางกันไปแสวงบุญที่ซาเปลของนักบุญทอมัส เบ็ดเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี ไตำนานแคนเตอร์บรี" เขียนเป็นภาษาอังกฤษสมัยกลาง เรื่องราวต่างถือกันว่าเป้นหนึงในมหาวรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจาก "ตำนานสิบราตรี" ที่เขียนโดยกวีชาวอิตาลี จิโอวานนิ โบคคาชโช ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่กล่าวกันว่าชอเซอร์ได้อ่านเมื่อเดินทางไปท่องเที่ยวในอิตาลีก่อนหน้านั้น แต่ผุ้ที่เล่าเรื่องในตำนานของชอเซอร์เป็น "มนุษย์เดินดิน" แทนที่จะเป็นเรื่องของชนชั้นขุนนางเช่นใน "ตำนานสิบราตรี" ของโบคคาชโช
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B5
เรื่องย่อ ในวันหนึ่งในเดือนเมษายนกลุ่มนักแสวงบุญพบปะกันหน้าโรงแรมทาบาร์ดไม่ไกลจากลอนดอนพร้อมกับเจ้าของโรงแรม เืพ่อจะเดินทางจากลอนดอนไปยังแคนเอตร์บรี เพื่อจะไปสักการะหลุ่มศพของนักบุญทอมัส เบ็ดเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี ชอเซอร์บรรยายสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มอย่างละเอียดที่มาจากชนชั้นต่างๆ ทั้งชนชั้นสูง ชั้นกลาง และชั้นต่ำ ที่ีอาชีพต่างๆ กันทั้งนักบวช แม่ชี คนเรือ คนสีข้าว ช่างไม้ เจ้าหน้าที่ ผุ้ดีท้องถ่ิน อัศวิน และอื่นๆ แฮรี เลลีย์เจ้าของโรงแรมเสนอให้ทุกคนในกลุ่มเล่าเรื่องของตนเองระหว่างการเดินทางซึ่งก็เป็นที่ตกลงกันว่าแต่ละคนเล่าเรื่องคนละสีเรื่องสองเรื่องขาไปและอีกสองเรื่องขากลับผุ้ที่เล่าเรื่องที่น่าฟังที่สุดที่ตัดสินโดยเบบีย์ก็จะได้กินอาหารฟรีโดยสมาชิกช่วยกันจ่ายให้ ผุ้เล่าเรื่องคนแรกคือ ขุนนาง เื่องแต่ละเรื่องก็สะท้อนให้เห็นถึงฐานะทางสังคมของผุ้เล่า หรือบางเรื่องก็เป็นเรื่องที่เล่าขึ้นเพ่อเสียดสีผ้อื่นในกลุ่ม แต่ในตอนจบก็ไม่มีเรื่องใดที่ได้รับเลือกว่าเป็นเรื่องที่ดีที่สุด และนักแสวดงบุญก็ไม่ได้เล่าเรื่องกันทุกคน ในบทสุดท้ายชอเซอร์ก็กล่าวขอขมาถ้าเรื่องราวที่เล่าไปก้าวก่ายผุ้ใด...
บรรเลงกันในปราสาทของขุนนางและราชสำนัก เป็นเรื่องเกี่ยวกับควารักแบบเทิดทูนต่อสตรีสูงศักด์ ซึ่งได้รับอิทะิพลมาจากราชสำนักของพวกมุสลิม การเทิดทุนสตรีที่สูงศกด์ก่อให้เกิดระเบียบวิะีปฏิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ ซึ่งถือปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดในหมู่อัศวินมีคุณค่าและมีเกียรติยศยิ่งนัก
Lyric คีตกานต์ เป้นวรรคดีประเภทหนึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่ 14 โดยมีความสนและการแสดงออกทางอารมร์ ดยปกติแล้วเนื้อเพลงจะกล่าวถึง "ช่วงเวลา" โดยปกติแล้วจะพุดหรือแสดงในบุรุษที่ หนึ่ง แม้ว่าเนื้อบางส่วนจะมีเรื่องเล่าก้ตาม แต่จะมีเพียงครั้งคราว เนื่องจากเนื้อร้องสะท้อนถึง
"คุณสมบัติชุน" และการระบุผุ้เขียนเป็นเรื่องยากมาก เนื้อเพลงส่วนใหญ่มักยกเลิกการจับยคุ่และปรากฎในคอลเล็กชันที่ไม่มีความเป็นเอกภาพในตัว มีหลายเพลงที่ยังคงดำรงมาถึงปัจจุบัน ได้รับการกล่าวขวัยกันอย่างแพร่หลายในหลายรูปแบบต่างๆ ก่อนที่จะถูกเขียนลงเป็นหลักฐาน ซึ่งปรากฎในบทกวีภาษอังกฤษ ยุคกลาง โดยเฉาพะเรื่อง The Canterbury Tale ของ Geoffrey Chaucer..
The Canterbury Tales ตำนานแคนเตอร์บรี เป้ฯวรรณกรรมที่เขียนโดย เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นเรื่องยอ่ยที่รวบรวมกันเป็น
หนังสือ (สองเล่เป็นร้อยแก้ว อีกยี่สิบสองเล่มเป็นร้อยกรอง( ทีเป็นตำนานที่เล่าดดยนักแสวงบุญแต่ละคนจากซัทเธิร์ด ในลอนดอนที่เินทางกันไปแสวงบุญที่ซาเปลของนักบุญทอมัส เบ็ดเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี ไตำนานแคนเตอร์บรี" เขียนเป็นภาษาอังกฤษสมัยกลาง เรื่องราวต่างถือกันว่าเป้นหนึงในมหาวรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจาก "ตำนานสิบราตรี" ที่เขียนโดยกวีชาวอิตาลี จิโอวานนิ โบคคาชโช ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่กล่าวกันว่าชอเซอร์ได้อ่านเมื่อเดินทางไปท่องเที่ยวในอิตาลีก่อนหน้านั้น แต่ผุ้ที่เล่าเรื่องในตำนานของชอเซอร์เป็น "มนุษย์เดินดิน" แทนที่จะเป็นเรื่องของชนชั้นขุนนางเช่นใน "ตำนานสิบราตรี" ของโบคคาชโช
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B5
เรื่องย่อ ในวันหนึ่งในเดือนเมษายนกลุ่มนักแสวงบุญพบปะกันหน้าโรงแรมทาบาร์ดไม่ไกลจากลอนดอนพร้อมกับเจ้าของโรงแรม เืพ่อจะเดินทางจากลอนดอนไปยังแคนเอตร์บรี เพื่อจะไปสักการะหลุ่มศพของนักบุญทอมัส เบ็ดเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี ชอเซอร์บรรยายสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มอย่างละเอียดที่มาจากชนชั้นต่างๆ ทั้งชนชั้นสูง ชั้นกลาง และชั้นต่ำ ที่ีอาชีพต่างๆ กันทั้งนักบวช แม่ชี คนเรือ คนสีข้าว ช่างไม้ เจ้าหน้าที่ ผุ้ดีท้องถ่ิน อัศวิน และอื่นๆ แฮรี เลลีย์เจ้าของโรงแรมเสนอให้ทุกคนในกลุ่มเล่าเรื่องของตนเองระหว่างการเดินทางซึ่งก็เป็นที่ตกลงกันว่าแต่ละคนเล่าเรื่องคนละสีเรื่องสองเรื่องขาไปและอีกสองเรื่องขากลับผุ้ที่เล่าเรื่องที่น่าฟังที่สุดที่ตัดสินโดยเบบีย์ก็จะได้กินอาหารฟรีโดยสมาชิกช่วยกันจ่ายให้ ผุ้เล่าเรื่องคนแรกคือ ขุนนาง เื่องแต่ละเรื่องก็สะท้อนให้เห็นถึงฐานะทางสังคมของผุ้เล่า หรือบางเรื่องก็เป็นเรื่องที่เล่าขึ้นเพ่อเสียดสีผ้อื่นในกลุ่ม แต่ในตอนจบก็ไม่มีเรื่องใดที่ได้รับเลือกว่าเป็นเรื่องที่ดีที่สุด และนักแสวดงบุญก็ไม่ได้เล่าเรื่องกันทุกคน ในบทสุดท้ายชอเซอร์ก็กล่าวขอขมาถ้าเรื่องราวที่เล่าไปก้าวก่ายผุ้ใด...
วันอังคารที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2561
Romance
อัศวิน คือ บรรดาศักดิ์อย่างหนึ่ง พื้นฐานดั้งเดิมของพวกเขา "นักรบ" และไม่ใช่นักรบธรรแต่เปนนักรบบนหลังม้า ซึ่งในยุคสมันนั้นถือว่าเป็นหัวหมู่ทะลวงฟันในสงคราม บรรดาอัสวินในยุคนั้นจะเป็น
เสมือนทหารรับจ้างไปประจำอยุ่ตามปราสาทต่างๆ ตามแต่จะถูกขุนนางคนไหนจ้างไป แต่ถึงจะบอกว่าเป้นนักรบบนหลังม้าแต่ก็ใช่ว่าพวกเขาจะไม่เก่งถ้าไม่มีม้า เพราะคนที่ต้องสวมเกราะเหล็กตั้งแต่หัวจรดเท้าสะพายดาบ รวมๆ หลานสิบกิโลออกไปฟาดฟันในสนามรบเป็นชั่วโมงหรือเป็นวันๆ ได้ย่อมไม่ธรรมดาอยู่แล้ว เพียงแต่พวกเขาจะแข็.แกร่งมากเมืออยู่บนหลังม้า เรพาะนักรบและม้าติดเกราะในยุคสมัยนั้นไม่ต่างอะไรจากรถที่วิ่งชนคนให้กระเด็นได้ง่ายๆ เมื่ออัศวินได้รับชัยชนะจากการต่อสุ้ (ปบบมีชีวตกลับมา) ก็อาจได้รับเงินทองที่ดิน ตามแต่รางวัลที่ตกลง หรืออาจได้แต่งงานเข้าตระกูลขุนนาง เรพาะใครๆ ก็อยากมีนักรบที่เก่งกล้าไว้ใกล้ตัวในยามมีศึกสงคราม ทำให้มนักรบมากมายที่ใช้สงครามดันตัวเองจากการเป็นชนชั้นล่างขึ้นเป็นลกุ่มชนชั้นกลางในยุคสมัยนั้น ในภายหลังอัศวินจึงไม่ใช่แค่ทหารรับจ้าง แต่อาจเป้นได้ถึงขุนนางผุ้ครองที่ดินมีปราสาทมีเขตแดนของตัวเอง
ระบบวีรคติ อย่างที่เราทราบกันดีว่าแผ่นดินยุโรปในยุคสมัยนั้นมีสองสิ่งเป็นส่ิงยึดเหนียวของคนทั่วไป นั้นคือ ศาสนาคริสต์และสถาบันกษัตริย์ ซึ่งทั้สองอย่างต่างก็มีความสัมพันะ์กันอย่างใกล้ชิด และใช้อัศวินเป็นเครื่องมือในการทำสงครามเหมือนกัน อัศวินในสังกัดจึงเป็นทั้งหยาตาของกษัตริย์และศาสนาด้วย จึงต้งอมีภาพลักษณ์ที่ดีต่อประชาชนทั่วไป ระบบวีรคติจึงถุกสร้างมา (แน่นอนว่ามันถุกใช้เพื่อควบคุมพฤติกรรมอัศวิน้วย) โดยอัศวินที่ดีจะต้องเก่่งกาจ กล้าหาญ เด็ดขาด มีวินัยในฐานะนักรบ แต่ก็ต้องมีความสุภาพ เมตตา เสียสละ ให้เกี่ยรติแก่ข้าศึกเมืองอีกฝ่ายยอมแพ้ ช่วยเหบลือเมือสตรีตกอยู่ในอัตราย ปกป้องคนชรา เด็ก หญิงหม้าย เป้ฯที่พึงพิงในแก่คนอ่อนแอ
http://www.enter-books.com/chivalry_knight/
ด้วยเหตุนี้จึงมีบรรดาตำนานเรื่องเล่าต่าง ๆเกี่ยวกับอัศวินที่เปี่ยมไปด้วยความกล้าหาญอยู่เต็มไปหมด เพราะมันคือเงือนไขสำคัญในการเป้นอัศวินนันเอง และชุดเกราะกับม้ก็เป็นเครื่องแบบที่ทุกคนต้องมี จึงกลายเป้นภาพจำของทุกคนว่ากองทัพอัศวินขี่ม้าคือผุ้ผดุลคุณธรรมที่แสนกล้าหาญแต่ภายหลังการที่นักรบทั่วไปจะก้าวไปเป็นอัศวินด้ยตนเองจะไม่ง่ายอีกแล้ว เรพาะรรดาขุนนางจะให้ลูกหลานตนเองมาฝึกเป็นอัศวินตั้งแต่อายุไม่ถึงสิบปี โดยให้ฝึกกับอัศวินตัวจริง และการห้าม้าและชุดเกราะที่ดีก็เกิดกำลังกว่าคนยากจนจะหาได้..
Sir Gawain and the Green Knight เป็นเรื่องของเซอร์กาเวน หลายชายของกษัตริย์อาเธอร์ ที่ประลองกับอัศวินมรกต ซึ่งว่ากันว่า "ดูลาฮาน" กำเนิดจากตำนานเรื่องนี้เช่นกัน
อัศวินมรกตได้ทำการท้าเซอร์กาเวน หนึ่งในอัศวินโต๊ะกลมหใ้ต่อสู้กันด้วยเงื่อไขที่ว่าใครก้ตามที่ตายในครั้งนี้จะถือว่าเป็นการตายเอง ไม่มีผุ้ใดสังหาร ด้วย กฎ "a year and one day " ซึ่งถ้าพ่ายแพ้จะหมายถึงการสูญเกี่ยติแห่งนักรบ แต่เซอร์การเวนก็ยังวรับยคำท้านี้ เซอร์กาเวนรับขวานมาจากอัศวินมรกต และต่อสุ้กันในเวลาไม่นาน เขาก็ฟันหัวอัศวิน
มรกตขาดในฉับเดียว ด้วยเหตุนี้ เพื่อเป้นการรักษาสัญญาที่ว่าผุ้แพ้จะต้องตายด้วยกฎ นี้ อัศวินมรกต จึงก้มลง ห้ิวหัวตอนเองแ ละควบทยาม้าออกไป
เพื่อไม่ให้ใครรุ้ว่าตนสิ้นใจ้อวยคมดาบแห่งเซอร์กาเวน ทางด้านเซอร์การเวนก็ถึงกับทึ่งในสัจจะของอัศวินมรกต จึงเล่าเรื่องของอัศวินมรกต ให้กษัตริย์อาเธอร์ฟัง พอกษัตริย์ อาเธอร์ได้ผฟังจึงเล่าเรื่องี้ต่อๆ ไป เพื่อยกย่องเซอร์กาเวนในความเก่งกาจและความซื้อสัตย์ของอัศวินมรกต...https://sites.google.com/site/zakurakamisama/sir-gawain-and-the-green-knight
หรืออีกเรื่องหนึ่ง A Knight's Tale ซึ่งถูกนำมาทำเป็นภาพยนต์ในปี 2544
" ถ้ามีความศรัทธา มนุษย์สามารถทำได้ทุกอย่าง" แธ๊ตเขอร์ผุ้ยากจนกล่าวกับบุตรชายเช่นนั้น "มนุษย์สามรถเปลี่ยนแปลงชะตากรรมได้" แต่ในยุโรป ยุคสตวรรษ?ี่ 14 ชะตากรรมมีิอาจกำหนด เพราะชะตากรรมมนุษย์ได้ถุกกำหนดไว้แล้ว
สำหรับวิลเลียม บุตรชายแธ๊ตเชอร์ที่ยากไร้ ผุ้มีชาติกำเินดแสนต่ำต้อย มันดุเป็นเาืองที่ยากจะเข้าใจที่เขาจะทำใจรับได้ว่าความฝันที่จะได้เป็นอัศวินนั้นเป็นเพียงความฝันล้มๆ แล้ง ๆในวัยเด็กในยุคสมัยที่การเลื่อนสถานะยังไม่ใช้แนวคิดที่ผุ้คนยอมรับได้ ชะตากรรมจึงมิอาจเปลียนแปลงในชั่วข้ามคือนผุ้คนต้องตายไปในสถานะเดิมกับเมืองถือกำเนิดมา นันคือข้อกำหนดแห่งธรรมชาติ ซึ่งในภายหลังวิลเลี่ยมก็สามารถยกระดับฐานนะของตนขึ้นสูงกว่าเดิม...https://www.siamzone.com/movie/m/410
รายการ นิยายวิรคติในสมัยกลางของยุโรป อาทิ
- Chrétien de Troyes, Lancelot-Grail, Perceforest, The Knight in the Panther's Skin, Valentine and Orson , King Horn, The Squire of Low Degree,Roman de la Rose , เป็นต้นhttps://en.wikipedia.org/wiki/Chivalric_romance
เสมือนทหารรับจ้างไปประจำอยุ่ตามปราสาทต่างๆ ตามแต่จะถูกขุนนางคนไหนจ้างไป แต่ถึงจะบอกว่าเป้นนักรบบนหลังม้าแต่ก็ใช่ว่าพวกเขาจะไม่เก่งถ้าไม่มีม้า เพราะคนที่ต้องสวมเกราะเหล็กตั้งแต่หัวจรดเท้าสะพายดาบ รวมๆ หลานสิบกิโลออกไปฟาดฟันในสนามรบเป็นชั่วโมงหรือเป็นวันๆ ได้ย่อมไม่ธรรมดาอยู่แล้ว เพียงแต่พวกเขาจะแข็.แกร่งมากเมืออยู่บนหลังม้า เรพาะนักรบและม้าติดเกราะในยุคสมัยนั้นไม่ต่างอะไรจากรถที่วิ่งชนคนให้กระเด็นได้ง่ายๆ เมื่ออัศวินได้รับชัยชนะจากการต่อสุ้ (ปบบมีชีวตกลับมา) ก็อาจได้รับเงินทองที่ดิน ตามแต่รางวัลที่ตกลง หรืออาจได้แต่งงานเข้าตระกูลขุนนาง เรพาะใครๆ ก็อยากมีนักรบที่เก่งกล้าไว้ใกล้ตัวในยามมีศึกสงคราม ทำให้มนักรบมากมายที่ใช้สงครามดันตัวเองจากการเป็นชนชั้นล่างขึ้นเป็นลกุ่มชนชั้นกลางในยุคสมัยนั้น ในภายหลังอัศวินจึงไม่ใช่แค่ทหารรับจ้าง แต่อาจเป้นได้ถึงขุนนางผุ้ครองที่ดินมีปราสาทมีเขตแดนของตัวเอง
ระบบวีรคติ อย่างที่เราทราบกันดีว่าแผ่นดินยุโรปในยุคสมัยนั้นมีสองสิ่งเป็นส่ิงยึดเหนียวของคนทั่วไป นั้นคือ ศาสนาคริสต์และสถาบันกษัตริย์ ซึ่งทั้สองอย่างต่างก็มีความสัมพันะ์กันอย่างใกล้ชิด และใช้อัศวินเป็นเครื่องมือในการทำสงครามเหมือนกัน อัศวินในสังกัดจึงเป็นทั้งหยาตาของกษัตริย์และศาสนาด้วย จึงต้งอมีภาพลักษณ์ที่ดีต่อประชาชนทั่วไป ระบบวีรคติจึงถุกสร้างมา (แน่นอนว่ามันถุกใช้เพื่อควบคุมพฤติกรรมอัศวิน้วย) โดยอัศวินที่ดีจะต้องเก่่งกาจ กล้าหาญ เด็ดขาด มีวินัยในฐานะนักรบ แต่ก็ต้องมีความสุภาพ เมตตา เสียสละ ให้เกี่ยรติแก่ข้าศึกเมืองอีกฝ่ายยอมแพ้ ช่วยเหบลือเมือสตรีตกอยู่ในอัตราย ปกป้องคนชรา เด็ก หญิงหม้าย เป้ฯที่พึงพิงในแก่คนอ่อนแอ
http://www.enter-books.com/chivalry_knight/
ด้วยเหตุนี้จึงมีบรรดาตำนานเรื่องเล่าต่าง ๆเกี่ยวกับอัศวินที่เปี่ยมไปด้วยความกล้าหาญอยู่เต็มไปหมด เพราะมันคือเงือนไขสำคัญในการเป้นอัศวินนันเอง และชุดเกราะกับม้ก็เป็นเครื่องแบบที่ทุกคนต้องมี จึงกลายเป้นภาพจำของทุกคนว่ากองทัพอัศวินขี่ม้าคือผุ้ผดุลคุณธรรมที่แสนกล้าหาญแต่ภายหลังการที่นักรบทั่วไปจะก้าวไปเป็นอัศวินด้ยตนเองจะไม่ง่ายอีกแล้ว เรพาะรรดาขุนนางจะให้ลูกหลานตนเองมาฝึกเป็นอัศวินตั้งแต่อายุไม่ถึงสิบปี โดยให้ฝึกกับอัศวินตัวจริง และการห้าม้าและชุดเกราะที่ดีก็เกิดกำลังกว่าคนยากจนจะหาได้..
Sir Gawain and the Green Knight เป็นเรื่องของเซอร์กาเวน หลายชายของกษัตริย์อาเธอร์ ที่ประลองกับอัศวินมรกต ซึ่งว่ากันว่า "ดูลาฮาน" กำเนิดจากตำนานเรื่องนี้เช่นกัน
อัศวินมรกตได้ทำการท้าเซอร์กาเวน หนึ่งในอัศวินโต๊ะกลมหใ้ต่อสู้กันด้วยเงื่อไขที่ว่าใครก้ตามที่ตายในครั้งนี้จะถือว่าเป็นการตายเอง ไม่มีผุ้ใดสังหาร ด้วย กฎ "a year and one day " ซึ่งถ้าพ่ายแพ้จะหมายถึงการสูญเกี่ยติแห่งนักรบ แต่เซอร์การเวนก็ยังวรับยคำท้านี้ เซอร์กาเวนรับขวานมาจากอัศวินมรกต และต่อสุ้กันในเวลาไม่นาน เขาก็ฟันหัวอัศวิน
มรกตขาดในฉับเดียว ด้วยเหตุนี้ เพื่อเป้นการรักษาสัญญาที่ว่าผุ้แพ้จะต้องตายด้วยกฎ นี้ อัศวินมรกต จึงก้มลง ห้ิวหัวตอนเองแ ละควบทยาม้าออกไป
เพื่อไม่ให้ใครรุ้ว่าตนสิ้นใจ้อวยคมดาบแห่งเซอร์กาเวน ทางด้านเซอร์การเวนก็ถึงกับทึ่งในสัจจะของอัศวินมรกต จึงเล่าเรื่องของอัศวินมรกต ให้กษัตริย์อาเธอร์ฟัง พอกษัตริย์ อาเธอร์ได้ผฟังจึงเล่าเรื่องี้ต่อๆ ไป เพื่อยกย่องเซอร์กาเวนในความเก่งกาจและความซื้อสัตย์ของอัศวินมรกต...https://sites.google.com/site/zakurakamisama/sir-gawain-and-the-green-knight
หรืออีกเรื่องหนึ่ง A Knight's Tale ซึ่งถูกนำมาทำเป็นภาพยนต์ในปี 2544
" ถ้ามีความศรัทธา มนุษย์สามารถทำได้ทุกอย่าง" แธ๊ตเขอร์ผุ้ยากจนกล่าวกับบุตรชายเช่นนั้น "มนุษย์สามรถเปลี่ยนแปลงชะตากรรมได้" แต่ในยุโรป ยุคสตวรรษ?ี่ 14 ชะตากรรมมีิอาจกำหนด เพราะชะตากรรมมนุษย์ได้ถุกกำหนดไว้แล้ว
สำหรับวิลเลียม บุตรชายแธ๊ตเชอร์ที่ยากไร้ ผุ้มีชาติกำเินดแสนต่ำต้อย มันดุเป็นเาืองที่ยากจะเข้าใจที่เขาจะทำใจรับได้ว่าความฝันที่จะได้เป็นอัศวินนั้นเป็นเพียงความฝันล้มๆ แล้ง ๆในวัยเด็กในยุคสมัยที่การเลื่อนสถานะยังไม่ใช้แนวคิดที่ผุ้คนยอมรับได้ ชะตากรรมจึงมิอาจเปลียนแปลงในชั่วข้ามคือนผุ้คนต้องตายไปในสถานะเดิมกับเมืองถือกำเนิดมา นันคือข้อกำหนดแห่งธรรมชาติ ซึ่งในภายหลังวิลเลี่ยมก็สามารถยกระดับฐานนะของตนขึ้นสูงกว่าเดิม...https://www.siamzone.com/movie/m/410
รายการ นิยายวิรคติในสมัยกลางของยุโรป อาทิ
- Chrétien de Troyes, Lancelot-Grail, Perceforest, The Knight in the Panther's Skin, Valentine and Orson , King Horn, The Squire of Low Degree,Roman de la Rose , เป็นต้นhttps://en.wikipedia.org/wiki/Chivalric_romance
วันจันทร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2561
Chanson de Roland
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็นหนึ่งเดียว ไม่มีส่งิใดที่ยุดรปได้ประสบมาก่อนหน้านี้หรือภายหลังจากนั้นที่จะสามารถเรียบเทียบในความกระตือรือล้นได้เท่ากับสงครามครูเสดในครั้งแรก
คลื่นแห่งความมัวเมาไหลยบ่าท่วมทั่วทั้งยุโรป นับเป้นความตราตรึงใจครั้งแรกที่พวกเขาสามารถก้าวพ้นกำแพงขวางกั้นระหว่างรัฐ ระหว่างเผ่าพันธ์และระหว่างชนชั้น ก่อนหน้านั้นพวกเขาแบ่งเป้นพวกแฟรก์ พวกแซกซอน และเยอรมัน เป็นเบอันเดียน และชิลีเซียน เป็นนอร์แมนและบลอมบาร์ การผสมผสานระหว่างเผ่าพันธ์และชาติพันธุ์เป็ส่ิงที่เกือบจะเป็นไปไม่ได้ แต่มีข้อเท็จจริงที่
ว่าอาณาจักร
ฟิวดัลและแว่นแคว้นต่างๆ ของพวกเขาเกือบทั้งหมดเป้ฯเศษเสี้ยวหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน และพวกเขาทั้งหมดต่างยืนยันว่าพวกเขามีความเชื่อแบบคริสต์ แต่กรณีของครุเสดสายสัมพันะทางศาสนาถุกยกขึ้นสู่อีกระดับหนึ่ง เหตุผลที่เหมือนกันต่อชาวยุโรปทุกคนคือแนวคิดศาสนาว่าด้วยคริสจักร์ ซึ่งต่อมาได้ให้กำเนิดแนงคิดทางวัฒนธรรมของยุโรป เมื่อคำประกาศที่มีชื่อเสียงของโป๊ปเออร์บันที่ 2 ถูกประกาศออกไปที่เดลอมองค์ ในเดือนพฤศจิกายน 1095 เร่งเร้าให้คริสเตียนทำสงครามกบชนชาติดันชั่วร้ายที่ครอบครองดินแดน สักดิ์สิทธิ์ โป๊ปอาจจะไม่รู้ว่าคำประกาศของเขาได้กลายเป็นกฎบัตรของอารยธรรมตะวันตกในเวลาต่อมา
ประสบการณือันบอบช้ำของสงครามครุเสดได้ทำให้ยุดรปตระหนักในวัฒนธรรมและเอกภาพของพวกเขา แต่ประสบการณ์เดียวกันนี้ด้นำไปสู่การเกียจชังอิสลาให้ปรากฎต่อ สายตาของตะวันตก สงครามครูเสดจึงมิไใช่เป็นเพียงแค่สงครามและการนองเลือด
ในช่วงสงครามครุเสดนี้เองที่ความคิดในการเกียจชัวอิสลามได้กระพือขึ้นโดยการกล่าวหา และใส่ร้ายซึ่งความคิดดังกล่าวได้เข้าไปฝังในความเข้าใจของตะวันตกและยังไม่เคยลบเลือน( ดังความเกียจชังที่ถุกปลูกฝังจากผุ้มีอำนาจทำให้มโนคติที่มีต่อศาสนาอิสลามผิดแผกไป)
จึงไม่ใช่เรื่องบังเอิญที่มหากพย์ ของซอง เดอ โรลองค์ อัน เผ็ดร้อนที่กล่าวถึงวีรกรรมของชาวคริสเตียนที่สามารถเอาชนะมุสลิมพวกนอกรีต ในตอนใต้ของฝรั่งเศสจะถูกนำมาขับร้องไม่เพียงแต่ยุคดังกล่าวเท่านั้น แต่ถูกนำมาขับขานเรื่ยมา ก่อนหน้าสงครามครูเสดครั้งแรกเล็กน้อย เพลงร้องนี้ได้กลายมาเป็นเพลงชาติของยุโรป และไม่ใช่เรื่องบังเอิญอีนั้นแหละที่มหากาพย์สงครามเรื่องนี้จะกลายเป็นจุดเริ่มต้นของวรรณกรรมยุโรป ซึงแตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับวรรณกรรมท้องถ่ินก่อนหน้านี้เนื่องจากความเป็นปรกปักษ์อักบอิสลามได้ยืนตระหงาน ณ จุดเริ่มต้นของอารยธรรมยุโรป
ความขุ่นเคื่องในอดีตของตะวันตกที่มีต่ออิสลามซึ่งมที่มาจากศาสนาจะยังคงผ้งแน่นอยู่ในจิตใต้สำนึกในยุคที่ศาสนาเกือบจะหมดความสำคัญไปจากจินตนาการของชาวตะวันตกไปแล้วแต่เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องที่น่าประหลาดใจแต่อย่างใด เรารู้ว่าบุคคลหนึ่งอาจสูญเสียความศรัทธาที่ได้รับการปลูกฝังในตัวเขาขณะที่ยังเป้ฯเด็ก อย่างไรก็ตมอารมณ์พิเศษบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเชื่อมโยงกับความศรทธาเหล่านั้นยังคงมีอยู่โดยปราศจาก เหตุผลยังคงวมีอิทธิพลกับชีวิตของเขาในเวลาต่อมา...https://web.facebook.com/permalink.php?story_fbid=123950937775682&id=116911551812954&substory_index=0&_rdc=1&_rdr
https://my.dek-d.com/savage-devil/writer/viewlongc.php?id=664047&chapter=12
มหากาพย์ ชองซองเดอโรลองด์ เป็นวรรกรรมสดุดีวีรกรรมของอัศวินของฝรั่งเศสในช่วงสมัยกลาง มหากาพย์เรื่องนี้มีต้นกำเนิดมาจากเหตุการ์ทางประวัติศาสตร์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 8 ความสำคัญของวรรณกรรมเรืองมหากาพย์ ชอง ซอง เดอโรลองด์ ในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ก็คือ ให้ข้อมุลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สังคมในกรอบความคิดและโลกทัศน์ของคนในยุโรปของคนในยุโรปใช่วงสมัยกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบฟิวดัล และความศรัทธาในคริสต์ศาสนา..
มหากาพย์ ชองซองเดอโรลองด์ เป้นเรื่องราวการต่อสู่ของ โรลองค์ ทหากรคนสนิทของจัรกพรรดิชาร์เลอมาญกับกองทัพของพวกซาราเซ็นซึ่งเป็นมุสลิมที่เดินทัพมาจากสเปนเพื่อพิชิตยุโรปตะวันตก กองทัพของโรลองด์ถุกฝ่ายมุสลิมซุ่มโจมตีในเทือกเขาพิเรนีส โรลองด์เสียชีวิตในสนามรบ ของซองเดอโรลองด์เป็นที่นิยมของพวกชสชั้นสูงโดยเฉพาะยอ่างยิ่งพวกนักรบ เรพาะสะท้อนให้เก็นถึงทัศนคติ ความกล้าหาญ ความเสียสละของนักรบ อุดมกาณ์ จริยธรรมตลาอดจนความมีศรัทธาในคริสต์ศาสนาอย่างเด่นชัดhttps://sites.google.com/site/prawatisastrr/phathnakar-khxng-yurop-smay-klang/xary-thr-rm-smay-k
วันอาทิตย์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2561
City of God (St. Augustine)
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก
วรรณกรรมทางศาสนา ที่สำคัญ คือ เทวนคร โดยนักบุญออกัสติน เป็นเรื่องราวการสร้างโลกตามคติศาสนา มหาเทววิทยา โดยนักบุญทอมัส อะไควนัส เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ความเชื่อ และศรัทธาในคริสต์ศษสนาอย่างมีเหตุผล ใช้สอนวิชาเทววิทยาในมหาวิทยาลัีย
วรรณกรรมทางโลก แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท ได้แก่
1. มหากาพ epic หรือที่เรียกว่า ชาซอง เอด กาสต์ เป็นเรื่องราวของการสร้างวีนรกรรมขอววัรบุรุษในอดีต นิยมประพันธ์ด้วยโคลงกลอน วรรณกรรรมประเภทนี้ได้แก่ ชาซอง เอด โรลองด์ เป็นเรื่องราวของการต่อสู่ของโรลองค์ ทหารคนสนิทของพระเจ้าซาร์ลมาร์ลกับกองทัพมุสลิมที่เดิทัพมาจากสเปนเพื่อพิชิตยุโรปตะวันตก
2 นิยายวีรคติหรือนิยายโรมานซ์ romance ประพันธ์เป็นคำกลอนขนาดสั้นยาว นิยายประเภทเพ้อฝันเป็นเรื่องราวความรักของคนหนุ่มสาวความจงรักภักดีของอัศวินต่อเจ้าและขุนนาง เวทมนตร์คาภา นิยายที่เป็นที่นิยมกันมาก ได้แก่ เรื่องเกี่ยวกับสงครามโทรจันในสมัยกรีก พรเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช โดยทั่วไปเป็นเรื่องราวความรักของคนหนุ่มสาวที่สามารถทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อให้ความรักสมปรารถนาส่วนใหย๋มักเป็นเรื่องชู้สาว
3 คีตกานท์ lyric เกิดจากนักร้องเร่ที่เรียกตัวเองว่า ตูรบาดูร์ จะแต่งบทกวี ขันร้องกับพิณ นิยมบรรเลงกันในปราสาทของขุนนางและราชสำนัก เป็นเรื่องเีก่ยวกับความรักแบบเทิดทูนต่อสตรีสูงศักดิ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากราชสำนักของพวกมุสลิม การเทิดทูนสตรีที่สูงศักดิ์ก่อให้เกิดระเบียบวิะีปฏิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ ซึ่งถือปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัด ในหมู่อัศวินนักรบของสมัยกลางในภายหบังซึงบุรุษชั้นสูงจะแสงหาความรักแบบเทิดทูนต่อสตรีผุ้สูงศักดิ์โดยไม่ ปรารถนาความรักตอบแทน เพราะถือว่า การทุอทิศตนเพื่อสตรีที่รักทำให้ชีวิตของการเป็นอัศวินมีคุณค่าและมีเกี่ยรติยศย่ิงนัก
4 นิทานฟาลิโอ เป็นวรรณกรรมของขาวย้านทั่วไป เป็นนิทานั้นๆ เขียนเป็นโคลงกลอน ซึ่งเป็นเรื่องเสียดสีสังคมชนชั้นสูง ตลกขบขันเล่ห์เหลี่ยม ความไม่ดีงามและบางครั้งค่อนข้างหยาบ งานประพันธ์ที่ได้รับอิทธิพล ได้แก่เรื่องเทอร์เบอรี เทลส์
5 นิทานสัตว์ เป็นนิทานร้อยแก้วหรือร้อยกรองในลักาณะของนิทานอีสป เนื้อหาล้อเลียนเสียดสีสังคมฝรั่งเศสในสมัยกลางประณามระบบฟิวดัล กระบวนการยุติะรรม และวงการศาสนา.../sites.google.com/site/historythemiddleage/yukh-klang-txn-play/wrrnkrrm
The city of god ออกัสตินแบ่งสังคมของมนุษย์ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ครอบครัว เมืองพื้นโลกและมนุษย์บนโลก และจักรวาล จากคำว่าเมือง ออกัสตินแบ่งเป็น 2 ปรเภท ไ้แก่ครอบครัว เมืองพื้นโลกและมนุษย์บนโลก และจักรวาล จากคำว่าเมือง ออกอัสตินแบ่งเป็น 2 ประเภทคือเมืองของพรเจ้ากับเมืองมนุษย์ หัวใจของเรื่องคือ การเปรียบเทียบจักรวรรดิโรมันซึ่งเป็นอาณาจักรทางฆารวาส และ city of god หมายถึงถึงศาสนจักร เคน เป้นผุ้ก่อตั้งเมืองแรก ดังนั้จึงเป็นเมืองชั่วร้าย ส่วน ซิตี ออฟ ก็อท เป็นอาณาจักรทางศาสนาของพระเจ้า ศาสนตักรมีรากฐานตากพระเจ้าและเป็นภาพสะท้อนขอ
อาณาจักรบนสวรรค์ เขาสรุปว่า โลกนีประกอบด้วยเมืองสัญลักษณ์ 2 เมือง คือเมืองแห่งความดีและเมืองแห่งความชั่ว โดยเมืองแห่งความดีคือตัวแทนแห่งพระเจ้า เมืองแห่งความชั่วคือมเืองขอปีศาจ
ประวัติศาสตร์ของมนุษย์เป็นตกาต่อู้ระหว่งอำนาจ 2 อย่าง จุดมุ่งหมายของการต่อสู้ก็เพ่อจะตัดสินว่ามนุษย์จะได้รับความรอดหรือการสาปแช่งชั่วนิรันดร์ จุดประสงค์ของชีวิตแต่ละคนคือ การมีความสัมพันะ์ที่เหมาะสมกับพระเจ้า จากทัศนคตินี้ประวัติศาสตร์ คือ บันทึกการติดต่อระหว่างพระเจ้าและมนุษย์ ศูนย์กลางของประวัติศาสตร์ก็คือ ชีวิตของพระเยซูเจ้า แบ่งเป็นสมัยก่อนพระเยซู เร่ิมขึ้นตั้งแต่อดัมเกิดขึ้นถึงการประสูตรของพระเยซู
ประวัติาสตร์ คือ การเตียนมตัวของมนุษย์มุ่งสร้าความรอดโดยผ่านพระเยซู เร่มขึ้นตั้งแต่อดัมเกิขึ้นถึงการประสูตรของพระเยซูประวัติศาสตร์คือ การเรียมตัวของมนุษย์มุ่งสร้างความรอดโดยผ่านพระเยซู ซึ่งอดัมเป้นคนที่ 2 การเรครยมการนี ออกัสตินได้แบ่งระยะเวลาประวัติศาสตร์ออกเป็ยุคต่างๆ ดังนี ยุคที่ 1 นับตั้งแต่พระเจ้าสร้างมนุษย์คนแรก คืออดัม ไปจนถึงน้ำท่วมโลกและเรื่องของโนอาห์ ยุคที่ 2 จากโนอาห์ถึงสมัยของอับราฮัม บรรพบุรุษของชาวยิว ยุคที่ 3 จากสมัยอับราฮัมถึงสมัยพรเจ้าเดวิด กษัตริย์ยิวทีทรงสร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ราชอณาจัร ยุคที่ 4 ากสมัยกษัตริย์เดวิดจนึงเมือถึงการเนรเทศครั้งใหญ่ ยุคที่ 5 จากสมัยเนรเทศครั้งใหญ่จนถึงกำเนิดของพระคริสต์ ยุคที่ 6 ยุคปัจจุบน ซึ่งออกัสตินเรียกว่า "มิลเลเนียม" ซึ่งแปลว่า หนึ่งพันปี แต่ออกัสตินไม่ได้หมายึวามว่าจะเป็นเวลา หนึ่ง
พันปี จริงๆ เพราะเขาให้เหตุผลว่า พระเจ้าเท่านั้นที่ทรงทราบ" ว่าจะยาวนาสสักเีพยงใด ยุคที่ 7 "วันสะปาโต"หรือวันหยุดของพวกยิว ออกัสตินหมายถึงสมัยที่พระผุ้เป็นเจ้าจะโปรดผุ้รอด หรือวันแห่งการตคัดสินครั้เงสุดท้าย ยุคที่ 8 ออกัสตินเรียกว่า วันของพระผุ้เป็น ถือว่า เป็นวันที่ 8 และวันอันยืนยาวชั่วกัลปาวสาน อันประกอบด้วยการตือพระชนม์ของพระคริสต์เจ้า การกลับคืนรูปจากการพักผ่นชั่วกัลป์ ไม่เพียงแต่ในรูปของจิตวิญญาณเท่านั้น หากในรูปของร่างกายด้วย ณ ที่นั้น เราจะได้พักผ่อนและชมและรักและสรรเสริญ นี้คคืออวสานที่ปราศจากอวสาน...
นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์ ได้สรุปการแบ่งยุคของออกัสติน คือ ในยุคต่างๆ ทั้งหมดนี้ ดดยเฉาพะยุคที่ผ่านมาแล้วจนถึงปัจจุบัน ออกัสตินถือว่าการกำเนิดของพระเยซูคริสต์เป็นเหตุการสำคัญที่สุด เหตุการณ์ในทุกยุคย่อมมีศูนย์กลาวที่ชีวิตของพระเยชู เหตุการณ์ก่อนหน้าพระเยซุก็เกิดขึ้นเพื่อทำให้โลกอยุ่ในสภาวะที่พร้อมจะรับการกำเนิดของพระมหาไถ่ เพื่อที่พระมหาไถ่สามารถปฏิบัติภาระกิจของพระองค์ได้สะดวก เหตุการณ์หลังจากชีวิตของพระเยซูก้ล้วนเป็นผลสืบเนื่องมาจากการไถ่บาปของพระองค์ เรื่องราวของมนุาย์หลังจากนันคอ เรื่องราวของการขยายตัวของคริสตศาสนา มีเหตุการณ์เด่น ๆ เช่น การรับศาสนามิได้ และการถือเอาเป็นเกิดของพระเยซูเป็นศุนย์กลางของประวัติศาสตร์ของมนุษย์อย่างแท้จริง ถ้าจะแบ่งยุคของประวัติศาสตร์อย่างชัดเจนที่สุดแล้ว ก็มีแต่ยุค ก่อนพระเยซูกำเนิด และยุคหลังจากพระเยซูกำเนิด แล้วเท่านั้น ตามความคิดของออกัสติน ประวัติศาสตร์ของมนุษย์มีเป้าหมาย เป้าหมายคือการได้รับความรอดชั่วนิรันดร์ พระเจ้าจะชขนะการต่อสู้ระหว่างความดีและความเลว เื่พอความอยุ่รอดของมนุษย์ พระองค์จะประทานรางวัลแก่มนุษย์ผุ้ยังมิได้เสื่อมศรัทธาต่อความสามารถของพรเจ้า จากทฤษฎีนี้แสดงให้เห็นว่าความสำเร็จทางวัตถุไม่มีความสำคัญและโลกเป็นเพียงห้องสำหรับรอคอยเพื่อรอรับhttps://www.gotoknow.org/posts/422616
ความรอด ออกัสตินได้อธิบายเรื่องความดีความชั่วในตัวมนุษย์ไปในขณะเดียวกัน หรือการเป็น 2 นครในขณะเดียวกัน คือ เทวนครในขณะเดียวกัน คือ เทวนครคือนครที่ประกอบไปด้วยความดีงามอันสูงส่ง ส่วนมนุษยนครคื อกายที่ใฝ่ต่ำ วิญญาณที่เป็นของสูงแสดงออกได้ก็แต่กายใฝ่ต่ำลักษณะเช่นนนี้จึงทำให้การปลีกเลี่ยวไม่ทำความช่วของมนุษย์หรือการที่จะตออยู่ในมนุษย์นครนั้นเป็นสิ่งหลีเลี่ยงได้ยากแต่ออกัสตินได้เสนอแนะว่า ถ้ามนุษย์จงรักภักดีและเชื่อฟังต่อพรเจ้า สวดอ้อนวอนและระลึกถึงพระเจ้าทุกขณะจิตแล้วมนุษย์จะสามารถหลีกเลี่ยงการอยู่ในมนุษยนครได้ นอกจากนี้ออกัสตินยังได้อธิบยจุหมายปลายทางสูงสุดของ 2 นครไว้ว่า ความสุขใดไม่มีความทุกขืเจือปน ความสุขนั้นเป้นความสุขนิรันดร์ ไม่มีวันดับสูญ ความสุขนี้มิได้อยู่ในโลกแต่อยู่ในชีวิตนิรันดร์ บุคคลที่จะอยู่ในชีิวิตนิรันด์นี้ย่อมขึ้นอยุ่กับการตัดสินจองพระเจ้าใจครั้งสุดท้ย นั้นคือเมื่อวาระสุดท้ายของโลกมาถึง พรเจ้าจะเสด็จมายังโลกมนุษย์อี พระเจ้จะทรงฟื้นมนุษย์ทั่้งหลายที่เสียชีวิตไปหมดแล้วใหมีชีวิตขึ้นจมาใหา่ หลังจากนั้นพรเจ้าจะทรงพิพากษาแบ่งแยดว่าผุ้ใดที่จะได้ไปอยู่ในเทวนครคือชีวิตที่มีความเป็นนิรันด์กับพระเจ้า และผุ้ใดที่จะต้องถุกลงโทษโดยกรต้องไปทนทุกข์ทรมานกับซาตานในนคร เคน ได้เป็นผุ้ก่อตั้งเมืองแห่งปีศาจหรือมนุษยนคร ดังนั้น เมืองของปีศาจจึงเป้นเมืองแห่งความชั่วร้าย ส่วนเทวนครจึงเป้ฯอาณาจักรของพระเจ้า ศาสนจักรมีรากฐาน และเป็นภาพสะท้อนของอาณาจักรบนสวรรค์ นั่นคือ โลกนี้ประกอลด้วยเมืองสัญลักษณ์ 2 เมือง คือ เมืองแห่งความดีและเมืองแห่งความชั่ว เมืองแห่งความดีเป็นตัวแทนแห่งพระจเ้า เมืองแห่งความชั่วเป็นตัวแทนแห่งปีศาจ
วรรณกรรมทางศาสนา ที่สำคัญ คือ เทวนคร โดยนักบุญออกัสติน เป็นเรื่องราวการสร้างโลกตามคติศาสนา มหาเทววิทยา โดยนักบุญทอมัส อะไควนัส เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ความเชื่อ และศรัทธาในคริสต์ศษสนาอย่างมีเหตุผล ใช้สอนวิชาเทววิทยาในมหาวิทยาลัีย
วรรณกรรมทางโลก แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท ได้แก่
1. มหากาพ epic หรือที่เรียกว่า ชาซอง เอด กาสต์ เป็นเรื่องราวของการสร้างวีนรกรรมขอววัรบุรุษในอดีต นิยมประพันธ์ด้วยโคลงกลอน วรรณกรรรมประเภทนี้ได้แก่ ชาซอง เอด โรลองด์ เป็นเรื่องราวของการต่อสู่ของโรลองค์ ทหารคนสนิทของพระเจ้าซาร์ลมาร์ลกับกองทัพมุสลิมที่เดิทัพมาจากสเปนเพื่อพิชิตยุโรปตะวันตก
2 นิยายวีรคติหรือนิยายโรมานซ์ romance ประพันธ์เป็นคำกลอนขนาดสั้นยาว นิยายประเภทเพ้อฝันเป็นเรื่องราวความรักของคนหนุ่มสาวความจงรักภักดีของอัศวินต่อเจ้าและขุนนาง เวทมนตร์คาภา นิยายที่เป็นที่นิยมกันมาก ได้แก่ เรื่องเกี่ยวกับสงครามโทรจันในสมัยกรีก พรเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช โดยทั่วไปเป็นเรื่องราวความรักของคนหนุ่มสาวที่สามารถทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อให้ความรักสมปรารถนาส่วนใหย๋มักเป็นเรื่องชู้สาว
3 คีตกานท์ lyric เกิดจากนักร้องเร่ที่เรียกตัวเองว่า ตูรบาดูร์ จะแต่งบทกวี ขันร้องกับพิณ นิยมบรรเลงกันในปราสาทของขุนนางและราชสำนัก เป็นเรื่องเีก่ยวกับความรักแบบเทิดทูนต่อสตรีสูงศักดิ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากราชสำนักของพวกมุสลิม การเทิดทูนสตรีที่สูงศักดิ์ก่อให้เกิดระเบียบวิะีปฏิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ ซึ่งถือปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัด ในหมู่อัศวินนักรบของสมัยกลางในภายหบังซึงบุรุษชั้นสูงจะแสงหาความรักแบบเทิดทูนต่อสตรีผุ้สูงศักดิ์โดยไม่ ปรารถนาความรักตอบแทน เพราะถือว่า การทุอทิศตนเพื่อสตรีที่รักทำให้ชีวิตของการเป็นอัศวินมีคุณค่าและมีเกี่ยรติยศย่ิงนัก
4 นิทานฟาลิโอ เป็นวรรณกรรมของขาวย้านทั่วไป เป็นนิทานั้นๆ เขียนเป็นโคลงกลอน ซึ่งเป็นเรื่องเสียดสีสังคมชนชั้นสูง ตลกขบขันเล่ห์เหลี่ยม ความไม่ดีงามและบางครั้งค่อนข้างหยาบ งานประพันธ์ที่ได้รับอิทธิพล ได้แก่เรื่องเทอร์เบอรี เทลส์
5 นิทานสัตว์ เป็นนิทานร้อยแก้วหรือร้อยกรองในลักาณะของนิทานอีสป เนื้อหาล้อเลียนเสียดสีสังคมฝรั่งเศสในสมัยกลางประณามระบบฟิวดัล กระบวนการยุติะรรม และวงการศาสนา.../sites.google.com/site/historythemiddleage/yukh-klang-txn-play/wrrnkrrm
The city of god ออกัสตินแบ่งสังคมของมนุษย์ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ครอบครัว เมืองพื้นโลกและมนุษย์บนโลก และจักรวาล จากคำว่าเมือง ออกัสตินแบ่งเป็น 2 ปรเภท ไ้แก่ครอบครัว เมืองพื้นโลกและมนุษย์บนโลก และจักรวาล จากคำว่าเมือง ออกอัสตินแบ่งเป็น 2 ประเภทคือเมืองของพรเจ้ากับเมืองมนุษย์ หัวใจของเรื่องคือ การเปรียบเทียบจักรวรรดิโรมันซึ่งเป็นอาณาจักรทางฆารวาส และ city of god หมายถึงถึงศาสนจักร เคน เป้นผุ้ก่อตั้งเมืองแรก ดังนั้จึงเป็นเมืองชั่วร้าย ส่วน ซิตี ออฟ ก็อท เป็นอาณาจักรทางศาสนาของพระเจ้า ศาสนตักรมีรากฐานตากพระเจ้าและเป็นภาพสะท้อนขอ
อาณาจักรบนสวรรค์ เขาสรุปว่า โลกนีประกอบด้วยเมืองสัญลักษณ์ 2 เมือง คือเมืองแห่งความดีและเมืองแห่งความชั่ว โดยเมืองแห่งความดีคือตัวแทนแห่งพระเจ้า เมืองแห่งความชั่วคือมเืองขอปีศาจ
ประวัติศาสตร์ของมนุษย์เป็นตกาต่อู้ระหว่งอำนาจ 2 อย่าง จุดมุ่งหมายของการต่อสู้ก็เพ่อจะตัดสินว่ามนุษย์จะได้รับความรอดหรือการสาปแช่งชั่วนิรันดร์ จุดประสงค์ของชีวิตแต่ละคนคือ การมีความสัมพันะ์ที่เหมาะสมกับพระเจ้า จากทัศนคตินี้ประวัติศาสตร์ คือ บันทึกการติดต่อระหว่างพระเจ้าและมนุษย์ ศูนย์กลางของประวัติศาสตร์ก็คือ ชีวิตของพระเยซูเจ้า แบ่งเป็นสมัยก่อนพระเยซู เร่ิมขึ้นตั้งแต่อดัมเกิดขึ้นถึงการประสูตรของพระเยซู
ประวัติาสตร์ คือ การเตียนมตัวของมนุษย์มุ่งสร้าความรอดโดยผ่านพระเยซู เร่มขึ้นตั้งแต่อดัมเกิขึ้นถึงการประสูตรของพระเยซูประวัติศาสตร์คือ การเรียมตัวของมนุษย์มุ่งสร้างความรอดโดยผ่านพระเยซู ซึ่งอดัมเป้นคนที่ 2 การเรครยมการนี ออกัสตินได้แบ่งระยะเวลาประวัติศาสตร์ออกเป็ยุคต่างๆ ดังนี ยุคที่ 1 นับตั้งแต่พระเจ้าสร้างมนุษย์คนแรก คืออดัม ไปจนถึงน้ำท่วมโลกและเรื่องของโนอาห์ ยุคที่ 2 จากโนอาห์ถึงสมัยของอับราฮัม บรรพบุรุษของชาวยิว ยุคที่ 3 จากสมัยอับราฮัมถึงสมัยพรเจ้าเดวิด กษัตริย์ยิวทีทรงสร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ราชอณาจัร ยุคที่ 4 ากสมัยกษัตริย์เดวิดจนึงเมือถึงการเนรเทศครั้งใหญ่ ยุคที่ 5 จากสมัยเนรเทศครั้งใหญ่จนถึงกำเนิดของพระคริสต์ ยุคที่ 6 ยุคปัจจุบน ซึ่งออกัสตินเรียกว่า "มิลเลเนียม" ซึ่งแปลว่า หนึ่งพันปี แต่ออกัสตินไม่ได้หมายึวามว่าจะเป็นเวลา หนึ่ง
พันปี จริงๆ เพราะเขาให้เหตุผลว่า พระเจ้าเท่านั้นที่ทรงทราบ" ว่าจะยาวนาสสักเีพยงใด ยุคที่ 7 "วันสะปาโต"หรือวันหยุดของพวกยิว ออกัสตินหมายถึงสมัยที่พระผุ้เป็นเจ้าจะโปรดผุ้รอด หรือวันแห่งการตคัดสินครั้เงสุดท้าย ยุคที่ 8 ออกัสตินเรียกว่า วันของพระผุ้เป็น ถือว่า เป็นวันที่ 8 และวันอันยืนยาวชั่วกัลปาวสาน อันประกอบด้วยการตือพระชนม์ของพระคริสต์เจ้า การกลับคืนรูปจากการพักผ่นชั่วกัลป์ ไม่เพียงแต่ในรูปของจิตวิญญาณเท่านั้น หากในรูปของร่างกายด้วย ณ ที่นั้น เราจะได้พักผ่อนและชมและรักและสรรเสริญ นี้คคืออวสานที่ปราศจากอวสาน...
นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์ ได้สรุปการแบ่งยุคของออกัสติน คือ ในยุคต่างๆ ทั้งหมดนี้ ดดยเฉาพะยุคที่ผ่านมาแล้วจนถึงปัจจุบัน ออกัสตินถือว่าการกำเนิดของพระเยซูคริสต์เป็นเหตุการสำคัญที่สุด เหตุการณ์ในทุกยุคย่อมมีศูนย์กลาวที่ชีวิตของพระเยชู เหตุการณ์ก่อนหน้าพระเยซุก็เกิดขึ้นเพื่อทำให้โลกอยุ่ในสภาวะที่พร้อมจะรับการกำเนิดของพระมหาไถ่ เพื่อที่พระมหาไถ่สามารถปฏิบัติภาระกิจของพระองค์ได้สะดวก เหตุการณ์หลังจากชีวิตของพระเยซูก้ล้วนเป็นผลสืบเนื่องมาจากการไถ่บาปของพระองค์ เรื่องราวของมนุาย์หลังจากนันคอ เรื่องราวของการขยายตัวของคริสตศาสนา มีเหตุการณ์เด่น ๆ เช่น การรับศาสนามิได้ และการถือเอาเป็นเกิดของพระเยซูเป็นศุนย์กลางของประวัติศาสตร์ของมนุษย์อย่างแท้จริง ถ้าจะแบ่งยุคของประวัติศาสตร์อย่างชัดเจนที่สุดแล้ว ก็มีแต่ยุค ก่อนพระเยซูกำเนิด และยุคหลังจากพระเยซูกำเนิด แล้วเท่านั้น ตามความคิดของออกัสติน ประวัติศาสตร์ของมนุษย์มีเป้าหมาย เป้าหมายคือการได้รับความรอดชั่วนิรันดร์ พระเจ้าจะชขนะการต่อสู้ระหว่างความดีและความเลว เื่พอความอยุ่รอดของมนุษย์ พระองค์จะประทานรางวัลแก่มนุษย์ผุ้ยังมิได้เสื่อมศรัทธาต่อความสามารถของพรเจ้า จากทฤษฎีนี้แสดงให้เห็นว่าความสำเร็จทางวัตถุไม่มีความสำคัญและโลกเป็นเพียงห้องสำหรับรอคอยเพื่อรอรับhttps://www.gotoknow.org/posts/422616
ความรอด ออกัสตินได้อธิบายเรื่องความดีความชั่วในตัวมนุษย์ไปในขณะเดียวกัน หรือการเป็น 2 นครในขณะเดียวกัน คือ เทวนครในขณะเดียวกัน คือ เทวนครคือนครที่ประกอบไปด้วยความดีงามอันสูงส่ง ส่วนมนุษยนครคื อกายที่ใฝ่ต่ำ วิญญาณที่เป็นของสูงแสดงออกได้ก็แต่กายใฝ่ต่ำลักษณะเช่นนนี้จึงทำให้การปลีกเลี่ยวไม่ทำความช่วของมนุษย์หรือการที่จะตออยู่ในมนุษย์นครนั้นเป็นสิ่งหลีเลี่ยงได้ยากแต่ออกัสตินได้เสนอแนะว่า ถ้ามนุษย์จงรักภักดีและเชื่อฟังต่อพรเจ้า สวดอ้อนวอนและระลึกถึงพระเจ้าทุกขณะจิตแล้วมนุษย์จะสามารถหลีกเลี่ยงการอยู่ในมนุษยนครได้ นอกจากนี้ออกัสตินยังได้อธิบยจุหมายปลายทางสูงสุดของ 2 นครไว้ว่า ความสุขใดไม่มีความทุกขืเจือปน ความสุขนั้นเป้นความสุขนิรันดร์ ไม่มีวันดับสูญ ความสุขนี้มิได้อยู่ในโลกแต่อยู่ในชีวิตนิรันดร์ บุคคลที่จะอยู่ในชีิวิตนิรันด์นี้ย่อมขึ้นอยุ่กับการตัดสินจองพระเจ้าใจครั้งสุดท้ย นั้นคือเมื่อวาระสุดท้ายของโลกมาถึง พรเจ้าจะเสด็จมายังโลกมนุษย์อี พระเจ้จะทรงฟื้นมนุษย์ทั่้งหลายที่เสียชีวิตไปหมดแล้วใหมีชีวิตขึ้นจมาใหา่ หลังจากนั้นพรเจ้าจะทรงพิพากษาแบ่งแยดว่าผุ้ใดที่จะได้ไปอยู่ในเทวนครคือชีวิตที่มีความเป็นนิรันด์กับพระเจ้า และผุ้ใดที่จะต้องถุกลงโทษโดยกรต้องไปทนทุกข์ทรมานกับซาตานในนคร เคน ได้เป็นผุ้ก่อตั้งเมืองแห่งปีศาจหรือมนุษยนคร ดังนั้น เมืองของปีศาจจึงเป้นเมืองแห่งความชั่วร้าย ส่วนเทวนครจึงเป้ฯอาณาจักรของพระเจ้า ศาสนจักรมีรากฐาน และเป็นภาพสะท้อนของอาณาจักรบนสวรรค์ นั่นคือ โลกนี้ประกอลด้วยเมืองสัญลักษณ์ 2 เมือง คือ เมืองแห่งความดีและเมืองแห่งความชั่ว เมืองแห่งความดีเป็นตัวแทนแห่งพระจเ้า เมืองแห่งความชั่วเป็นตัวแทนแห่งปีศาจ
วันเสาร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2561
classical era
สมัยคลาสสิก เป็นคำที่ใช้กว้างๆ สำหรับสมัยประวัติสษสตร์วัฒนธรรมที่ีศูนย์กลางบู่ในริเวณเมดิเอตเรเนียน ที่ประกอบดวยการปสมปสานระหว่างกรีกโบราณ และโรมัน โบราณ ที่เรียกว่า โลกกรีก โรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและลาตินมีความรุ่งเรือง
สมัยคลาสสิคถือกันว่าเริ่มขึ้นเมือมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ราวศตวรรษที่ 8 -7 ก่อนคริต์ศตวรรษ และดำเนินต่อมาจนกระทั่งถึงสมัยการเผพแพร่ของคริสต์ศาสนา และการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในคริสต์สตวรษที่ 5 จนมาสิ้นสุดลงในปลายสมัยโบราณตอนปลาย ราว ค.ศ. 300 - 600 ผสานต่อไปยัง สมับกลางตอนต้น ยุคสมัยอันยาสนานนีครอบคลุมวัฒนธรรมที่แตกต่างกันในหลายบริเวณของช่วงระยะยเวลนั้น สมัยคลาสสิคอาจจะหมายถึงสมัยอันเป้นสมัยอุดมคติโดยผุ้คนในสมัยต่อมา ตามคำกล่าวของเอคการ์ อัลเลน โพ ที่ว่า ไความรุ่งโรจน์ของกรีก, ความยิ่งใหญ่ของโรมัน
วัฒนธรรมของกรีซโบราณมีอิทธิพลเป็นอันมากต่อภาษาระบบการปกครอง ระบบการศึกษา ปรัชญา วิทยาศาสตร์ ศิลปะและสถาปัตยกรรมของยุคใหม่ และเปนเชื่อที่นำมาสู่ยุคฟื้นฟุศิลปวิทยา ต่อมาในยุดรปตะวันตก และต่อมาในยุคฟื้นฟุคลาสสิคในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 /th.wikipedia.org/wiki/สมัยคลาสสิก
ภาษาละติน เป็นภาษาของชาวโรมันโบราณซึ่งอสศัยอยู่แคว้นละที่อุม (Latīum ปัจจุบันคือเมือง ลาซีโอ้) บริเวณรินชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอิตาลี โดยมีโรม เป้นศุนยกลางของแคว้น ภาษาละตินที่อยุ่ภายในตำราวิกิฉบับนี้จะเป็นภาษาที่ชาวโรมใช้กันเมื่องสองพันปีที่แล้ว อันเป็นช่วงเวลาทองแห่งงรรณกรรมโรมัน
/th.wikibooks.org/wiki/ภาษาละติน
การเรียนภาษาละตินเป็นสะพานไปสู่ความสำเร็จของการศึกษาภาษา วรรณกรรม และศิลปะวิทยาการของประเทศในแถบยุโรป ตั้งแต่ครั้งโบราณ วรรณกรรม ศิลปะวิทยาการ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ คัมภีร์ทางศาสนา ถุกถ่ายทอดผ่านภาษาละติน ในสมัยก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม ภาษาละตินถูกใช้เป็นภาษากลางสำหรับวงการวิทยาศาสตร์ผลงานวิชาการของนักวิทยศาสตร์ เช่น ไอแซค ล้วนตีพิมพ์ด้วยภาษาละติน..
ผลจากการขุดค้นทางโบราณคดี เมื่อทศวรรษ 1870s และทศวรรษ 1880s ที่เมืองทรอย และเมืองไนซีเน ทำให้ทราบว่าอายธรรมกรีกปรากฎครั้งแรกที่เกาครีต
อารยธรรมไมนวลของชาวครีตันมีความเจริญสูงสุดระกว่าง 1800-1500 ปี ก่อนคริสตศักราช เรียกว่า "ยุคพระราชวัง " อาชีพสำคัญของชาวครีตันคือ เป็นพ่อค้าจนกลางค้าขายกับชาวอียิปต์ เอเชียไม่เนอ อนาโตเลีย ซีเรียและแอฟริการเหนือ สินค้าสำคัญคือ ข้าวสาลี ไวน์ น้ำมันมะกอก แร่ดีบุก ทองแดง ทองเหลืองและเครื่องปั่นดินเผ่าหลากสี
ชาวครีตันยกย่องสตรีและนับถือแม่ธรณีเป็นเทพเจ้าสูงสุด เทเจ้าของพวกเขามีลักาณะเป็นมนุษย์มากกว่าและให้คุณมากกว่าโทษ ทำให้ไม่นิยมสร้างวัด ชาวรีตันถุกชาวไม่ซีเนจากแผ่นดินใหญ่รุกรานและยึดครองเมื่อประมาณ 1500 ก่อนคริสตาล ต่อมาชาวไม่ซีเนได้นำอารยธรรมไมนวลของชาวครีตันขึ้นไปเผยแพร่บนผืนแผ่นดินใหญ่ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองไมซีเน กลายเป็นอายธรรมไมซีเน
ในช่วง 700 ปี ก่อนคริสตกาล กษัตริย์ต้องสูญเสียอำนาจด้านการเมืองและการปกครองแก่ขุนนาง แต่หลังจากนั้นไม่นานนักได้เปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย
500 ปีก่อนคริสตกาล เอเธนส์เป็นศูนยกลางของอารยธรรมกรีก ทำให้มีความเจริญทางด้านปรัชญา อักษรศาสตร์ ศิลปะ การแพทย์ ดาราศาสตร์อยางรวดเร็ว
สงครามเพลโลดฑนีเซียน เกิดจากการที่นครรัฐสปาร์ตาซึ่งเป็นรัฐทหารไม่พอใจต่อความรุ่งเรืองของนครรัฐเอเธนส์ จึงร่วมมือกับรัฐน้อยใหญ่เข้าโจมตีนครรัฐเอเธนส์เพื่อชิงความเป็นผู้นำของนครรัฐต่างๆ ผลที่ตามคือความหายนะของนครรัฐกรีกทั้งหมด
การมีอำนาจของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แห่งรัฐมาซิโเนียก่อนนครรัฐกรีกเสื่อม ยุคนี้กรีกสามารถขยายดินแดนครอบคลุทเอเชียไมเนอร์เปอร์เซียอียิปต์และอินเดียในยุคนี้ศิลปะวัฒนธรรมกรีกขึ้นที่เมืองอเลกซานเดียในอาณาจักรอียิปต์ด้วย
ชาวกรีกนิยมสร้างวิหารนเนินดินหรือภูเขาเล็กๆเรียกว่า อะโครโพลิส วิหารสำคัญคือวิหารพาร์เธนอน สำหรับประดิษฐ์รูปเคารพของเทพีอะเธนา ลักาณะเด่นคือด้านนอกใช้เสาแบบคอริก ด้านในใช้เสาปบบไอโอนิก
ชาวกรีกเชื่อในเทพเจ้าหลายองค์แต่เทพเจ้ากรีกมีอารมณืความรู้สึกเช่นเดียวกับมนุษย์ พวกเขาเชื่อว่าเทพเจ้าทั้งหมดประทับอยู่บนยอดเขาโอลิมปัส มีเทพเจ้าซุสหรือเซอุส เป็นประมุข
ชาวอีทรัสกันตั้งชุมชนบริเวณที่ตั้งของชาวกรุงโรมก่อนชาวละติน บริเวณกรุงโรมเป็นที่ตั้งชุมชนของชาวอีทรัสกน เมื่อชาวอีทรัสกันอพยพเข้ามายังคาบสมุทรอินเดียวแล้วได้นำอารยธรรมชาวกรีกเข้ามาด้วย ชาวละตินขับไล่กษัตริย์ชาวอีทรัสกนแล้วปกครองแบบสาธารณรัฐ ขึ้นอำนาจการปกครองสาธารณรัฐโรมันในมือของชนชั้นสูงคือพวกแพทริเซียน
การเปลี่ยนแปลงการหครองของอาณาจักรโรมันจากระบอบสาธารณรัฐเป็นระบอบกษัตริย์ ระหวางปี 133-130 ก่อนคริสศักราช ชนชั้นปกครองและฝ่ายทหารได้แยงชิงอกนาจกันเอง ปีที่ 31 ก่อนคริสตศักราช ออกเทเวียนแม่ทัพสำคัญหลายชายของจูเลียสซีซาร์มีอำนาจทางทหาร ส่งผลให้เขาสามารถปราบปรามมาร์ก แอนโธนี ทำให้โรมเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสาธารณรัฐเป็นระบอบจักรวรรดิแทน ออกเทเวียนทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรก มีสมญานามว่าออกัสตัส ส่งผลใหมีการขยายดินแดนและอารยธรรมออกไปอย่างกว้างขวาง..http://kunanyazii.blogspot.com/2011/02/3.html
สมัยคลาสสิคถือกันว่าเริ่มขึ้นเมือมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ราวศตวรรษที่ 8 -7 ก่อนคริต์ศตวรรษ และดำเนินต่อมาจนกระทั่งถึงสมัยการเผพแพร่ของคริสต์ศาสนา และการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในคริสต์สตวรษที่ 5 จนมาสิ้นสุดลงในปลายสมัยโบราณตอนปลาย ราว ค.ศ. 300 - 600 ผสานต่อไปยัง สมับกลางตอนต้น ยุคสมัยอันยาสนานนีครอบคลุมวัฒนธรรมที่แตกต่างกันในหลายบริเวณของช่วงระยะยเวลนั้น สมัยคลาสสิคอาจจะหมายถึงสมัยอันเป้นสมัยอุดมคติโดยผุ้คนในสมัยต่อมา ตามคำกล่าวของเอคการ์ อัลเลน โพ ที่ว่า ไความรุ่งโรจน์ของกรีก, ความยิ่งใหญ่ของโรมัน
วัฒนธรรมของกรีซโบราณมีอิทธิพลเป็นอันมากต่อภาษาระบบการปกครอง ระบบการศึกษา ปรัชญา วิทยาศาสตร์ ศิลปะและสถาปัตยกรรมของยุคใหม่ และเปนเชื่อที่นำมาสู่ยุคฟื้นฟุศิลปวิทยา ต่อมาในยุดรปตะวันตก และต่อมาในยุคฟื้นฟุคลาสสิคในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 /th.wikipedia.org/wiki/สมัยคลาสสิก
ภาษาละติน เป็นภาษาของชาวโรมันโบราณซึ่งอสศัยอยู่แคว้นละที่อุม (Latīum ปัจจุบันคือเมือง ลาซีโอ้) บริเวณรินชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอิตาลี โดยมีโรม เป้นศุนยกลางของแคว้น ภาษาละตินที่อยุ่ภายในตำราวิกิฉบับนี้จะเป็นภาษาที่ชาวโรมใช้กันเมื่องสองพันปีที่แล้ว อันเป็นช่วงเวลาทองแห่งงรรณกรรมโรมัน
/th.wikibooks.org/wiki/ภาษาละติน
การเรียนภาษาละตินเป็นสะพานไปสู่ความสำเร็จของการศึกษาภาษา วรรณกรรม และศิลปะวิทยาการของประเทศในแถบยุโรป ตั้งแต่ครั้งโบราณ วรรณกรรม ศิลปะวิทยาการ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ คัมภีร์ทางศาสนา ถุกถ่ายทอดผ่านภาษาละติน ในสมัยก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม ภาษาละตินถูกใช้เป็นภาษากลางสำหรับวงการวิทยาศาสตร์ผลงานวิชาการของนักวิทยศาสตร์ เช่น ไอแซค ล้วนตีพิมพ์ด้วยภาษาละติน..
ผลจากการขุดค้นทางโบราณคดี เมื่อทศวรรษ 1870s และทศวรรษ 1880s ที่เมืองทรอย และเมืองไนซีเน ทำให้ทราบว่าอายธรรมกรีกปรากฎครั้งแรกที่เกาครีต
อารยธรรมไมนวลของชาวครีตันมีความเจริญสูงสุดระกว่าง 1800-1500 ปี ก่อนคริสตศักราช เรียกว่า "ยุคพระราชวัง " อาชีพสำคัญของชาวครีตันคือ เป็นพ่อค้าจนกลางค้าขายกับชาวอียิปต์ เอเชียไม่เนอ อนาโตเลีย ซีเรียและแอฟริการเหนือ สินค้าสำคัญคือ ข้าวสาลี ไวน์ น้ำมันมะกอก แร่ดีบุก ทองแดง ทองเหลืองและเครื่องปั่นดินเผ่าหลากสี
ชาวครีตันยกย่องสตรีและนับถือแม่ธรณีเป็นเทพเจ้าสูงสุด เทเจ้าของพวกเขามีลักาณะเป็นมนุษย์มากกว่าและให้คุณมากกว่าโทษ ทำให้ไม่นิยมสร้างวัด ชาวรีตันถุกชาวไม่ซีเนจากแผ่นดินใหญ่รุกรานและยึดครองเมื่อประมาณ 1500 ก่อนคริสตาล ต่อมาชาวไม่ซีเนได้นำอารยธรรมไมนวลของชาวครีตันขึ้นไปเผยแพร่บนผืนแผ่นดินใหญ่ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองไมซีเน กลายเป็นอายธรรมไมซีเน
ในช่วง 700 ปี ก่อนคริสตกาล กษัตริย์ต้องสูญเสียอำนาจด้านการเมืองและการปกครองแก่ขุนนาง แต่หลังจากนั้นไม่นานนักได้เปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย
500 ปีก่อนคริสตกาล เอเธนส์เป็นศูนยกลางของอารยธรรมกรีก ทำให้มีความเจริญทางด้านปรัชญา อักษรศาสตร์ ศิลปะ การแพทย์ ดาราศาสตร์อยางรวดเร็ว
สงครามเพลโลดฑนีเซียน เกิดจากการที่นครรัฐสปาร์ตาซึ่งเป็นรัฐทหารไม่พอใจต่อความรุ่งเรืองของนครรัฐเอเธนส์ จึงร่วมมือกับรัฐน้อยใหญ่เข้าโจมตีนครรัฐเอเธนส์เพื่อชิงความเป็นผู้นำของนครรัฐต่างๆ ผลที่ตามคือความหายนะของนครรัฐกรีกทั้งหมด
การมีอำนาจของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แห่งรัฐมาซิโเนียก่อนนครรัฐกรีกเสื่อม ยุคนี้กรีกสามารถขยายดินแดนครอบคลุทเอเชียไมเนอร์เปอร์เซียอียิปต์และอินเดียในยุคนี้ศิลปะวัฒนธรรมกรีกขึ้นที่เมืองอเลกซานเดียในอาณาจักรอียิปต์ด้วย
ชาวกรีกนิยมสร้างวิหารนเนินดินหรือภูเขาเล็กๆเรียกว่า อะโครโพลิส วิหารสำคัญคือวิหารพาร์เธนอน สำหรับประดิษฐ์รูปเคารพของเทพีอะเธนา ลักาณะเด่นคือด้านนอกใช้เสาแบบคอริก ด้านในใช้เสาปบบไอโอนิก
ชาวกรีกเชื่อในเทพเจ้าหลายองค์แต่เทพเจ้ากรีกมีอารมณืความรู้สึกเช่นเดียวกับมนุษย์ พวกเขาเชื่อว่าเทพเจ้าทั้งหมดประทับอยู่บนยอดเขาโอลิมปัส มีเทพเจ้าซุสหรือเซอุส เป็นประมุข
ชาวอีทรัสกันตั้งชุมชนบริเวณที่ตั้งของชาวกรุงโรมก่อนชาวละติน บริเวณกรุงโรมเป็นที่ตั้งชุมชนของชาวอีทรัสกน เมื่อชาวอีทรัสกันอพยพเข้ามายังคาบสมุทรอินเดียวแล้วได้นำอารยธรรมชาวกรีกเข้ามาด้วย ชาวละตินขับไล่กษัตริย์ชาวอีทรัสกนแล้วปกครองแบบสาธารณรัฐ ขึ้นอำนาจการปกครองสาธารณรัฐโรมันในมือของชนชั้นสูงคือพวกแพทริเซียน
การเปลี่ยนแปลงการหครองของอาณาจักรโรมันจากระบอบสาธารณรัฐเป็นระบอบกษัตริย์ ระหวางปี 133-130 ก่อนคริสศักราช ชนชั้นปกครองและฝ่ายทหารได้แยงชิงอกนาจกันเอง ปีที่ 31 ก่อนคริสตศักราช ออกเทเวียนแม่ทัพสำคัญหลายชายของจูเลียสซีซาร์มีอำนาจทางทหาร ส่งผลให้เขาสามารถปราบปรามมาร์ก แอนโธนี ทำให้โรมเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสาธารณรัฐเป็นระบอบจักรวรรดิแทน ออกเทเวียนทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรก มีสมญานามว่าออกัสตัส ส่งผลใหมีการขยายดินแดนและอารยธรรมออกไปอย่างกว้างขวาง..http://kunanyazii.blogspot.com/2011/02/3.html
วันพฤหัสบดีที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2561
lIiad, Odyssey
อิเลียด หรือมหากาพย์สงครามกรุงทรอย เป็นกวีนิพนธ์เล่าเรื่อง จากการบันทึกเป็นลายลักษณ์ของกวีตาบอดนาม โฮเมอร์ เล่ากันว่ากำเนิดของเทพปกรฌัมกรีกในรูปแบบการเขียน เร่ิมต้นทีโฮเมอร์ เขียนถึงอิเลียดเล่าถึงเหตุการณ์ช่วงสุดท้ายของสงครามกรุงทรอย เมื่อภัยพิบัติจากเทพเจ้ายุติลงพร้อมกับการแตกคอของแม่ทัพฝ่ายกรีก อะกาเมมนอน กับอะคิลลีส ทำให้สถานการณ์พลิกผัน การรบอันดุเดือดยังดำเนินต่อไป
อิเลียด มีอีกชื่อหนึ่งว่า "ลำนำแห่งอิเลียน" ในภาษากรีก หรือ "ลำนำแห่งอิเลียม" ในภาษาละติน ซึ่ง "อิเลียน" หรือ "อิเลียม" เป็นอีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกชาวเมืองทรอย นอกจาก ชาวโทรจัน
อิเลียนด อาจเป็นชื่อเรียกที่คนสนใจวรรณกรรมรู้จักเป็นอย่างดีในฐานะวรรณกรรมสำคัญแห่งยุคอารยธรรมคลาสสิค (อารยธรรมกรีก โรมัน) แต่สำหรับบุคคลทั่วไปอาจไม่คุ้นหูนักแต่แน่นอนว่าพวกเขาต้องเคยได้ยินตำนานสงครามกรุงทรอยหรือเฮเลนแห่งทรอยแย่างแน่นอน สองเรื่องเล่านี้คือเรื่องเดียวกัน แต่ขอบเขตของอิเลียดจะเน้นอยู่ที่ช่วงสุดท้ายของสงครามมากกว่าจะเล่าภาพรวมทัี้งหมดของสงคราม เหตุเกิดสงครามในอิเลียตกล่าวถึงการตัดสินใจของปารีส เพียงสั้นๆ และเหตุการณ์ม้าไม้เมืองทรอย อันเป้นจุดสิ้นสุดของสงครามอ่างแท้จริงได้อล่าวถึงไว้ในโอดิสซี มหากาพย์อีกเรื่องของโอเมอร์
เหตุของสงครามกรุงทรอยว่ากันว่ามาจากการที่ปารีส เจ้าชายแห่งเมืองทรอยลักพาตัว เอเลนแห่งสปาร์ตา ภรรยาของกษัตรยิืเมเนลัสแห่งสปาร์ตา มาเป็นหยิงงามคู่ใจตน ทำให้เหล่าวีรบุรุษกรีกต้องรวมตัวกันเพื่อชิงตัวเฮเลนกลบคืนมาแต่สาเหตุแท้จริงของสงครามครั้งนี้เกิดจากความขัดแย้งของทวยเทพมากว่ามนุษย์เสียอีก
เมื่อ เอรีส เทพีแห่งความขัดแย้งไม่ได้รับเชิญไปงานแต่างงานของพ่อแม่อะคิลลีส ด้วความโกรธเธอจึงโยแอปเปิลสีทองสลักว่า "แด่ผุ้ที่งดงามที่สุด" ไปกลางงาน บรรดาเทพีต่างแย่งชิงที่จะเป็นผุ้งดงามที่สุด สุดท้ายจึงเหลือเทพีเข้าชิงเพียง เฮร่า อธีนา่ และ อโฟรไดที เทพีทั้งสามไปขอให ซุส ตัดสิน ทว่า ซุสบ่ายเบียงให้เจ้าขายปารีสแห่งเมืองทรอยตัดสินแทน แน่นอนว่าเทพีท้งสามต่างติดสินบนปารีสด้วยของเสนอต่างๆ สุดท้ายข้อเสนอของอโฟรไดทีต้องใจปารีสมากที่สุด ข้อเสนอที่ว่าจะได้หญิงที่งามที่สุดในโลกเปนภรรยา จากข้อเสนอนั้นทำให้ปารีสชิงตัวเฮเลนได้สำเร็จด้วยความช่วยเหลือจาอโฟไดที
อย่างที่รู้กันว่าจุดจบของกรุทรอยอยุ่ที่บรรดาทหารกรีกออกอุบายส่งม้าไม้บรรณาการแก่พวกทรอย ในม้าไม้ขนาดยักษ์น้นเต็มไปด้วยทหารกรีกที่พร้อมโจมตีกรุงทรอยให้พินาศย่อยยับ แต่ในความเป็นจริงแล้วเนื่องเรื่องสิ้นสุดลงที่ศพของ เฮกเตอร์ วีรบุรุษฝ่ายทรอยได้รับการฝังตามธรรมเนียม
รายละเอียดกลศึกม้าไม้เมืองทรอยที่เลื่องลือนั้น ปรากฎรายละเอียดใน โอดีสซี ที่เล่ากถึงการเดินทางกลับบ้านของวีรบุุษโอดิสซีหลังจากที่ฝ่ายกรีกตีกรุงทรอยล่มสลาย รวมถึงเล่อย่างละเอียดไว้ใน เอเนียด มหากาพยตำนานการอพยพของชาวโทรจันมาตั้งถ่ินฐานใหม่ท่คาบสมุทรอิตาลี
อิเลียด เป็นเรื่องเล่าเก่าแก่ ที่ไม่มีวันตาย คำศัพท์หลายคำใน ดิกชันนารี มาจากเรื่องเล่านี อาทิ Trojan Horse หมายถึงเล่ห์กลแผงในส่ิงที่ดุไม่เป็นอัตราย หรือ Achills' heel หมายถึง จุดอ่อนหรือจุดตาย นอกจากนี้ยังถุกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์อย่าง ทรอย (2004)
http://readerycafe.com/posts/391
โอดีสซ๊ย์ เป็นบทประพันธ์มหากาพย์กรีกโบราณ หนึ่งในสองเรื่องโฮเมอร์ คาดว่าประพันธ์ขึ้นในราว 800 ปีก่อนคริสตกาล ที่แค้วนไอโอเนีย ดินแดนชายทะเลฝั่งตะวันตกของตุรกีซึ่งอยู่ในอาณัติของกรีก บทกวีเล่าเรื่องราวต่อจากอีเลียดว่า ด้วยการเดินทาวกลับบ้านที่อะาคาของวีรบุรุษกรีกชื่อ โอดิซุส (หรือยูลิซิส ตามตำนานโรมัน ) หลังจากการล่มสลายของทรอย
โอดิซูสใช้เวบลาเดินทางกลับบ้านนานถึง 10 ปี หลังจากที่ใช้เวลาไปในศึกเมืองทรอยแล้วถึง 10 ปี ระหว่างเวลาเหล่านั้น เทเลมาคัย บุตของเข้า และพีเนโลปผุ้ภรรยา ต้องต่อสู้กับกฃุ่มคนพาลที่พยายามจะของวิวาห์กับพิเนโลป เพราะต่างคิดว่าโอดิซูสเสียชีวิตแล้ว
บทกวีชุดนี้เป็นรากฐานสำคัญต่องานวรรณกรรมตะวันตกยุคใหม่เรียกได้ว่าเป้ฯอันดับสองรองจากอีเลียอ มีการศึกษาและแปลออกเป็นภาษาต่างๆ มากมายทั้งโลก เชื่อว่าบทกวีเร่ิมแรกประพันธ์ขึ้นในลักาณะวรรกรรมมุขปาฐะ เืพ่อาการขับร้องลำนำของเล่านักดนตรีมากว่าเพื่อการอ่าน ใช้ฉันทลักา์แบบ dactylic hexameterประกอบด้วยบทกวี 12.110 บรรทัด...th.wikipedia.org/wiki/โอดิสซีย์
อิเลียด มีอีกชื่อหนึ่งว่า "ลำนำแห่งอิเลียน" ในภาษากรีก หรือ "ลำนำแห่งอิเลียม" ในภาษาละติน ซึ่ง "อิเลียน" หรือ "อิเลียม" เป็นอีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกชาวเมืองทรอย นอกจาก ชาวโทรจัน
อิเลียนด อาจเป็นชื่อเรียกที่คนสนใจวรรณกรรมรู้จักเป็นอย่างดีในฐานะวรรณกรรมสำคัญแห่งยุคอารยธรรมคลาสสิค (อารยธรรมกรีก โรมัน) แต่สำหรับบุคคลทั่วไปอาจไม่คุ้นหูนักแต่แน่นอนว่าพวกเขาต้องเคยได้ยินตำนานสงครามกรุงทรอยหรือเฮเลนแห่งทรอยแย่างแน่นอน สองเรื่องเล่านี้คือเรื่องเดียวกัน แต่ขอบเขตของอิเลียดจะเน้นอยู่ที่ช่วงสุดท้ายของสงครามมากกว่าจะเล่าภาพรวมทัี้งหมดของสงคราม เหตุเกิดสงครามในอิเลียตกล่าวถึงการตัดสินใจของปารีส เพียงสั้นๆ และเหตุการณ์ม้าไม้เมืองทรอย อันเป้นจุดสิ้นสุดของสงครามอ่างแท้จริงได้อล่าวถึงไว้ในโอดิสซี มหากาพย์อีกเรื่องของโอเมอร์
เหตุของสงครามกรุงทรอยว่ากันว่ามาจากการที่ปารีส เจ้าชายแห่งเมืองทรอยลักพาตัว เอเลนแห่งสปาร์ตา ภรรยาของกษัตรยิืเมเนลัสแห่งสปาร์ตา มาเป็นหยิงงามคู่ใจตน ทำให้เหล่าวีรบุรุษกรีกต้องรวมตัวกันเพื่อชิงตัวเฮเลนกลบคืนมาแต่สาเหตุแท้จริงของสงครามครั้งนี้เกิดจากความขัดแย้งของทวยเทพมากว่ามนุษย์เสียอีก
เมื่อ เอรีส เทพีแห่งความขัดแย้งไม่ได้รับเชิญไปงานแต่างงานของพ่อแม่อะคิลลีส ด้วความโกรธเธอจึงโยแอปเปิลสีทองสลักว่า "แด่ผุ้ที่งดงามที่สุด" ไปกลางงาน บรรดาเทพีต่างแย่งชิงที่จะเป็นผุ้งดงามที่สุด สุดท้ายจึงเหลือเทพีเข้าชิงเพียง เฮร่า อธีนา่ และ อโฟรไดที เทพีทั้งสามไปขอให ซุส ตัดสิน ทว่า ซุสบ่ายเบียงให้เจ้าขายปารีสแห่งเมืองทรอยตัดสินแทน แน่นอนว่าเทพีท้งสามต่างติดสินบนปารีสด้วยของเสนอต่างๆ สุดท้ายข้อเสนอของอโฟรไดทีต้องใจปารีสมากที่สุด ข้อเสนอที่ว่าจะได้หญิงที่งามที่สุดในโลกเปนภรรยา จากข้อเสนอนั้นทำให้ปารีสชิงตัวเฮเลนได้สำเร็จด้วยความช่วยเหลือจาอโฟไดที
อย่างที่รู้กันว่าจุดจบของกรุทรอยอยุ่ที่บรรดาทหารกรีกออกอุบายส่งม้าไม้บรรณาการแก่พวกทรอย ในม้าไม้ขนาดยักษ์น้นเต็มไปด้วยทหารกรีกที่พร้อมโจมตีกรุงทรอยให้พินาศย่อยยับ แต่ในความเป็นจริงแล้วเนื่องเรื่องสิ้นสุดลงที่ศพของ เฮกเตอร์ วีรบุรุษฝ่ายทรอยได้รับการฝังตามธรรมเนียม
รายละเอียดกลศึกม้าไม้เมืองทรอยที่เลื่องลือนั้น ปรากฎรายละเอียดใน โอดีสซี ที่เล่ากถึงการเดินทางกลับบ้านของวีรบุุษโอดิสซีหลังจากที่ฝ่ายกรีกตีกรุงทรอยล่มสลาย รวมถึงเล่อย่างละเอียดไว้ใน เอเนียด มหากาพยตำนานการอพยพของชาวโทรจันมาตั้งถ่ินฐานใหม่ท่คาบสมุทรอิตาลี
อิเลียด เป็นเรื่องเล่าเก่าแก่ ที่ไม่มีวันตาย คำศัพท์หลายคำใน ดิกชันนารี มาจากเรื่องเล่านี อาทิ Trojan Horse หมายถึงเล่ห์กลแผงในส่ิงที่ดุไม่เป็นอัตราย หรือ Achills' heel หมายถึง จุดอ่อนหรือจุดตาย นอกจากนี้ยังถุกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์อย่าง ทรอย (2004)
http://readerycafe.com/posts/391
โอดีสซ๊ย์ เป็นบทประพันธ์มหากาพย์กรีกโบราณ หนึ่งในสองเรื่องโฮเมอร์ คาดว่าประพันธ์ขึ้นในราว 800 ปีก่อนคริสตกาล ที่แค้วนไอโอเนีย ดินแดนชายทะเลฝั่งตะวันตกของตุรกีซึ่งอยู่ในอาณัติของกรีก บทกวีเล่าเรื่องราวต่อจากอีเลียดว่า ด้วยการเดินทาวกลับบ้านที่อะาคาของวีรบุรุษกรีกชื่อ โอดิซุส (หรือยูลิซิส ตามตำนานโรมัน ) หลังจากการล่มสลายของทรอย
โอดิซูสใช้เวบลาเดินทางกลับบ้านนานถึง 10 ปี หลังจากที่ใช้เวลาไปในศึกเมืองทรอยแล้วถึง 10 ปี ระหว่างเวลาเหล่านั้น เทเลมาคัย บุตของเข้า และพีเนโลปผุ้ภรรยา ต้องต่อสู้กับกฃุ่มคนพาลที่พยายามจะของวิวาห์กับพิเนโลป เพราะต่างคิดว่าโอดิซูสเสียชีวิตแล้ว
บทกวีชุดนี้เป็นรากฐานสำคัญต่องานวรรณกรรมตะวันตกยุคใหม่เรียกได้ว่าเป้ฯอันดับสองรองจากอีเลียอ มีการศึกษาและแปลออกเป็นภาษาต่างๆ มากมายทั้งโลก เชื่อว่าบทกวีเร่ิมแรกประพันธ์ขึ้นในลักาณะวรรกรรมมุขปาฐะ เืพ่อาการขับร้องลำนำของเล่านักดนตรีมากว่าเพื่อการอ่าน ใช้ฉันทลักา์แบบ dactylic hexameterประกอบด้วยบทกวี 12.110 บรรทัด...th.wikipedia.org/wiki/โอดิสซีย์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...