พาลาดิน มาจากภาษาละติน Palatine หมายความว่าของคนรับใช้อย่างเป็นทางการของรัฐบาล บางครั้งเรียกว่าทำเนียบสิบสอง เป็นนักรบที่สำคัญของ ชาร์ลเลอร์มาญ จากวรรณกรรมฝรังเศสที่รุ้จักกันดี พวกเขาปรากฎตัวครั้งแรในช่วงต้นของ Chansons de geste ใน "เพลงของ โรแลนด์" พวกเขาเป็นตัวแทนความกล้าหาญของคริสเตียนที่ต่อสู้กับซาราเซ้นส์
ในสมัยจักรวรรดิโรมันเรืองอำนาจ พาลาดิน คือนามของหนึ่งในเนินเขาทั้งเจ็ดอันเป็นที่ตั้งของกรุงโรม นครหลวงของจักรวรรดิโรมัน และยังเป็นที่ตั้งของราชสำนักในองค์ักระพพดิโรมัน ซึ่งได้สร้างขึ้นในรัชสมัยของออกุสตุส ซีซาร์ จักรพรรพิพระองค์แรก (คำว่า พาเลซ ) ซึ่งมีความหายว่า "พระราชวัง" ก็มีรากศัพท์มาจาก "พาลไทน์" เช่นกัน ดังนั้นในยุคแรกเร่ิม ความหมายที่แท้จริงของคำว่า "พาลาดิน" จึงหมายถึง "เหล่าผุ้ปกป้องราชสำนักของจักรพรรดิโรมัน" หรือก็คือ เหล่าราชองค์รักษณ์ของจักรพรรดิโรมันที่เรารู้จักกันใน นามว่่า "เพรโตเรียนการ์ด" นอกจากนี้คำว่า "พาลาดิน" ยังอาจมีที่มาจากตำแหน่งสมุหราชมณเ?ียรของราชสำนักโรมัน ( "โคเมส พาลาตินุส) อีกด้วย
ภายหลังจักรวรรดิโรมันล่มสลาย บทบาทของสมุหราชมณเฑียรและหล่าราชองค์รักษ์ของราชสำนักโรมันก็สิ้นสุดลง จนกระทั่ง ในสมยกลาง กษัตริย์ที่เข้มแข้งของชนเผ่รแฟรงค์ ได้โปรดนำธรรมเนียมบางอย่างของราชสำนักโรมันเดิม กลับมาใช้ซึ่งรวมถึงการตั้งตำแหน่งสมุหราชมณเฑียร ขึ้น และยังโรปดให้ตั้งกองทหาราชองึค์รักษ์แห่งราชสำนักแฟรงก์
"พาลาดิน" ปรากฎขึ้นชัดเจนในรัชสมัยของชาร์ลมาญ กษัตริยชนเผ่าแฟรงค์ ผุ้สถาปนาจักรวรรดิโรมันขึ้นอีกครั้งในนามว่า "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (จักรวรรดิโรมันภายใต้อาณัติของคริสตจักรโรมันคาทอลิก) ทั้งนี้เป้นผลมาจากการที่รัชสมัยของชาร์ลมาญ พระองค์ได้ทำการขยายอาณาจักรออกไปอย่างกว้างขวางจนไป กระทบกระทั่งกับพวกมุสลิมในคาบสมุทรไอบีเรีย (ประเทศสเปนในเวลต่อมา) และเหล่าอัศวินองครักษ์ของพระองค์ก็ได้มีบทบาทอย่างมาก ในการรบกับพวกมุสลิม (ซึ่งเป็นสงครามศาสนาในยุคแรกๆ ) จนกลายเป็นตำนานเล่าขานกันในหมู่อัศวินและกวีผุ้นับถือคริสต์ศาสนของยุโรปยุคหลังซึ่งได้เรียกพวกเขาว่า "เหล่าพาลิดินทั้งสิบสองของชาร์ลมาญ"
ท่ามกลางหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากมายที่ตกทอดจากสมัยอลางในรูปแบบต่างๆ ทั้งบันทึก บทกวีและงานเขียนวิชาการ ที่กล่าวถึงการกระทำของเหล่าพาลาดินแห่งราชสำนักแฟรงค์ในรัชสมัยชาร์ลมาญแล้ว บทเพลงแห่งโรลองด์ซึ่งเชื่อว่าประพันธ์ขึ้นในราวคริสต์วรรษที่ 12-14 (แต่ไม่ปรากฎนามผู้ประพันธ์) นับเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ได้กล่าวถึงวีรกรรมของเหล่าพาลาดิน ไว้ โดยบทเพลงนี้ได้กล่าวถึงวีรกรรมของโรลองด์ ผุ้เป็นหัวหน้าของสิบสองพาลาดินแลฃะมีศักดิ์เป็นหลานชายขอชาร์ลมาญว่า เป็นอัสวินผุ้ยอมสละชีพของตนเพื่อปกป้องกองทัพแฟรงค์ จากการตามตีของพวกมุสลิมในสเปน ให้สามารถถอยทัพออกจากช่องเขาพิเรนิส ได้อย่างปลอดภัยนอกจากนี้หลักฐานชิ้นดังกล่าวยังระบุถึงนามของเหล่าพาลาดิน ทั้งหมดไว้อีกด้วย...https://my.dek-d.com/souleater01/writer/viewlongc.php?id=715206&chapter=2
ตามประวัติศาสตร์ พระเจ้าชาลมาญ เป็นกษัตริย์ชนเผ่าแฟรงค์ (ซึ่งเป็นเผ่าอนารยชนเผ่าหนึ่งในยุโรปหลังสมัยที่ จักรวรรดิโรมันล่มสลาย แล้ว และเป็นพรรชนสายหนึ่งของพวกฝรั่งเศสและเยอรมันในเวลาต่อมา) ต่อมา พระเจ้าชาเบอร์มาญทรงได้รับสถาปนาจากสันตะปาปา ณ กรุงโรมใหเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์พระองค์แรก จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นั้นคนละอันกับจักรวรรดิโรมันโบราณเดิม (แต่ก็ปกครองอาฯาบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกัน) มีข้อแตกต่างสำคัญที่สุดก็คือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นี้ อิงอยู่กับพระศาสนจักรโรมันคาทอลิกอย่างแนบแน่น (ขณะนั้นยังไม่มีนิกายโปรเตนแตนท์) ในขณะที่เราคงจะจำได้ว่าตามคริสตประวัตินั้น จักวรรดิโรมันเดิมไม่ได้ไยดีอะไรกับคริสศาสนาเท่าไหร่ แม้องค์พระเยซูเจ้าเองก็ทรงถุกจับตรึงกางเขนโดยที่ผุ้สำเร็จราชการโรมันได้ได้ยืนมือเข้าไปเกี่ยวข้องห้ามปราม หรืออกจะเกือบๆ เห็นดีเห็นงามตามพวกยิงไปด้วยซ้ำ เมื่อพระเยซูสิ้นพระชนม์แล้ว พวกคริสเตียนยุคแรกก็ยังถูกจักพรรดิโรมัน (ตอนช่วงที่อาณาจักรโรมันเองใกล้จะลมสลาย) จับไปทรมานต่างๆ นานาอีกเป็นอันมาก ซึ่งเป็นข้อแตกต่างอย่างมากจากจักรวรรดิฝรั่งที่ยืมชื่อมาภายหลัง
พระเจ้าชาร์ลส ในความหายว่า ชาร์ลสผุ้ยิ่งใหฯ๋ เป็นราชันแห่งจักวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยได้รับพระพรจากศาสนจักรคริสเตียน และทรงมีหน้าที่เป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกผู้คุ้มครองศาสนาคริสต์ และทำให้เกิดธรรมเนียมประเพณีเรื่องอัศวิน ขึ้นมา เราท่านในเมืองไทยสมัยนี้อาจจะรู้จักอัศวินคณะของพระเจ้าอาร์เธอร์แห่งอังกฤษ อันเรียกว่าอัศวินโต๊ะกลม (ที่เรียก่าโต๊ะกลมนั้นนิทานว่าก็เพราะพระเจ้าอาร์เธอร์ไม่ทรงต้องการให้มีหัวโต๊ะ คือถือว่าสมาชิกแห่งคณะอัศวินโต๊ะกลมทุกคนร่วมทั้งพระองค์เองด้วย มีฐานะเป็นเพื่อนตายเท่าเที่ยมเสมอกันหมด
นิทานเรื่องอัศวินแห่งพระเจ้าอาร์เธอณ์นั้ค่อนข้างจะมีชื่อเสียง แต่ในวงวรรณกรรมฝรั่งนั้น คณะอัศวินของพระเจ้าชาลมาญก็มีเกี่ยติเกริกไกรไม่น้อยไปกว่าคณะอัศวินโต๊ะกลมเช่นกัน อย่างไรก็ดีในเมืองไทยเราดูเหมือนจะยังไม่มีใครแปลนิทานชุดนี้ออกแพร่หลายนัก..http://study.vcharkarn.com/forum/view?id=17165§ion=forum
วันพุธที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Charlemagne
ชาร์เลอมาญ หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ ตั้งแต่ ค.ศ.
768 จนถึงสวรรคต เป็นผุ้ทำให้ราชอาณาจักแฟรงก์รวมเป็นหนึ่งเดียวและเจริญรุ่งเรือง กองทัพของฝชาวแฟรงก์ได้ช่วยคุ้มครองพระสันตปาปากละกรุงโรมจากการรุกรานของประเทศลอมบร์เีย ทำให้ศาสนจักณโรมันคาทอฃลักิกลายเป็ผุ้สนับสนุนราชวงศ์การอแล็งเฌียง พระองค์เข้ารับพิธีราชาพิเษกจากสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ในกรุงโรมให้เป็นจักพรรดิแห่งชาวโรมัน ชาร์เลอมาญเป็นจักพรรดิองค์แรก ในาม "จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทะิ์" ถือเป็นจักพรรดิทียิ่งใหย่ที่สุดของยุดรปในสมัยกลาง
ชาร์เลอมาญได้รับการขนานนามว่าเป็น "พรบิดาแห่งยุโรป จากการที่รงรวบรวมดินแดนยุโรปตะวันตกเป็นปึกแผ่งครั้งแรกนับตั้งแต่จักวรรดิโรมัน ชาร์เลอมาญทรงเป็นผุ้ริเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งเป็นยุคแห่งความเจริญทางวัฒนธรรมและปัญญาของศาสนจักรตะวันตก จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทุกพระองค์ในกาลต่อมาต่างอ้างว่าอาณาจักรของพวกเข้าเป็นอาณาจักรที่สืบทอดมาจากจักรวรรดิของชาร์เลอมาญ แม้บทเพลงแห่งโรลองค์ วรรณกรรมภาษาฝรั่งเศสที่เก่าแก่ที่สุด ก็แต่งขึ้นโอยอ้างถึงสงครามขับไล่อาณจักรมุสลิมของกองทัพของพระองค์
ชาร์เลอมาญสวรรคตในปี ค.ศ. 814 หลังจากเป็นจักพรรดิได้ 13 ปี พระศพถูกฝังไว้ในอาสนวิหารอาเคิน นครหลวงในขณะนั้น ทรงอภิเษกสมรสอย่างน้อยสี่ครั้งแลมีพระโอรสตามกฎหมายอยู่สามองค์...
ชาร์เลอมาญทรงเร่ิมสร้างความมั่นคงและทำให้อาณาจักรแฟรงก์กลายเป็นอาณาจักรที่เป็นเอกภาพมากขึ้นกว่างยุคก่อน ทรงตั้งราชสำนักที่เมืองแอกซ์ลาซาแปล เร่ิมการสร้างพระราชวังแลอาสนวิหารอาเคิน ที่เมือง อาเคิน ในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน เป็นสัญลักาณ์ของการอุปถัมภ์ของอาณาจักรและศาสนาตักรนับแต่ต้น โบสถ์วิหารได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากกรงุดรม เรียกกันว่า https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8D
สถาปัตยกรรมแบโรมาแนสก์ ชาร์เลอมาญ ทรงส่งเสริมการศึกษาด้วยการสร้างโรงเรียน หลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยากรต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นเป็นศูย์กลางการและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาร์เลอมาญทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการส่งข้าหลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยาการต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นศูนย์กลางการศึกษาและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาณืเลอร์ทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการสงข้าหลวง และการเก็บภาษี แต่เมื่อทรงสวรรคต ราชสนำนักก็ไม่อาจควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ัก กลายเป็นปัญหาสำคัญต่อการสร้างอาณาจักรที่เป็นเอกภาพในสมัยกฃลางหลังสวรรคต อาณาจักรของพระองค์แบ่งแยกให้แก่พระโอรส 3 พระองค์ บางสวนอยู่ในดินแดนเยอรมนีปัจจุบัน...
ความย่ิงใหญ่ รวมถึงพระราชกรณียกิจที่พระเจ้าชาร์ลเอลร์มาญได้ทรงประกอบทำให้ไม่น่าแปลกใจ หากฮิตเลอร์และบุคคลสำคัญอื่นๆ ในพรรคนาซีจะนำกรณีขงพระองคมาใช้ในการปลุกความรู้สึกชาตินิยมให้เกิดในจักรวรรดิหรค์ซที่ 3 รวมถึงใช้ในการโฆษณาให้ชาวเยอรมันสนับสนนุนโยบายของพรรคนาซี เช่น นโยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอรมันไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนอกจากจะมีจุดมุ่งหมายในการขยายที่ทำกินแล้วแล้ว ยังมุ่งที่จะขับไล่ประชาชนที่พรรคนาซีถือว่าไม่มีเชื้อสายอารยันออกจากพื้นที่อีกด้วย
พรรคนาซีอธิบายประวัติศาสตร์เยอรมันในส่วนที่เกี่ยวกับพระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญโดยมุ่งให้เกิดความรุ้สึกรักชาติขึ้นในหมู่ประชาชนด้วยการใช้ประเด็น 2 ประเด็นหลักดังต่อไปนี้เป็นใจความสำคัญคือ
- การทำให้พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญเป็นชาวเยอรมัน และเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรดิ์เยรมัน โดยที่ไม่ได้คำนึงถึง ว่า พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญทรงเป็นจักรพรรดิของราชอาณาจักรแฟรงค์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของฝรั่่งเศส รวมถึงกหลุ่มประเทศเบเนลักซ์ในปัจจุบันนี้ด้วย
ออยเกน เฮลเลอร์บัค นักประวัติศาสตรืที่เขียนบทความลงในวารสาร "ผุ้ดูแลเยอมันตะวันตก" ซึ่งเป็นวารสารอย่างเป็นทางการของพรรคนาซีใน ค.ศ. 1942 หรือ ราว 3 ปีหลังจากที่สงครามโลครั้งที่ 2 เร่ิมต้นขึ้นด้วยการที่กองทัพเอยมันยักทัพบุกโปแลนด์เมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 เขาจึงสามารถเขียนได้โดยไม่ขัดแย้งกับแนวทางของนักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ และไม่ขัดกับอุดมการณืของพรรคนาซี..เฮลเลอร์บัค บรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ิเชิดชูความยิ่งใหญ่ของชาติเยอรมันเฮเลอร์บัคบรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ ทรงเป็ฯผู้สร้างชนชาติเยอรมัน ทั้งยังทรงเป็นผุ้สร้างจักรวรรดิเยอรมัน.. ในช่วงเวลากว่าครึ่งสหัศวรรษที่ผ่านมานี้ รพะองค์ทรงทำให้ชาวเยอรมันคุ้นเคยกับความรู้สึกเป็นหนึ่งในยุโรป.. ภายใต้ภาพอดีตของชาวเยอมันนี้ ธงของจักวรรดิไรค์ซที่ 3 ของเราจะปลิวไสว วัฒนธรรมที่ยาวนานของเรากวาหนึงพันปีจะกลับมาย่ิงใหญ่อีกครั้ง
ในส่วนของการสังหารหมู่ชาวแซกซันที่แวเดิน เฮลเลอร์บัค ก็ได้เขียนอธิบายไว้เช่นกัน และคำอธิบายของเขาแตกต่างกับของ เบาเออร์ ตรงที่เขายอมรับว่ามีการสังหารหมู่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตาม "เราไม่ควรจะโยนความผิดให้กับพวกที่ฆ่าชาวแซกซัน เนื่องจากพระหัตถ์ของพระองค์ไม่ได้ทำควาผิดใดๆ แต่พระหัตถของพระองค์ทำลงไปเนื่องจากเป็นคำสั่งอขงพระเจ้าที่ต้องการเห็นการขยายอาณาเขตของชนเผ่าแกรมาเนีย...
- และ การพยายามอธิบายวา พระเจ้าชาร์เลอร์มานทรงต้องการขยายขอบเขตของราชอาณาจักรแฟรงค์ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งตรงกับนธยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอมันไปทางทิศตะวันออกของฮิตเลอร์ ในกรณีนี้ พรรคนาซีได้ใช้ประโยชน์จากคำอธิบายของนักประวัติศาสตร์เยอมันในทศวรรษที่ 1930 อีกรั้ง เนื่องจากพวกเขาพยายามหาคำอธิบายให้กับการทำสงครามขยายดินแดนโดยเฉพาะการขยายดินแดนไปทางทิศตะวันออกของพรเจ้าชาร์ลเลอร์มาญ
ประเด็นที้ง 2 ประเด็นนี ทำให้ไม่น่าแปลกใจว่า ใน ค.ศ. 1937 พรรคนาซีได้อธิบาย่า "พระเจ้าชาร์เลอร์มาญทรงเป็นชาวแกรมาเนียตัวอย่าง ดดยดูได้จากต้นกำเนิดและรูปแบบการใช้ชีวิตของพระองค์ซคึ่งเป็นแกรมาเนีย-เยอรมัน อุปนิสัยส่วนพระองค์ก็ยังถูกกำหนดไว้ด้วยการสืบต่อของสายเลือดแกรมาเนีย-เยอรมัน ดังนั้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จึงมีหน้าที่รักษาจักวรรดิที่พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญได้ทรงทิ้งไว้ และขยายจักรวรรดิออกไปเพื่อความอยู่รอดของชาวเยอรมัน โดยที่ในประเด็นของการขยายพื้นที่จักวรรดิออกไปทางทิศตะวันออก นั้น ss หรือหน่วยติดอาวุธที่ถูกตั้งขึ้นมาให้ทำหน้าที่อารักขาฮิตเลอร์ และในช่วหลัีงจาก ค.ศ. 1934 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นช่วงที่พรรคนาซียึดอำนาจในเยอรมนีได้อย่างค่อนข้างมั่นคงแล้ว ได้รับหน้าที่ในการปราบปรามชาวยิว และดูแลค่ายกักกันต่างๆ ได้นำมาอธิบายการยึดดินแดนในยุดรปตะวันออกและการสังหารผุ้คนในพื้นที่นั้นอยู่เนื่องๆ...http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/viewFile/7967/7152
768 จนถึงสวรรคต เป็นผุ้ทำให้ราชอาณาจักแฟรงก์รวมเป็นหนึ่งเดียวและเจริญรุ่งเรือง กองทัพของฝชาวแฟรงก์ได้ช่วยคุ้มครองพระสันตปาปากละกรุงโรมจากการรุกรานของประเทศลอมบร์เีย ทำให้ศาสนจักณโรมันคาทอฃลักิกลายเป็ผุ้สนับสนุนราชวงศ์การอแล็งเฌียง พระองค์เข้ารับพิธีราชาพิเษกจากสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ในกรุงโรมให้เป็นจักพรรดิแห่งชาวโรมัน ชาร์เลอมาญเป็นจักพรรดิองค์แรก ในาม "จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทะิ์" ถือเป็นจักพรรดิทียิ่งใหย่ที่สุดของยุดรปในสมัยกลาง
ชาร์เลอมาญได้รับการขนานนามว่าเป็น "พรบิดาแห่งยุโรป จากการที่รงรวบรวมดินแดนยุโรปตะวันตกเป็นปึกแผ่งครั้งแรกนับตั้งแต่จักวรรดิโรมัน ชาร์เลอมาญทรงเป็นผุ้ริเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งเป็นยุคแห่งความเจริญทางวัฒนธรรมและปัญญาของศาสนจักรตะวันตก จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทุกพระองค์ในกาลต่อมาต่างอ้างว่าอาณาจักรของพวกเข้าเป็นอาณาจักรที่สืบทอดมาจากจักรวรรดิของชาร์เลอมาญ แม้บทเพลงแห่งโรลองค์ วรรณกรรมภาษาฝรั่งเศสที่เก่าแก่ที่สุด ก็แต่งขึ้นโอยอ้างถึงสงครามขับไล่อาณจักรมุสลิมของกองทัพของพระองค์
ชาร์เลอมาญสวรรคตในปี ค.ศ. 814 หลังจากเป็นจักพรรดิได้ 13 ปี พระศพถูกฝังไว้ในอาสนวิหารอาเคิน นครหลวงในขณะนั้น ทรงอภิเษกสมรสอย่างน้อยสี่ครั้งแลมีพระโอรสตามกฎหมายอยู่สามองค์...
ชาร์เลอมาญทรงเร่ิมสร้างความมั่นคงและทำให้อาณาจักรแฟรงก์กลายเป็นอาณาจักรที่เป็นเอกภาพมากขึ้นกว่างยุคก่อน ทรงตั้งราชสำนักที่เมืองแอกซ์ลาซาแปล เร่ิมการสร้างพระราชวังแลอาสนวิหารอาเคิน ที่เมือง อาเคิน ในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน เป็นสัญลักาณ์ของการอุปถัมภ์ของอาณาจักรและศาสนาตักรนับแต่ต้น โบสถ์วิหารได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากกรงุดรม เรียกกันว่า https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8D
สถาปัตยกรรมแบโรมาแนสก์ ชาร์เลอมาญ ทรงส่งเสริมการศึกษาด้วยการสร้างโรงเรียน หลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยากรต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นเป็นศูย์กลางการและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาร์เลอมาญทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการส่งข้าหลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยาการต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นศูนย์กลางการศึกษาและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาณืเลอร์ทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการสงข้าหลวง และการเก็บภาษี แต่เมื่อทรงสวรรคต ราชสนำนักก็ไม่อาจควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ัก กลายเป็นปัญหาสำคัญต่อการสร้างอาณาจักรที่เป็นเอกภาพในสมัยกฃลางหลังสวรรคต อาณาจักรของพระองค์แบ่งแยกให้แก่พระโอรส 3 พระองค์ บางสวนอยู่ในดินแดนเยอรมนีปัจจุบัน...
ความย่ิงใหญ่ รวมถึงพระราชกรณียกิจที่พระเจ้าชาร์ลเอลร์มาญได้ทรงประกอบทำให้ไม่น่าแปลกใจ หากฮิตเลอร์และบุคคลสำคัญอื่นๆ ในพรรคนาซีจะนำกรณีขงพระองคมาใช้ในการปลุกความรู้สึกชาตินิยมให้เกิดในจักรวรรดิหรค์ซที่ 3 รวมถึงใช้ในการโฆษณาให้ชาวเยอรมันสนับสนนุนโยบายของพรรคนาซี เช่น นโยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอรมันไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนอกจากจะมีจุดมุ่งหมายในการขยายที่ทำกินแล้วแล้ว ยังมุ่งที่จะขับไล่ประชาชนที่พรรคนาซีถือว่าไม่มีเชื้อสายอารยันออกจากพื้นที่อีกด้วย
พรรคนาซีอธิบายประวัติศาสตร์เยอรมันในส่วนที่เกี่ยวกับพระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญโดยมุ่งให้เกิดความรุ้สึกรักชาติขึ้นในหมู่ประชาชนด้วยการใช้ประเด็น 2 ประเด็นหลักดังต่อไปนี้เป็นใจความสำคัญคือ
- การทำให้พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญเป็นชาวเยอรมัน และเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรดิ์เยรมัน โดยที่ไม่ได้คำนึงถึง ว่า พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญทรงเป็นจักรพรรดิของราชอาณาจักรแฟรงค์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของฝรั่่งเศส รวมถึงกหลุ่มประเทศเบเนลักซ์ในปัจจุบันนี้ด้วย
ออยเกน เฮลเลอร์บัค นักประวัติศาสตรืที่เขียนบทความลงในวารสาร "ผุ้ดูแลเยอมันตะวันตก" ซึ่งเป็นวารสารอย่างเป็นทางการของพรรคนาซีใน ค.ศ. 1942 หรือ ราว 3 ปีหลังจากที่สงครามโลครั้งที่ 2 เร่ิมต้นขึ้นด้วยการที่กองทัพเอยมันยักทัพบุกโปแลนด์เมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 เขาจึงสามารถเขียนได้โดยไม่ขัดแย้งกับแนวทางของนักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ และไม่ขัดกับอุดมการณืของพรรคนาซี..เฮลเลอร์บัค บรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ิเชิดชูความยิ่งใหญ่ของชาติเยอรมันเฮเลอร์บัคบรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ ทรงเป็ฯผู้สร้างชนชาติเยอรมัน ทั้งยังทรงเป็นผุ้สร้างจักรวรรดิเยอรมัน.. ในช่วงเวลากว่าครึ่งสหัศวรรษที่ผ่านมานี้ รพะองค์ทรงทำให้ชาวเยอรมันคุ้นเคยกับความรู้สึกเป็นหนึ่งในยุโรป.. ภายใต้ภาพอดีตของชาวเยอมันนี้ ธงของจักวรรดิไรค์ซที่ 3 ของเราจะปลิวไสว วัฒนธรรมที่ยาวนานของเรากวาหนึงพันปีจะกลับมาย่ิงใหญ่อีกครั้ง
ในส่วนของการสังหารหมู่ชาวแซกซันที่แวเดิน เฮลเลอร์บัค ก็ได้เขียนอธิบายไว้เช่นกัน และคำอธิบายของเขาแตกต่างกับของ เบาเออร์ ตรงที่เขายอมรับว่ามีการสังหารหมู่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตาม "เราไม่ควรจะโยนความผิดให้กับพวกที่ฆ่าชาวแซกซัน เนื่องจากพระหัตถ์ของพระองค์ไม่ได้ทำควาผิดใดๆ แต่พระหัตถของพระองค์ทำลงไปเนื่องจากเป็นคำสั่งอขงพระเจ้าที่ต้องการเห็นการขยายอาณาเขตของชนเผ่าแกรมาเนีย...
- และ การพยายามอธิบายวา พระเจ้าชาร์เลอร์มานทรงต้องการขยายขอบเขตของราชอาณาจักรแฟรงค์ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งตรงกับนธยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอมันไปทางทิศตะวันออกของฮิตเลอร์ ในกรณีนี้ พรรคนาซีได้ใช้ประโยชน์จากคำอธิบายของนักประวัติศาสตร์เยอมันในทศวรรษที่ 1930 อีกรั้ง เนื่องจากพวกเขาพยายามหาคำอธิบายให้กับการทำสงครามขยายดินแดนโดยเฉพาะการขยายดินแดนไปทางทิศตะวันออกของพรเจ้าชาร์ลเลอร์มาญ
ประเด็นที้ง 2 ประเด็นนี ทำให้ไม่น่าแปลกใจว่า ใน ค.ศ. 1937 พรรคนาซีได้อธิบาย่า "พระเจ้าชาร์เลอร์มาญทรงเป็นชาวแกรมาเนียตัวอย่าง ดดยดูได้จากต้นกำเนิดและรูปแบบการใช้ชีวิตของพระองค์ซคึ่งเป็นแกรมาเนีย-เยอรมัน อุปนิสัยส่วนพระองค์ก็ยังถูกกำหนดไว้ด้วยการสืบต่อของสายเลือดแกรมาเนีย-เยอรมัน ดังนั้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จึงมีหน้าที่รักษาจักวรรดิที่พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญได้ทรงทิ้งไว้ และขยายจักรวรรดิออกไปเพื่อความอยู่รอดของชาวเยอรมัน โดยที่ในประเด็นของการขยายพื้นที่จักวรรดิออกไปทางทิศตะวันออก นั้น ss หรือหน่วยติดอาวุธที่ถูกตั้งขึ้นมาให้ทำหน้าที่อารักขาฮิตเลอร์ และในช่วหลัีงจาก ค.ศ. 1934 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นช่วงที่พรรคนาซียึดอำนาจในเยอรมนีได้อย่างค่อนข้างมั่นคงแล้ว ได้รับหน้าที่ในการปราบปรามชาวยิว และดูแลค่ายกักกันต่างๆ ได้นำมาอธิบายการยึดดินแดนในยุดรปตะวันออกและการสังหารผุ้คนในพื้นที่นั้นอยู่เนื่องๆ...http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/viewFile/7967/7152
วันจันทร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Knights of the Round Table
อัศวินโต๊ะกลม เป็นชื่อกลุ่มคนที่ได้รับแต่งตั้งเกียรติยศอย่างสูงสุดในราชสำนักของกษัตริย์อาเธอร์แต่ละเรื่องกาจจะกล่วถึงจำนวนอัสวินที่ไม่เท่ากัน ตั้ง 12 -150 คน หรือมากกว่านั้น สำหรับWinchester Round Table ซึ่งบันทึกในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1270 มีรายชื่อัศวินทั้งสิ้น 25 คน
อัศวินโต๊ะกลมในตำนานถูกก่อตั้งขึ้นมาเปนเวลาช้านานแล้ว ดดยเมอร์บินเป็นผุ้ก่อตั้งขึ้นมา ณ ศูนย์กลางของคาเมล๊อต เขาได้สร้างรูทรงวงกลมแทนสัญลักษณ์แห่งจักรวาล ซึงทุกคนที่นั่งอยู่รอบโต๊ะทรงกลมก็จะมีอำนาจเท่าเที่ยมกัน ไม่เหมือนโต๊ะสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งผ้ที่นั่งหัวโต๊ะจะมีอำนาจมากที่สุดแนวคิดของเมอร์ลินที่สร้างโต๊ะกลมขึ้นมาคือไม่ว่าชนชั้นใดก็สามารถยกระดับตัวเองขขึ้นมาให้เท่ากษัตริย์และขุนนางชั้นสุงที่นั่งอยุ่รอบโต๊ะได้ หากคุณสามารถพิสูจน์ได้ว่าตัวเองมีความสามารถพอ หลังการสวรรคตของกษัตริย์อูเธอร์ มอร์ลินไดต่อหน้าที่ดูแลโต๊ะกลมหใ้กับกษัตรยิลโอดิเกรส ผุ้ซึ่งมีความจงรักภักดีต่อกษัตริย์อูเธอร์
บุคคลทุกชนชั้นสามารถยกระดับตัวเองให้ขึ้นมเที่ยงเที่ากับอัศวินของกษัตรยิืได้ แต่พวกเขาต้องพิสูจน์วาตัวเองมีดีพอ และต้องสาบานว่าจะปฏิบัติตามกฎของอัศวิน ซึ่งมีข้อบังคัยดังนี้
- ไม่ล่วงเกินหรือฆ่าผุ้อื่นหากไม่ได้อยู่ในสนามรบหรือในการต่อสู้อันมีเกียรติ
- ไม่ก่อการกบฎต่อประเทศชาติและกษัตริย์ของตัวเอง
- ไม่แสดงพฤติกรรมท่โหดเหรี้ยมทารุณต่อผุ้อื่ดดยไม่จำเป็น และให้ความเตตาต่อผุ้ที่ร้องขอถึงแม้จะอยู่ในการต่อสู้ก็ตาม
- ช่วยสตริที่ต้องการความช่วยเหลือ
- ไม่ทำร้ายสตรี
- ไม่ต่อสู้กับเรื่องเล็กน้อยที่ไม่สำคัญเท่ากษัตริย์และประเทศชาติ
ในรัชสมัยของกษัตริย์โต๊ะกลมถือว่าเป็นศุูนย์กลางในการปฏิบัติงานต่างๆ เป็นที่ซึ่งทุกคนมาพบปะและตัดสินใจ่าใครควรจะไ้รับมอบหมายภารกิจใด
เมื่อกษัตริย์อาเธอร์ได้รับหน้าที่ให้ดูแลอัศวินโต๊ะกลม รอบๆ โต๊ะสามารถรองรับอัศวินได้ถึง 150 คน และกษัตรยิปลีโอดิเกรสยังได้ส่งอัศวินอี 100 คนมาให้เขาอีกด้วย โดยในช่วงเวลานั้น ีอัศวินหมายคนที่ได้รับการยกย่องจากกษัตริย์อาเธอร์ว่ามีความสามารถในการทำภารกิจต่างๆ และการต่อสู้ ได้แก่ เซอร์แลนเซลอตแห่งทะเลสาบ เซอร์กาเวน เซอร์เกอเรนท์ เซอร์เพอซิลวัล เซอร์บอร์เซอร์ลาโมแรค เซอร์เคย์ เซอร์เบดิเวียนร์ เซอร์กาเฮริส เซอร์กาลาฮัด เซอร์ทรสิแทนและเซอร์มอร์เดร็ด
เซอร์แลนเซลอดแห่งทะเลสาบ เป็นอัศวินโต๊ะกลมที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เป็นผุ้ที่เก่งกล้าสามารถมากที่สุดในการต่อสู้ ผุ้คนทั่วราชอาณาจักรต่างก็ชื่อชมในตัวเขา เขาเป็นผุ้ชนะในการต่อสู้เกือบทุกรายการที่เข้าร่วม เขาสามารถเอาชนะอัศวินที่แข็งแกร่งจำนวนมากซึ่งไม่เคยมีผู้ใดเอาชนะได้มาก่อน ด้วยเหตุผลเหล่านี้ เขาจึงเป้ฯที่เคารพและศรัทธาของบรรดาอัศวินหนุ่มทั้งหลาย เขามีฉายาว่าอัศวินแห่งทะเบสาบเพราะหญิงแห่งทะเลสาบเป็นผุ้เลี้ยงดุเขาจนเติบใหญ่และ่งเขาให้มาเข้าร่วมกับกองทัพของกษัตรยิือาเธอร์ ซึ่งนางเป็นผู้ที่ขอร้องให้กษัตริย์อาเธอร์รับแลนเซลอตไปดูแล และฝึกฝนให้เป็นอัศวินที่
กล้าหาญ ต่อมากษัตริย์อาเธอร์และเซอร์แลนเซลอตก็ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทกันซึ่งแลนเซลอตรุ้สึกชื่นชมความกล้าหาญของกษัตริย์อาเธอร์เป็นอยางมาก วันที่เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินเขารู้สึกอับอายเป็นอย่างมาก เพราะเขาลืมหยิบดาบของตัวเองมา ซึ่งผุ้ที่ไม่มีดาบของตัวเองจะไม่สามารถถูกแต่่งตั้งให้เป็นอัศวินได้ พระราชนีกวินีเวียน์ได้พบดาบของเขาและนำไปคืนให้เขาทันเวลา ด้วยความที่ซาบซึ้งใจต่อการช่วยเหลือนี้ แลนเซลอตจึงได้มอบความรักและความจงรักภักดีให้กับกวินีเซียร์ และเขายังได้เสนอตัวเป็นองค์รักษ์ปกป้องพระราชินีเพื่อเป็นการแสดงความศรัทธาที่เขามีต่อเธอ พระราชินีกวินิเวียร์รู้สึกดีกับเขาตั้งแต่ครั้งแรกที่ทั้งคุ่สบตากัน
พระราชินีกวีนิเวียร์ ได้พบกับกษัตริย์อาเธอร์ครั้งแรกในปราสาทของพระราชบิดาของเธอในคา
เมเลิร์ด เธอเป็นลูกสาวของกษัตริย์ลีโอติเกรสซึ่งเป็กษัตริย์แห่งคาเมเลิร์ด เมื่อตอนที่เมืองคาเมเลิร์ดถูกศัตรูล้อม กษัตริย์อาเธอร์คือผุ้ที่เข้าไปช่วยเหลือ ระหว่างงานเลี้ยงฉลองอาเธอร์ได้พบหน้ากวินิเวียร์เป็นครั้งแรก ซึ่งทำให้เขาตกหลุมรัก อาเธอร์ไปหาเมอร์ลินเพื่อขอคำแนะนำ เพราะเขาจะไม่แต่งงานหากไม่ได้รับความเห็นชอบจากเมอร์บิน เมื่อเอมร์ลินถามว่าสตรีคนใดที่เขารักมากที่สุด อาเธอร์ตอบว่ากวินิเวียร์โดยไม่ลังเล เมอรืลินได้เตือนอาเธอร์ว่ากวินเวีร์ไม่มีราศีพอที่จะเป็นภรรยาของเขา และในที่สุดเธอลแะแลนเซลอตจะตกหลุมรักกันและกัน แต่อาเธอร์ดึงดันที่จะทำตามหัวใจของตัวเอง เขาเื่อว่าชะตาลิขิตนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ซึ่งเมอร์ลินก็ยอมตกลงเห็นชอบด้วย กษัตริย์ลีโอดีเกรสรู้สึดีใจอย่างสุดซ้ง
เมื่อทราบข่าวและได้ส่งลูกสาวมาให้อาเธอร์โดยผ่นทางเมอร์ลินพร้อมทั้งส่งอัศวิน 100 คนให้เป็นองขวัญ
ในปีต่อมา คำทนายของเมอร์ลินกลายเป็นความจริง หลังจากเซอร์เลนเซลอตได้รับการแต่งตั้งให้เป็นองค์รักษ์ เซอร์แลนเซลอตพยายามที่จะรักพระราชินีกวินีเวียร์แบบเพื่อนเท่านั้น ซึ่งดวินีเวียร์เองก็พยายามทำแบบเดียวกัน แต่ความใกล้ชิดของทั้งคู่ทั้งให้ความคิดนั้นล้มเหลว เซอร์แลนเซลอดมักจะได้รับภารกิจให้ไปช่วยพระราชินีกวินิเวียร์ ในครั้งนั้นเซอร์มิลิเอแแกรนซ์หมายปองที่จะได้ตัวพระราชินีกวินิเวียร์จึงได้ซุ่มโจมตีและลักพาตัวเธอไปในปราสาทของเขาซึ่งเธอได้แอบส่งข้อความไปให้เซอร์แลนเซลอตเพื่อขอให้เขามาช่วยเธอ เขารีับขี่ม้าไปช่วยเธอ อย่างรวดเร็ว แต่เขาเองก็ถุกซุ่มโจมตีและม้าของเขาถูกพลธนูยิ่งจนล้ม เาไม่ได้รับบาบเจ็บและพยายามมองหาพาหนะที่จะพาเขาไปยังปราสาทของเซอร์มิลิเอแกรนซื และพาหนะเพียองอย่างเดียวที่หาได้ก็คือรถม้ของคนแคระ ผุ้คนที่พบเห็นต่างก็ห้วเราะเยาะเขาตลอดทางแต่เป้าหมายของเขาคือการไปช่วยพระราชินีได้สำเร็จ ชื่อเสียงของเขาจากเหตุการณ์นี้ได้กลายเป็นที่เลื่องลือไปทั่วว่า เซอร์แลนเซลอตไม่ไ้เสียเลือดแม้แต่หยดเียวจากการบุกไปช่วยพระราชินี ซึ่งเหตุกาณณ์ในครั้งนี้ทำให้เขาได้รับฉายาว่า "อัศวินแห่งรถม้า"
เอ็ซ์คาลิเบอร์ ถึงแม้อัศวินโต๊ะกลมเป็ทนที่รุ้จักมากแค่ไหน แต่ก็ไม่อาจเทียบกับดาบเอ็กซืคาลิเบอร์ ซึ่งเป็นดาบที่ดด่งดงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ดาบเ่มนี้เป็นเหมือนเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อกษัตรยิ์อาเธอร์เมื่ออาเธอร์พ่ายแพ้ในสงครามแห่งคามลาน คำขอครั้งสุดท้ายของอาเธอร์ก็คือเขาต้องการให้ดาบเอ็กซ์คาลิเบรอืกลับไปอยู่ในศิลาซึ้งอยู่บนเกาะแห่งอวาลอน เขาได้มอบหมายหน้าที่นี้ให้กับเซอร์เบดิเวียร์ซึ่งเป็นหนึ่งในอัศวินที่เขาไว้ใจมากที่สุด แต่หลังจากร่างของอาเธอร์ถุกนำไปที่อว่าลอนแล้ว เบดิhttp://kingofavalon.game/knights-round-table_th/
เวียร์รู้สึกเสียดายที่จะปล่อยดาบไป ในขณะที่เขาถือดาบอยู่นั้นดาบในมือเขาไปเกิดแรงสั่นสะเทือนขึ้น เมอร์ลินเห็นความลังเลของเขาจึงได้ังให้เขาปล่อยดาบ แต่ดุเหมือเซอรเบดิเวีร์จะถูกพลังของดาบเข้าควบคุมซะแล้ว เมอร์ลินรู้ดีว่าเขาไม่มีทางแย่งดาบมาจากเซอร์เบดิเวียร์ผุู้งใหญ่ได้แน่ เขาจึงได้แนะำให้เซอร์เบดิเวียร์พิสูจน์ตัวเองว่าคู่ควรกับดาบเล่นนี้เมอร์ลินชีไปที่ต้นไม่ต้นใหญ่แล้วบอกให้เาลองฟันดู เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบตัดต้นไม้ขาดเป็นสองท่อนในการฟันครั้งเีดยว หลังจากนั้นเมอร์ลินบอกให้ลองใช้ดาบกัฐเหล็กดุ เซอร์เบดิเวียร์จึงได้ประจัญหน้ากับทหารสองนายและฟันดาบของทั้งคุ่จนหักในการครั้งเดียว สุดท้ายเมอร์ลินบอกให้เาใช้ดาบเจาะหินศิลาแห่งมังกรซึ่งแข็งที่สุด เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบเอ็กซ์คาลิเบอร์เจาะเข้าไปในหินศิลาได้สำเร็จ และคุยโวโอ้อวดว่าดัวเองคู่ควรกับการเป็นกษัตริย์ แต่เมอร์ลินบอกว่มีเพีีียงกษัตริย์ที่แท้จริงเท่านั้นที่จะามารถดึงดาบออกมาจากศิลาได้ ซึงนั่นทำให้เซอร์เบดิเวียร์โมโหและโถมตัวเข้าไปกระแทกจนเมอร์ลินล้มลง เขาพยายามดึงดาบอย่างเอาเป็นเอตายแต่ก็ไม่สามารถดึึงกาบเอ็กซืคาลเบอร์ออกมาจากศิลาได้ ในที่สุดเขาก็ล้มเลิกความพยายามและสำนึกถึงความบ้าคลั่งชองตัวเอง เขาคุกเข่าลงด้วยความละอายและขอให้เมอร์ลินยกโทษให้เขา ดาบเอ็กซืคาลิเบอร์จึงได้ถุกฝังอยุ่ในศิลาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา รอให้กษัตริย์ที่แท้จริงดึงมัออกมาอีกครั้ง....
อัศวินโต๊ะกลมในตำนานถูกก่อตั้งขึ้นมาเปนเวลาช้านานแล้ว ดดยเมอร์บินเป็นผุ้ก่อตั้งขึ้นมา ณ ศูนย์กลางของคาเมล๊อต เขาได้สร้างรูทรงวงกลมแทนสัญลักษณ์แห่งจักรวาล ซึงทุกคนที่นั่งอยู่รอบโต๊ะทรงกลมก็จะมีอำนาจเท่าเที่ยมกัน ไม่เหมือนโต๊ะสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งผ้ที่นั่งหัวโต๊ะจะมีอำนาจมากที่สุดแนวคิดของเมอร์ลินที่สร้างโต๊ะกลมขึ้นมาคือไม่ว่าชนชั้นใดก็สามารถยกระดับตัวเองขขึ้นมาให้เท่ากษัตริย์และขุนนางชั้นสุงที่นั่งอยุ่รอบโต๊ะได้ หากคุณสามารถพิสูจน์ได้ว่าตัวเองมีความสามารถพอ หลังการสวรรคตของกษัตริย์อูเธอร์ มอร์ลินไดต่อหน้าที่ดูแลโต๊ะกลมหใ้กับกษัตรยิลโอดิเกรส ผุ้ซึ่งมีความจงรักภักดีต่อกษัตริย์อูเธอร์
บุคคลทุกชนชั้นสามารถยกระดับตัวเองให้ขึ้นมเที่ยงเที่ากับอัศวินของกษัตรยิืได้ แต่พวกเขาต้องพิสูจน์วาตัวเองมีดีพอ และต้องสาบานว่าจะปฏิบัติตามกฎของอัศวิน ซึ่งมีข้อบังคัยดังนี้
- ไม่ล่วงเกินหรือฆ่าผุ้อื่นหากไม่ได้อยู่ในสนามรบหรือในการต่อสู้อันมีเกียรติ
- ไม่ก่อการกบฎต่อประเทศชาติและกษัตริย์ของตัวเอง
- ไม่แสดงพฤติกรรมท่โหดเหรี้ยมทารุณต่อผุ้อื่ดดยไม่จำเป็น และให้ความเตตาต่อผุ้ที่ร้องขอถึงแม้จะอยู่ในการต่อสู้ก็ตาม
- ช่วยสตริที่ต้องการความช่วยเหลือ
- ไม่ทำร้ายสตรี
- ไม่ต่อสู้กับเรื่องเล็กน้อยที่ไม่สำคัญเท่ากษัตริย์และประเทศชาติ
ในรัชสมัยของกษัตริย์โต๊ะกลมถือว่าเป็นศุูนย์กลางในการปฏิบัติงานต่างๆ เป็นที่ซึ่งทุกคนมาพบปะและตัดสินใจ่าใครควรจะไ้รับมอบหมายภารกิจใด
เมื่อกษัตริย์อาเธอร์ได้รับหน้าที่ให้ดูแลอัศวินโต๊ะกลม รอบๆ โต๊ะสามารถรองรับอัศวินได้ถึง 150 คน และกษัตรยิปลีโอดิเกรสยังได้ส่งอัศวินอี 100 คนมาให้เขาอีกด้วย โดยในช่วงเวลานั้น ีอัศวินหมายคนที่ได้รับการยกย่องจากกษัตริย์อาเธอร์ว่ามีความสามารถในการทำภารกิจต่างๆ และการต่อสู้ ได้แก่ เซอร์แลนเซลอตแห่งทะเลสาบ เซอร์กาเวน เซอร์เกอเรนท์ เซอร์เพอซิลวัล เซอร์บอร์เซอร์ลาโมแรค เซอร์เคย์ เซอร์เบดิเวียนร์ เซอร์กาเฮริส เซอร์กาลาฮัด เซอร์ทรสิแทนและเซอร์มอร์เดร็ด
เซอร์แลนเซลอดแห่งทะเลสาบ เป็นอัศวินโต๊ะกลมที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เป็นผุ้ที่เก่งกล้าสามารถมากที่สุดในการต่อสู้ ผุ้คนทั่วราชอาณาจักรต่างก็ชื่อชมในตัวเขา เขาเป็นผุ้ชนะในการต่อสู้เกือบทุกรายการที่เข้าร่วม เขาสามารถเอาชนะอัศวินที่แข็งแกร่งจำนวนมากซึ่งไม่เคยมีผู้ใดเอาชนะได้มาก่อน ด้วยเหตุผลเหล่านี้ เขาจึงเป้ฯที่เคารพและศรัทธาของบรรดาอัศวินหนุ่มทั้งหลาย เขามีฉายาว่าอัศวินแห่งทะเบสาบเพราะหญิงแห่งทะเลสาบเป็นผุ้เลี้ยงดุเขาจนเติบใหญ่และ่งเขาให้มาเข้าร่วมกับกองทัพของกษัตรยิือาเธอร์ ซึ่งนางเป็นผู้ที่ขอร้องให้กษัตริย์อาเธอร์รับแลนเซลอตไปดูแล และฝึกฝนให้เป็นอัศวินที่
กล้าหาญ ต่อมากษัตริย์อาเธอร์และเซอร์แลนเซลอตก็ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทกันซึ่งแลนเซลอตรุ้สึกชื่นชมความกล้าหาญของกษัตริย์อาเธอร์เป็นอยางมาก วันที่เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินเขารู้สึกอับอายเป็นอย่างมาก เพราะเขาลืมหยิบดาบของตัวเองมา ซึ่งผุ้ที่ไม่มีดาบของตัวเองจะไม่สามารถถูกแต่่งตั้งให้เป็นอัศวินได้ พระราชนีกวินีเวียน์ได้พบดาบของเขาและนำไปคืนให้เขาทันเวลา ด้วยความที่ซาบซึ้งใจต่อการช่วยเหลือนี้ แลนเซลอตจึงได้มอบความรักและความจงรักภักดีให้กับกวินีเซียร์ และเขายังได้เสนอตัวเป็นองค์รักษ์ปกป้องพระราชินีเพื่อเป็นการแสดงความศรัทธาที่เขามีต่อเธอ พระราชินีกวินิเวียร์รู้สึกดีกับเขาตั้งแต่ครั้งแรกที่ทั้งคุ่สบตากัน
พระราชินีกวีนิเวียร์ ได้พบกับกษัตริย์อาเธอร์ครั้งแรกในปราสาทของพระราชบิดาของเธอในคา
เมเลิร์ด เธอเป็นลูกสาวของกษัตริย์ลีโอติเกรสซึ่งเป็กษัตริย์แห่งคาเมเลิร์ด เมื่อตอนที่เมืองคาเมเลิร์ดถูกศัตรูล้อม กษัตริย์อาเธอร์คือผุ้ที่เข้าไปช่วยเหลือ ระหว่างงานเลี้ยงฉลองอาเธอร์ได้พบหน้ากวินิเวียร์เป็นครั้งแรก ซึ่งทำให้เขาตกหลุมรัก อาเธอร์ไปหาเมอร์ลินเพื่อขอคำแนะนำ เพราะเขาจะไม่แต่งงานหากไม่ได้รับความเห็นชอบจากเมอร์บิน เมื่อเอมร์ลินถามว่าสตรีคนใดที่เขารักมากที่สุด อาเธอร์ตอบว่ากวินิเวียร์โดยไม่ลังเล เมอรืลินได้เตือนอาเธอร์ว่ากวินเวีร์ไม่มีราศีพอที่จะเป็นภรรยาของเขา และในที่สุดเธอลแะแลนเซลอตจะตกหลุมรักกันและกัน แต่อาเธอร์ดึงดันที่จะทำตามหัวใจของตัวเอง เขาเื่อว่าชะตาลิขิตนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ซึ่งเมอร์ลินก็ยอมตกลงเห็นชอบด้วย กษัตริย์ลีโอดีเกรสรู้สึดีใจอย่างสุดซ้ง
เมื่อทราบข่าวและได้ส่งลูกสาวมาให้อาเธอร์โดยผ่นทางเมอร์ลินพร้อมทั้งส่งอัศวิน 100 คนให้เป็นองขวัญ
ในปีต่อมา คำทนายของเมอร์ลินกลายเป็นความจริง หลังจากเซอร์เลนเซลอตได้รับการแต่งตั้งให้เป็นองค์รักษ์ เซอร์แลนเซลอตพยายามที่จะรักพระราชินีกวินีเวียร์แบบเพื่อนเท่านั้น ซึ่งดวินีเวียร์เองก็พยายามทำแบบเดียวกัน แต่ความใกล้ชิดของทั้งคู่ทั้งให้ความคิดนั้นล้มเหลว เซอร์แลนเซลอดมักจะได้รับภารกิจให้ไปช่วยพระราชินีกวินิเวียร์ ในครั้งนั้นเซอร์มิลิเอแแกรนซ์หมายปองที่จะได้ตัวพระราชินีกวินิเวียร์จึงได้ซุ่มโจมตีและลักพาตัวเธอไปในปราสาทของเขาซึ่งเธอได้แอบส่งข้อความไปให้เซอร์แลนเซลอตเพื่อขอให้เขามาช่วยเธอ เขารีับขี่ม้าไปช่วยเธอ อย่างรวดเร็ว แต่เขาเองก็ถุกซุ่มโจมตีและม้าของเขาถูกพลธนูยิ่งจนล้ม เาไม่ได้รับบาบเจ็บและพยายามมองหาพาหนะที่จะพาเขาไปยังปราสาทของเซอร์มิลิเอแกรนซื และพาหนะเพียองอย่างเดียวที่หาได้ก็คือรถม้ของคนแคระ ผุ้คนที่พบเห็นต่างก็ห้วเราะเยาะเขาตลอดทางแต่เป้าหมายของเขาคือการไปช่วยพระราชินีได้สำเร็จ ชื่อเสียงของเขาจากเหตุการณ์นี้ได้กลายเป็นที่เลื่องลือไปทั่วว่า เซอร์แลนเซลอตไม่ไ้เสียเลือดแม้แต่หยดเียวจากการบุกไปช่วยพระราชินี ซึ่งเหตุกาณณ์ในครั้งนี้ทำให้เขาได้รับฉายาว่า "อัศวินแห่งรถม้า"
เอ็ซ์คาลิเบอร์ ถึงแม้อัศวินโต๊ะกลมเป็ทนที่รุ้จักมากแค่ไหน แต่ก็ไม่อาจเทียบกับดาบเอ็กซืคาลิเบอร์ ซึ่งเป็นดาบที่ดด่งดงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ดาบเ่มนี้เป็นเหมือนเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อกษัตรยิ์อาเธอร์เมื่ออาเธอร์พ่ายแพ้ในสงครามแห่งคามลาน คำขอครั้งสุดท้ายของอาเธอร์ก็คือเขาต้องการให้ดาบเอ็กซ์คาลิเบรอืกลับไปอยู่ในศิลาซึ้งอยู่บนเกาะแห่งอวาลอน เขาได้มอบหมายหน้าที่นี้ให้กับเซอร์เบดิเวียร์ซึ่งเป็นหนึ่งในอัศวินที่เขาไว้ใจมากที่สุด แต่หลังจากร่างของอาเธอร์ถุกนำไปที่อว่าลอนแล้ว เบดิhttp://kingofavalon.game/knights-round-table_th/
เวียร์รู้สึกเสียดายที่จะปล่อยดาบไป ในขณะที่เขาถือดาบอยู่นั้นดาบในมือเขาไปเกิดแรงสั่นสะเทือนขึ้น เมอร์ลินเห็นความลังเลของเขาจึงได้ังให้เขาปล่อยดาบ แต่ดุเหมือเซอรเบดิเวีร์จะถูกพลังของดาบเข้าควบคุมซะแล้ว เมอร์ลินรู้ดีว่าเขาไม่มีทางแย่งดาบมาจากเซอร์เบดิเวียร์ผุู้งใหญ่ได้แน่ เขาจึงได้แนะำให้เซอร์เบดิเวียร์พิสูจน์ตัวเองว่าคู่ควรกับดาบเล่นนี้เมอร์ลินชีไปที่ต้นไม่ต้นใหญ่แล้วบอกให้เาลองฟันดู เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบตัดต้นไม้ขาดเป็นสองท่อนในการฟันครั้งเีดยว หลังจากนั้นเมอร์ลินบอกให้ลองใช้ดาบกัฐเหล็กดุ เซอร์เบดิเวียร์จึงได้ประจัญหน้ากับทหารสองนายและฟันดาบของทั้งคุ่จนหักในการครั้งเดียว สุดท้ายเมอร์ลินบอกให้เาใช้ดาบเจาะหินศิลาแห่งมังกรซึ่งแข็งที่สุด เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบเอ็กซ์คาลิเบอร์เจาะเข้าไปในหินศิลาได้สำเร็จ และคุยโวโอ้อวดว่าดัวเองคู่ควรกับการเป็นกษัตริย์ แต่เมอร์ลินบอกว่มีเพีีียงกษัตริย์ที่แท้จริงเท่านั้นที่จะามารถดึงดาบออกมาจากศิลาได้ ซึงนั่นทำให้เซอร์เบดิเวียร์โมโหและโถมตัวเข้าไปกระแทกจนเมอร์ลินล้มลง เขาพยายามดึงดาบอย่างเอาเป็นเอตายแต่ก็ไม่สามารถดึึงกาบเอ็กซืคาลเบอร์ออกมาจากศิลาได้ ในที่สุดเขาก็ล้มเลิกความพยายามและสำนึกถึงความบ้าคลั่งชองตัวเอง เขาคุกเข่าลงด้วยความละอายและขอให้เมอร์ลินยกโทษให้เขา ดาบเอ็กซืคาลิเบอร์จึงได้ถุกฝังอยุ่ในศิลาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา รอให้กษัตริย์ที่แท้จริงดึงมัออกมาอีกครั้ง....
วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
King Arthur
กษัตริย์อาเธอร์ เป็นกษัตริย์อังกฤผษผุ้มีชื่อเสียงโด่งดังในตำนานเล่าขานในฐานะวีรบุรุษในยุคกลาง ซึ่งได้ปกป้องเกาะบริเตนจากการรุกรานของชาวแซกซันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 รายละเอียดส่วนใหญ่เกี่ยวกับกษัตรยิ์อาเธอร์ปรากฎอยู่ในเรื่องเล่าขาน ตำนานพื้นบ้าน และวรรณกรรมที่แต่งขึ้น นักประวัติศาสตร์ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ากษัตรยิ์อาเธอร์มีตัวตนอยุ่ในประวัติศาสตร์จริงหรือไม่ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาเธอร์ค่อนข้างกระจัดกระจายอยู่ตามแหล่งข้อมูลต่างๆ และในบันทึกของ"นักบุญกิลแตส" นอกจากนี้ชื่อของ อาเธอร์ ยังปรากฎอยู่อยู่ในบทกวีเก่าแก่หลายแห่ง เช่นในกวีนิพน วาย กอดโดดิน เป็นต้น
กษัตรย์อาเธอรในตำนานได้พัฒนาขึ้นจนกลายเป็นบุคคลที่น่าสนใจในระดบนานาชาติก็ด้วยผลงานเขียนอันเปี่ยมด้วยจิตนาการและความเหนือจริงของเจฟฟรีย์แห่งมอนมัท ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เรื่อง Historia Regum Britanniae (ประวัติแห่งบริเตน) แต่ก็มีนิทานและกวีนิพนธ์ของเวลส์และไบรตันหลายเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกษัตรยิ์อาเธอร์ และมีอายุเก่าแก่กว่างานช้ินดังกล่าว ในงานเหล่านั้น อาเธอร์เป็นทั้งนักรบผุ้ยิ่งใหญ่ผุ้ปกป้องบริเตนไว้จากศัตรุทั้งที่เป็นมนุษย์แลสิ่งเหนือมนุษย์ บางครั้งก็เป็ผู้วิเศษในตำนานพื้นบ้าน ทั้งมีเรื่องเล่าถึงโลกหลังความตายในตำนานเวลส์ ด้วย แต่ไม่อาจสรุปได้ว่าผลงานของเจฟฟีย์(ซึ่งเขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1138 ) ได้ดัดแปลงมาจากตำนานเก่าแก่ดั้งเดิมเหล่านั้นมากน้อยเพียงใด
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
ทั้งโครงเรื่อง เหตุกาณ์ และบุคลิกของกษัตริย์อาเธอร์ รวมถึงบุคคลต่าง ๆในตำนนอาเธอร์ ได้เปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ในวรรณกรรมของแต่ละยุคโดยที่ไม่มีเรื่องใดสอดคล้องต้องกันอย่างสมบูร์แต่งานเขียนฉบัยบของเจฟฟรีย์ถือได้ว่าเป็นจุดเร่ิมต้นของวิวัฒนาการของตำนานในยุคต่อๆ มา เจฟฟรีย์พรรณนาภาพของอาเธอร์เป็นกษัตริย์แห่งบริเตนผู้ต่อสู้ต้านทานการรุกรานของพวกแซกซัน และก่อร่างสร้างอาณาจักรแห่งบริเตน ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และกอล องค์ประกอบต่างๆ จนแม้เหตุการณ์ที่ปรากฎอยุ่ในวรรณกรรมเกี่ยวกับอาเธอ
ร์ในชั้นหลังล้วนเคยปรากฎอยุ่ใน "ฮิตทอเรีย" ของเจฟฟรีย์มากอ่นทั้งนั้น เช่น ยูเทอร์ เพนแครกกอน ผู้เป็นบิดาของอาเธอร์ พ่อมด เมอร์ลิน ดาบเอกซ์แคลิเบอร์ กำเนิดของอาเธอร์ที่ทินแทเจล การรบครั้งสุดท้ายกับมอร์เคร็ดที่คัมลานน์รวมถึงาการผ่อนพักใปั้นปลายที่แอวาลอน นักเขียชาวฝรั่งเศสในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 12 ชื่อ เครเตียง เอด ทรัว เป็นผ้เพ่ิมบทบาทของลานเซลอต และ จอกศักดิ์สิทธิ์ เข้าไปในตำนาน และริเร่ิมเรื่องราวเชิงโรแมนซ์ ของอาเธอร์ซึงต่อมากลายเป็นแห่นของวรรณกรรมในยุคกลาง ในงานเขียนภาษาฝรั่งเศสชุดนี้ จุดหลักของเรื่องมักจะเคลื่อนไปจากตัวอาเธอร์ ไปยังตัวละครอื่นๆ ในเรื่อง เช่นบรรดา อัศวินโต๊ะกลม ทั้งหลาย เป็นต้น วรรณกรรมเกี่ยวกับอาเธอร์เป็นที่นิยมมาตลอดยุคกลาง และค่อยๆ เสื่อมความนิยมลงไปเมื่อผ่านไปหลายศตวรรษ วรรณกรรมอาเธอร์ได้รับความนิยมกลับคืนมาอีกครั้งเมื่อเข้าสุ่ริสต์สตวรรษที่ 19 และยืนบงอยุ่มาตลอดจนถึงศตวรรษที่ 21 ได้รับการดัดแปลงไปยบังสื่อต่างๆ ทั้งในส่วนของงานวรรณกรรมเอง หรือดัดแปลงไปเป็นภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ การ์ตูน และสื่ออื่นๆ อีกมากมาย....
วันศุกร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Prehistoric Britain : Britannia Romana
บันทึกเกี่ยวกับหมุ่เกาะบริเทนมีขึ้นครั้งแรโดยพ่อค้าชาวกรีกโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อน
คริสตกาล พิธีแอสแห่งมาสซิเลีย นักสำรวจชาวกรีกมาเยือนเกาะอังกฤาใน 325 ปีก่อน คริสตศตวรรษ พลีนีผู้พ่อ นักสำรวจชาวโรมันกล่าวว่าเกาะอังกฤษเป็นแหล่งดีบุกสำคัญ ทาซิตุส ชาวโรมันเป็นคนแรกที่กล่าวถึงบริตัน ที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะบริเตน ว่ามไ่มีความแตกต่างจากชาวโกล ในฝรั่งเศส(คือเป้นชาวเคลท์เหมือนกัน) ในด้านรูปร่างหน้าตาขนาดร่างกาย
จูเลียส ซีซาร์พยายามจะพิชิตอังกฤผษในปีที่ 55 และ 54 ก่อนคริสตศตวรรษ แต่ไม่สำเร็จ นนจักรพรรดิคลอติอุส ส่งทัพมาพิชิตอังฏฟานค.ศ. 43 ชาวโรมัปกครองทั้งอังกฤษ เวลส์ เลยไปถึงสกอตแลนด์ ตั้งเมืองสำคัญต่างๆ เช่น ลอนดอน แต่ชาวโรมันทนการรุกรานของเผ่าเยอรมันต่างๆ ไม่ไหว ถอนกำลังออไปใน ค.ศ. 410 ชาวแองโกล ชาวแซกซัน และชาวจูทส์ มาปักหลักตั้งถ่ินฐานในอังกฤษ ต่อสู้กับชาวบริตันเดิม ผลักให้ถอยร่นไปทางตะวันตกและเหนือhttps://kimmayoungsoo.wordpress.com/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99/
ในการเดินทางมาครั้งสองของโรมัน เป็นการเดินทางมารุกราน ซีซาร์นำองทหารมาเป็นจำนวนมากกว่าเดิมและได้ชวนเชิญชนเผ่าเคลติดหลายเป่ามาเกลี้ยกล่อมให้มอบรรณาการให้แก่โรมเพื่อเป็นการและเปลี่ยนกับการคืนตัวประกันเพื่อควาสงบ ดรมันแต่างตั้งประมุขของเผ่าหนึ่งที่มาเป็นฝักฝ่ายกบโรมมานดูบราเซียส ให้เป็นผุ้ปกครองและกำจัดคาสสิเวลลอนัส ผุ้เป้นศัตรุของมานดูบราเซียส โรมันจับตัวประกันไปแต่นักประวัติศาสตร์ตกลงกันไม่ไ้ว่าชาวบริเตนตกลงจ่ายบรรณาการหลังจากที่ซีซาร์กลับไปกอลพร้อมกับพองทัพหรือไม่
การรุกรานครั้งนี้ซีซาร์ไม่ได้อาณาบริเวณใดใดกลับไปด้วยและก็มิได้ทิ้งกองทหารไว้ดูแลแต่ได้ก่อตั้ง "Cliens" ในบริเตนซึ่งทำให้เกาะอังกฤษกลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลในทางการเมืองจากโรมในปี 34,27 และ 25 ก่อนคริสต์ศักราช ออกัสตัส ซซาร์ วางแผนที่จะมารุกรานอังกฤษแต่สาถนะการณ์ไม่อำนวย ความสัมพันะ์ระหว่างบริเตนกับโรมจึงเป็นแต่เพียงความสัมพันะ์ทางการทูตและการค้าขาย สตราโบนักประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ปัชญาชาวกรีกบันทึกไว้ในปลายสมัยออกกัสตัส ซีซาร์ว่ารายได้จากภาษีและการค้าบริเตนเปนรายได้มีมากกว่ารายได้ที่ได้จากการได้รัับชัยชนะอื่นๆ ของโรมัน ซึ่งสนับสนุนได้จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบสินค้าฟุ่มเพฟื่อยทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นสตราโบก็ยังกล่าวถึงพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษผุ้ส่งทูตไปยังสำนักของออกัสสตัส และบันทึกของออกัสตัสเอง “Res Gestae Divi Augusti” ที่กล่าวถึงกษัตรยิ์สองพระอง๕์ที่ออกัสตัสได้รับในฐานะผุ้ลี้ภัย ต่อมาใน ค.ศ. 16 เมื่อเรือบางลำของไทบีเรียสถูกพันไปยังเกาะอังกฤษ โดยพายะระหว่างการรณรงค์ในเจอร์มาเนย ทหารโรมัน ก็ถูกส่งตัวกลับโดยผุ้นำใท้องถ่ินในบริเตน ที่กลับไปเล่ากันถึงตำนานยักษณ์ร้ายต่าง ๆที่พบทีนั่น
โรมดุจะสนับนุนการสร้างความสมดุลทางอำนจทางใต้ของบริเตนโดยสนับสนุนราชอาณาจักรสองราชอาณาจักรที่ีอำนาจ คาทูเวลลอนิ ที่ปกครองโดยผุ้ที่นือบเชื้อสายาจากทาสซิโอวานัน และอาเทรบาทีส ที่ปกครองโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากคอมเมียส นโยบายนี้ปฏิบัติติดต่อกันมาจนปี ค.ศ. 39 หรือ 40 เมื่อคาลิกูลา รับผุ้ลี้ภัยจากคาทูเวลลอนิและวางแผนการรุกรานเกาะอังกฤษที่แตกแผยกออกเป็นฝัฝักเป็นฝ่าย เมื่อคลอเดียสรุกรานอังกฤษสำเร็ในปี ค.ศ. 43 โดยได้รับความช่วยเหลือจากผุ้ปกครองบริเตนคนหนึ่ง เวอร์ติคาแห่ง เทรบาทส์
การรุกรานบิรเตนโดยดรมัน กองทัพท่นำมารุกรานอังกฤษใน ค.ศ. 43 นำโอย ออลัส พอลเทียส แต่ไม่เป็นที่ราบว่าโรันส่งกองกำลังมาเป็นจำนวนเท่าใด นอกไปจาก "กองออกัสตาที่ 2 ฎ ที่นำโดยเวสเปเชียน ผุ้ต่อมาเป็นจักรพรรดิแห่งโรมที่กล่าวว่ามีส่วนร่วม ส่วน "กองฮิลปานยาที่ 14 " และ "กองวาเลเรียเวทริกซ์ที่ 20 " มีส่วนร่วมในปี ค.ศ. 60/61 ระหว่างการปฏิวัติบูคิคา ซึ่งอาจจะเป็นกองที่ประจำอยู่ที่นั่นมาตั้งแต่การรุกรานครั้งแรก แต่โดยทั่วไปแล้วกองทัพโรมัน เป็นกองทัพี่มีความยืดหยุ่นในการโยกย้ายกองกำลังต่างๆ ไปยังที่ต่างๆ ในเวลาใดก็ได้แล้วแต่ความจำเ็ ซึ่ทำให้เป็นการยากที่จะสันนิษฐานโดยไม่มีหลักฐานสนับสนุนว่ากองใดแน่ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง แต่ท่แน่ก็มีแต่ "กองฮิลปานยาที่ 9 " เท่านั้นที่ประจำการอยู่ในบริเตนจนถูกกำจัดโดยสกอต
การรุกรานมาช้าลงเพระาการแข็งข้อาภายในของทหารจนเมือได้รวสัญญาว่จะได้รับเสรีภาพถ้ายอมข้ามทะเลไปต่อสู้ในดนแดนที่ไม่คุ้นเคย การข้ามแบ่งเป็นสามหน่วยที่อาจจขึ้นฝั่งที่ริชบะระห์ ในเค้น
ท์ แต่บางหลักฐานก็กล่าวว่าบางส่วนขึ้นทางฝั่งทะเลด้านใต้ในบริเวณฟิบอร์ในเวสต์ซัสเซ็กซ์
โรมันได้รับชัยชนะต่อคาทูเวลอนิและพันธิมิตรในยุทธการสองยุทธการๆ แรกยุทธการเม็ดเวย์ และยุทธการที่สองที่แม่น้ำเทมส์ โทโกดูมัส ผุ้นำของคาทูเวลลอนิถูกสังหารแต่น้องชายคารัททาคัส รอดมาต่อต้านที่อื่นต่อไป พลอเทียสหยุดยังอยู่ที่มแ่น้ำเทมส์และสงข่วไปยังคลอเดียสผุ้ตามมาพร้อมกับกองกำลังสนับสนุที่รวมทั้งอาวุธและช้างเพื่อที่จะเดินทัพไปยังที่มันสุดท้ายที่เมืองหลวงคามุโลดูนัม (โคลเซสเตรอื ในปัจจุบัน) เวสเปเซียน จึุงปราบปรามทางตะวันตกเฉียงใต้ของบริเตนได้ หลังจากนั้นโรมมก็แต่งตั้งให้ ไทบีเรียส คลอเดียส โคกิดูบนัส ผุ้เป็นพันธมิตรกับโรมเป็นผุ้ปกครองอาณาบริเวณหลายอาณาบริเวณ และภายนอกบริวเณที่ปกครองโดยโรมันโดยตรงก้มีการลงนามในสนธิสัญญากับกลุ่มต่างๆ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99
คริสตกาล พิธีแอสแห่งมาสซิเลีย นักสำรวจชาวกรีกมาเยือนเกาะอังกฤาใน 325 ปีก่อน คริสตศตวรรษ พลีนีผู้พ่อ นักสำรวจชาวโรมันกล่าวว่าเกาะอังกฤษเป็นแหล่งดีบุกสำคัญ ทาซิตุส ชาวโรมันเป็นคนแรกที่กล่าวถึงบริตัน ที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะบริเตน ว่ามไ่มีความแตกต่างจากชาวโกล ในฝรั่งเศส(คือเป้นชาวเคลท์เหมือนกัน) ในด้านรูปร่างหน้าตาขนาดร่างกาย
จูเลียส ซีซาร์พยายามจะพิชิตอังกฤผษในปีที่ 55 และ 54 ก่อนคริสตศตวรรษ แต่ไม่สำเร็จ นนจักรพรรดิคลอติอุส ส่งทัพมาพิชิตอังฏฟานค.ศ. 43 ชาวโรมัปกครองทั้งอังกฤษ เวลส์ เลยไปถึงสกอตแลนด์ ตั้งเมืองสำคัญต่างๆ เช่น ลอนดอน แต่ชาวโรมันทนการรุกรานของเผ่าเยอรมันต่างๆ ไม่ไหว ถอนกำลังออไปใน ค.ศ. 410 ชาวแองโกล ชาวแซกซัน และชาวจูทส์ มาปักหลักตั้งถ่ินฐานในอังกฤษ ต่อสู้กับชาวบริตันเดิม ผลักให้ถอยร่นไปทางตะวันตกและเหนือhttps://kimmayoungsoo.wordpress.com/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99/
ในการเดินทางมาครั้งสองของโรมัน เป็นการเดินทางมารุกราน ซีซาร์นำองทหารมาเป็นจำนวนมากกว่าเดิมและได้ชวนเชิญชนเผ่าเคลติดหลายเป่ามาเกลี้ยกล่อมให้มอบรรณาการให้แก่โรมเพื่อเป็นการและเปลี่ยนกับการคืนตัวประกันเพื่อควาสงบ ดรมันแต่างตั้งประมุขของเผ่าหนึ่งที่มาเป็นฝักฝ่ายกบโรมมานดูบราเซียส ให้เป็นผุ้ปกครองและกำจัดคาสสิเวลลอนัส ผุ้เป้นศัตรุของมานดูบราเซียส โรมันจับตัวประกันไปแต่นักประวัติศาสตร์ตกลงกันไม่ไ้ว่าชาวบริเตนตกลงจ่ายบรรณาการหลังจากที่ซีซาร์กลับไปกอลพร้อมกับพองทัพหรือไม่
การรุกรานครั้งนี้ซีซาร์ไม่ได้อาณาบริเวณใดใดกลับไปด้วยและก็มิได้ทิ้งกองทหารไว้ดูแลแต่ได้ก่อตั้ง "Cliens" ในบริเตนซึ่งทำให้เกาะอังกฤษกลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลในทางการเมืองจากโรมในปี 34,27 และ 25 ก่อนคริสต์ศักราช ออกัสตัส ซซาร์ วางแผนที่จะมารุกรานอังกฤษแต่สาถนะการณ์ไม่อำนวย ความสัมพันะ์ระหว่างบริเตนกับโรมจึงเป็นแต่เพียงความสัมพันะ์ทางการทูตและการค้าขาย สตราโบนักประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ปัชญาชาวกรีกบันทึกไว้ในปลายสมัยออกกัสตัส ซีซาร์ว่ารายได้จากภาษีและการค้าบริเตนเปนรายได้มีมากกว่ารายได้ที่ได้จากการได้รัับชัยชนะอื่นๆ ของโรมัน ซึ่งสนับสนุนได้จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบสินค้าฟุ่มเพฟื่อยทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นสตราโบก็ยังกล่าวถึงพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษผุ้ส่งทูตไปยังสำนักของออกัสสตัส และบันทึกของออกัสตัสเอง “Res Gestae Divi Augusti” ที่กล่าวถึงกษัตรยิ์สองพระอง๕์ที่ออกัสตัสได้รับในฐานะผุ้ลี้ภัย ต่อมาใน ค.ศ. 16 เมื่อเรือบางลำของไทบีเรียสถูกพันไปยังเกาะอังกฤษ โดยพายะระหว่างการรณรงค์ในเจอร์มาเนย ทหารโรมัน ก็ถูกส่งตัวกลับโดยผุ้นำใท้องถ่ินในบริเตน ที่กลับไปเล่ากันถึงตำนานยักษณ์ร้ายต่าง ๆที่พบทีนั่น
โรมดุจะสนับนุนการสร้างความสมดุลทางอำนจทางใต้ของบริเตนโดยสนับสนุนราชอาณาจักรสองราชอาณาจักรที่ีอำนาจ คาทูเวลลอนิ ที่ปกครองโดยผุ้ที่นือบเชื้อสายาจากทาสซิโอวานัน และอาเทรบาทีส ที่ปกครองโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากคอมเมียส นโยบายนี้ปฏิบัติติดต่อกันมาจนปี ค.ศ. 39 หรือ 40 เมื่อคาลิกูลา รับผุ้ลี้ภัยจากคาทูเวลลอนิและวางแผนการรุกรานเกาะอังกฤษที่แตกแผยกออกเป็นฝัฝักเป็นฝ่าย เมื่อคลอเดียสรุกรานอังกฤษสำเร็ในปี ค.ศ. 43 โดยได้รับความช่วยเหลือจากผุ้ปกครองบริเตนคนหนึ่ง เวอร์ติคาแห่ง เทรบาทส์
การรุกรานบิรเตนโดยดรมัน กองทัพท่นำมารุกรานอังกฤษใน ค.ศ. 43 นำโอย ออลัส พอลเทียส แต่ไม่เป็นที่ราบว่าโรันส่งกองกำลังมาเป็นจำนวนเท่าใด นอกไปจาก "กองออกัสตาที่ 2 ฎ ที่นำโดยเวสเปเชียน ผุ้ต่อมาเป็นจักรพรรดิแห่งโรมที่กล่าวว่ามีส่วนร่วม ส่วน "กองฮิลปานยาที่ 14 " และ "กองวาเลเรียเวทริกซ์ที่ 20 " มีส่วนร่วมในปี ค.ศ. 60/61 ระหว่างการปฏิวัติบูคิคา ซึ่งอาจจะเป็นกองที่ประจำอยู่ที่นั่นมาตั้งแต่การรุกรานครั้งแรก แต่โดยทั่วไปแล้วกองทัพโรมัน เป็นกองทัพี่มีความยืดหยุ่นในการโยกย้ายกองกำลังต่างๆ ไปยังที่ต่างๆ ในเวลาใดก็ได้แล้วแต่ความจำเ็ ซึ่ทำให้เป็นการยากที่จะสันนิษฐานโดยไม่มีหลักฐานสนับสนุนว่ากองใดแน่ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง แต่ท่แน่ก็มีแต่ "กองฮิลปานยาที่ 9 " เท่านั้นที่ประจำการอยู่ในบริเตนจนถูกกำจัดโดยสกอต
การรุกรานมาช้าลงเพระาการแข็งข้อาภายในของทหารจนเมือได้รวสัญญาว่จะได้รับเสรีภาพถ้ายอมข้ามทะเลไปต่อสู้ในดนแดนที่ไม่คุ้นเคย การข้ามแบ่งเป็นสามหน่วยที่อาจจขึ้นฝั่งที่ริชบะระห์ ในเค้น
ท์ แต่บางหลักฐานก็กล่าวว่าบางส่วนขึ้นทางฝั่งทะเลด้านใต้ในบริเวณฟิบอร์ในเวสต์ซัสเซ็กซ์
โรมันได้รับชัยชนะต่อคาทูเวลอนิและพันธิมิตรในยุทธการสองยุทธการๆ แรกยุทธการเม็ดเวย์ และยุทธการที่สองที่แม่น้ำเทมส์ โทโกดูมัส ผุ้นำของคาทูเวลลอนิถูกสังหารแต่น้องชายคารัททาคัส รอดมาต่อต้านที่อื่นต่อไป พลอเทียสหยุดยังอยู่ที่มแ่น้ำเทมส์และสงข่วไปยังคลอเดียสผุ้ตามมาพร้อมกับกองกำลังสนับสนุที่รวมทั้งอาวุธและช้างเพื่อที่จะเดินทัพไปยังที่มันสุดท้ายที่เมืองหลวงคามุโลดูนัม (โคลเซสเตรอื ในปัจจุบัน) เวสเปเซียน จึุงปราบปรามทางตะวันตกเฉียงใต้ของบริเตนได้ หลังจากนั้นโรมมก็แต่งตั้งให้ ไทบีเรียส คลอเดียส โคกิดูบนัส ผุ้เป็นพันธมิตรกับโรมเป็นผุ้ปกครองอาณาบริเวณหลายอาณาบริเวณ และภายนอกบริวเณที่ปกครองโดยโรมันโดยตรงก้มีการลงนามในสนธิสัญญากับกลุ่มต่างๆ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99
Prehistoric Britain
อังกฤษก่อนปรวัติศาสตร์ เป็นประวัติของการตั้งถิ่นฐานในบริเตนใหญ่ที่เร่ิมตั้งแต่ปลายสมัยก่อนประวัติศาสตร์และมาสิ้สุดลงเมื่อชาวโรมันเข้ามารุกราน
บรเิตนเป็นที่ตั้งถิ่นฐานเป็นพักๆ ของมนุษย์ "จีนัสโฮโม" มาเป็นเวลาหลายแสนปี และต่อมาโดยมนุษย์ "โฮโมเซเปียน" เป็นเวลาอีหลายหมื่นปี..มนุษย์สมัยใหม่มาตั้งถ่ินฐานในบริเตนก่อนหน้ายุคน้ำแข็งครั้งสุดท้าย เมื่อยุคน้ำแข็งเร่ิมขึ้นอีกครั้ง เมื่อแผ่นดินบริเตนส่วนใหญ่ถูกปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งและส่วนอื่นๆ เป็นทุ่งทันตรา ผุ้ที่ตั้งถ่ินฐานอยู่ในบริเตนก็ย้ายหนีละไปทางใต้ของยุโรป ในช่วงนี้ระดับน้ำทะเลของยริเตนตำกว่าระดับปัจจุบันราม 127 เมตร แผ่นดินบริเตนึงเป็นแผ่นดินที่ติดต่อกับทั้งไอร์แลนด์และยุโรปทำให้สามารถเดินผ่านถึงกันได้โดยไม่ต้องข้าททะเลเช่นในปัจจุบัน
หลังจากยุน้ำแข็งสิ้นสุดลง..แผ่นดินไอร์แลนด์ก็แยกจากบริเตน ต่อมาอีกพันปีก่อนคริต์ศตวรรษ บริเตนก็แยกออกจากแผ่นดินใหญ่ยุโรป เร่ิมมีผุ้กลับมตั้งถ่ินฐานราว 12,000 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษซึ่งเห็นได้จากหลัฐานทางโบราณคดี เมื่อราว 4000 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษเกาะอังกฤษก็เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของผุ้คนจากยุคหินใหม่ แต่ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานก่อนโรมันไ่มีหลักฐานว่ามีภาษาเขียนที่หลงเหลืออยู่ให้เห็น การที่ไม่มีหลักฐานทางวรรณกรรมจากสมัยนี้ทำให้เป็นการยากที่จะทราบโดยตรงถึงประวัติ วัฒนธรรมและความเป็นอยู่ ความรุ้ความเข้าใจจึง้งอมาจากการศึกษาจากหลักฐานจากสิ่งที่พบทางโบราณคดีประกอบกับหลักฐานทางพันธุกรรม ทางด้านภาษาก็มีหลักฐานเหลือยู่เพียงเล็กน้อยที่มาจากชื่อแม่น้ำ หรือเนินต่างๆ ที่อธิบายอย่างละเอียดในบทความสมัยก่อนเคลติต และสมัยเคลติค
หลักฐานจากงานเขียนที่สำคัญชิ้นแรกที่กล่าวถึงบริเตนและผุ้อยู่อาศัยมาจาข้อเขชียนของไพเธียส นักเินเรือกรีกผุ้เดินทางมาสำรวจชายฝั่งทะเลในบริเวณบริเตนราว 325 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษ แต่ก็อาจจะมีข้อมูลเก่ยวกับบริเตนใน "โอรา มาริทิมา" ที่หายไปซึงรวมอยุ่ในข้อเขียนของนักเขียนผุ้อื่นในภายหลังชาวบริเตนโบราณทมีการติดต่อค้าขายและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธณณมกับทวีปยุโรปมาตั้งแต่ยุคหินใหม่ เป็นต้นมาโดยเฉพาะในการส่งดีบุกเป็นสิน้าออกึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติทีบริเตนมีากมาย หลันอื่นที่กล่าวถึงบริเตนมาจากจูเลียส ซีซาร์ ผุ้กล่าวถึงบริเตนราว 50 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษ...
บริเตนเป็นที่รุ้จักกนมาตั้งแต่ในสมยกรีกโบราณ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช
เป็นต้นมา กรีก ฟินิเซีย และคาร์เธจ ก็มีการติดต่อค้าขาย ดีบุก กับ คอร์นวอลล์ ชาวกรีกเรียกบริเตนว่า "คาสซิเทอไรด์ส" หรือหมู่เกาดีบุกและบรรยายว่าตั้งอยู่ราวทางฝังทะเลตะวันตกของยโรปกล่าวกันว่า นักเดนเรือชาวคาร์เทจ "ฮิมิลิโค" ได้เดดนทางมาบังเกาะอังกฤษ ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราช และนักสำรวจชาวกรีก ไพเธยส ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตืศักราช แตค่ถือกันว่าเป็นดินแดนที่ลึกลับและบ้างก็ไม่เชื่อว่าเป็ฯดินแดที่ม่อยุจริง
การติดต่อกับโรมันโดยตรงเป้นการเดินทางมาสำรวจโดยจูเลียส ซีซาร์ สองครั้งในปี 55 และอีครั้งในปี 54 ก่อนคริสต์ศักราชซึ่ง เป้นการเดินทางที่เลยมาหลังจากได้รับชัยชนะต่อ"กอล" เพราะซีซาร์เชื่อว่าชาวบริเตนให้ความช่วยเหลือแก่ผุ้ต่อต้านชาวกอล การเดินทางมาสำรวจครั้งแรกเป็นการมาลาดตระเวณมากว่าทีจะเป็นการรุกรานเต็มตัวโยมาขึ้นฝังที่เค็นท์ แต่มาถุกพายุทำลายเรือไปบ้างและขาดทหารม้ทำให้ไม่สามารถไปได้ไกลกว่านั้น การสำรวจครั้งแรกเป็นความล้มเหลวทางทหารแต่เป็นความสำเร็จทางการเมือง ที่สภาเซเนโรมัน ประกาศหยุดราชการ 20 วันเพื่อเป็นการฉลอ
ความสำเร็จในการพบดินแดนใหม่ที่ไม่มีสิ่งใดเท่าเทียม...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99
วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Kelts
เคลต์ หรือ เซลต์ เป้นคำทีใช้เรียกชนยุโปรที่เดิมพูดหรือบังพูดภาษากลุ่มเคลต์ นอกจากนั้นก็ยังเป้นคำที่ใช้ในความมหายหว้างๆ ในการบรรยายผุ้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวเคลต์ ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมเคลต์อยู่
เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มในยุคเหล็ยุโรป อารยธรรมเคลต์ดั้งเดิมเร่ิมก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัย วัฒนธรรมฮัลล์ตัทท์ ที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแคน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่างๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึง ไอร์แลนด์ และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่กาเลเซีย (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์
หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยุ่ในคำจารึกในภาษาเลพอนติค จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรป มีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ กลุ่มภาษาเคลก์เกาะ ปรากฎในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในคำจารึกออกัม วรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ภาษาไอรัชเก่า ตั้เงแต่รวมคริต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น"Táin Bó Cúailnge" มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12
เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังจากขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและสมัยการยายถ่ินฐาน ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดยู่แต่เพียงหมู่เกาะบริติช และภาษาเคลต์ยุดรปก็อยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และบิรตตานี บนสองฝั่งของ่องแคบอังกฤษ..
.. ในปัจจับนคำว่า "เคลต์" โดยทั่วไปใช้ในการบรรยายภาษาและอารยธรรมของไอร์แลนด์ สกอตแลนด์, เวลล์, คอร์นวอลล์, เกาะแมนและบริตตานี หรือที่เรียกว่า ชาติเคลต์ทั้งหก (Six Celtic Nations)ในปัจจุบันยังมีบริเวณสี่บริเวณที่เพ่งเร่ิมเข้ามาคอร์นิช (หนึ่งในภาษากลุ่มบริทอนิกและแมง.์ (หนึ่งในภาษากลุ่มกอยเดล) อกจากนั้นก็ยังมีการพยายามที่จะฟื้นฟูการใช้ภาษาคับริก (หนึ่งในภาษากลุ่มบริทอนิก จากทางตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษและตะวันตกเฉียงใต้ของสกอตแลนด์)
"เดลต์" บางครั้งก็ใช้ในการบรรยายอาณาบริเวณในแผ่งดินใหญยุโรป ที่มีรากฐานมาจากเดลต์แต่ไมไ้ใช้ภาษาเดลต์ซึ่งได้แก่บริเวณทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย(โปรตุเกส) ทางตอนกลางตอนเหนือของสเปน (กาลิเซีย, อัสตูเรียส, กันตาเบรย, คาสตีลและเลออน, เอกซ์เตรมาตูรา) และบางส่วนของฝรั่งเศส
"เดลต์ยุโรป" หมายถึงผู้ที่พูดภาษเคลตบนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ส่วน "ชาวเดลต์เกาะ หมายถึงผุ้ที่พุดภาษาเคลต์บนหมุ่เกาะอังกฤษ ผุ้สืบเชื้อสายเดคต์ในบริตตานีที่มาจากชาวเดคลต์เกาะจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษจึงจัดอยุ่ในกลุ่มเดียวกัน
กลุ่มภาษาเดลต์ เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เมื่อผุ้ใช้ภาษากลุ่มเดอลต์เข้ามามีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ราาว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช หวเหน้าเเผ่าหนึ่งของกลอโจมตีโรม เมื่อ 387 ปีก่อนคริสตศักราช) ก็ได้เเยกตัวเป้นกลุ่มภาษาย่อยแล้วและแผ่ขยายไปทั่วยุโรปตอนกลาง คาบสมุทรไอบีเรีย ไอร์แลนด์และบิรเตน
นักวิชาการบางท่านมีความเห็นว่าเอิร์นฟิลด์ ของทางด้านเหนือของเยอรมนีและเนเธอร์แลนด์เป็นบริเวณตนกำเนิดของเคลต์ที่เป็นอารยธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของสาาอารยธรรมตระกูลอินโด-ยูโรเปียน อารยธรรมนี้มีศุนย์กลางอยุ่ตอนกลางของทวีปยุโรป ระหว่งปลายยุคสำริดตั้งแต่รวม 1200 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่ง - 700 ปีก่อนคริสต์ศักราชที่สืบเนื่องมรจาก อารยธรรมอูเญชิตเซ และ อารยธรรมทิวมิวลัส ระหว่างสมัยอารยธรรมเดิร์นฟิลด์ก็มีขยายจำนวนประชากรขึ้นเป็นจำนวนมากในบริเวณที่ว่าซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการปรับปรุงวิะีการเกษตรกรรมนักประวัติศาสตร์กรีก เอโฟรัส แห่งไซม์ไในเอเ๙ียไม่เนอร์บันทึกเมื่อสี่ร้อยปีก่อนคริสต์ศักราชว่าชาวเคลต์มาจากเกาะที่ปากแม่นำ้ไรน์ผู้ถูก "ชับจากบริเวณนั้นเพราะสงครามที่เกิดขึ้ย่อยๆ และความรุนแรงเมื่อน้ำทะเลสุงขึ้น"
การเผยแพร่ของการตีเหล็กเป็นการวิวฒนาการของอารยธรรมฮัลล์ชตัทท์ โดยตรงจากอายธรรมเอิร์ทฟิลด์ (ราว 700 ถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ภาาาเคลต์ดังเดิม ที่เป็นภาษาที่มาก่อนภาษากลุ่มเคลต์เชื่อก้นว่าเป็นภาษาที่ใช้พุดในปลายสมัยเอิร์นฟิลด์ หรือต้นสมยฮัลล์ชตัทท์ เมื่อต้นพันปีก่อนคริสต์ศักราช การแพร่ขยายของกลุ่มภาษาเคลต์ไปยังไอบีเรีย ไอร์แลนด์ และบริเตนสันนิษฐษนกันว่าเกิดขึ้นราวครึ่งแรกของพันปีก่อนคริสต์ศักราช - จากหลักฐานการฝังรถม้ากับผุ้ตายที่พบในอังกฤษที่คาดว่าเกิดขึ้นราาว 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช หลายร้อยปีต่อมากลุ่มภาษาเดลต์ก็แบ่งแยกออกเป็น ภาษเคลต์ไอบีเรีย กลุ่มภาษากอยเดล และภาษากลุ่มบริทอนิก
อายธรรมฮัลล์ชตัทท์ตามมาด้วยวัฒนธรรมลกแตนของยุโรปตอนกลางและรกว่งปลายสมัยยุคเลห็ก็ค่อยๆ กลายเป้นอารยธรรมเดคลต์ แม่น้ำหลายแม่น้ำที่มีชื่เอป้นภาษาเคลต์พบในบริเวณตอนบนของแม่น้ำดานูบ และแม่น้ำไรท์ที่นักวิชาการเกี่ยวกับการยธรรมเดลต์สันนิษฐานกันว่าเป้นบริเวณที่เป็นบ่อเกิดของชาติพันธ์ เคลต์
นักประวัติศาสตร์กรีก ดีโอโตรุส ซีกูลุส และสตราโบ ต่างก็สันนิษฐานว่าศุนย์กลางของอารยธรรมเดลต์อยุ่ทางใต้ของฝรั่งเศส ซีคัลลัสกล่าวว่ากอลอยุ่ทางเหนือของเดลต์ และโรมันเรียกคนทั้งสองกลุ่มว่า "กอล" ก่อนหน้าที่จะพบ อารยธรรมฮัลล์ซตัทท์ และวัฒนธรรมลาแตนเป็นที่เชื่อกัะว่าศุนย์กลางของอารยธรรมเคลต์อยุ่ทางใต้ของฝรั่งเศส
อัลมาโกร-กอร์เบอา เสนอว่าที่มาของอารยธรรมเคลต์ เร่ิมขึ้นเมื่อสามพันปีก่อนคริสต์สํกราชที่เดมมีต้นตอมาจาก อารยธรรมเบล บีคเดอร์ ซึ่งเป้ฯการทำให้อารยธรรมนี้เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตกและสร้างความแตกต่างในหมู่ชาวเคลต์เอง นอกจากนั้นก็ยังเป้นการก่อสร้งางประเพณีโบราณต่างๆ
ขณะเดียวกันการค้นคว้าทางด้านพันธุศาสตร์ ปรวัติศาสตร์ และโบราณคดีและนักเขียนสตีเฟน ออปเพนไฮเมอร์ก็เสนอว่าเคลต์เป็นชนเมดิเตอร์เรเนียนที่เข้ามาตั้งถ่ินฐานครั้งแรกทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสในปลายยุคน้ำแขช้.ครั้งสุดท้ายราว 11.000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และตั้งแต่นั้นมาก็อาจจะรวมตัวกับ ชนกลุ่มบาสก์ตั้งเดิม และขยายตัวไปยังอิตาลี สเปน เกาะอักฤา และเยอรมนี ซึ่งตงกับตำนานที่มาจากเคลต์ที่บันทึกในสมัยกลางของสกอตแลนด์และไอร์แลนด์ที่กล่าวเป็นนัยยะถึงต้จตอว่ามาจากอานาโตเลียและต่อมาไอบีเรียโดยทางอียิปต์ แต่ในหนังสือ "ที่มาของชนบริติช" ฉบับปรับปรุง ออปเพนไฮเมอร์ด้านทฤษฎีเดิมว่าทั้งชาวแองโกล-แซกซัน และชาวเคลต์ไ่มีอิทธิพลต่อพันะูกรรมของผุ้อยุ่อาศัยในหมู่เกาะบริเตนเท่าใดนักและบรพบุรุษของชนบริติชส่่วนใหญ่สืบมาจากชนไอบีเรียของยูหินเก่าที่ปัจจุบันคือชาวบาสก์..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%8C
เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มในยุคเหล็ยุโรป อารยธรรมเคลต์ดั้งเดิมเร่ิมก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัย วัฒนธรรมฮัลล์ตัทท์ ที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแคน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่างๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึง ไอร์แลนด์ และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่กาเลเซีย (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์
หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยุ่ในคำจารึกในภาษาเลพอนติค จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรป มีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ กลุ่มภาษาเคลก์เกาะ ปรากฎในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในคำจารึกออกัม วรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ภาษาไอรัชเก่า ตั้เงแต่รวมคริต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น"Táin Bó Cúailnge" มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12
เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังจากขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและสมัยการยายถ่ินฐาน ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดยู่แต่เพียงหมู่เกาะบริติช และภาษาเคลต์ยุดรปก็อยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และบิรตตานี บนสองฝั่งของ่องแคบอังกฤษ..
.. ในปัจจับนคำว่า "เคลต์" โดยทั่วไปใช้ในการบรรยายภาษาและอารยธรรมของไอร์แลนด์ สกอตแลนด์, เวลล์, คอร์นวอลล์, เกาะแมนและบริตตานี หรือที่เรียกว่า ชาติเคลต์ทั้งหก (Six Celtic Nations)ในปัจจุบันยังมีบริเวณสี่บริเวณที่เพ่งเร่ิมเข้ามาคอร์นิช (หนึ่งในภาษากลุ่มบริทอนิกและแมง.์ (หนึ่งในภาษากลุ่มกอยเดล) อกจากนั้นก็ยังมีการพยายามที่จะฟื้นฟูการใช้ภาษาคับริก (หนึ่งในภาษากลุ่มบริทอนิก จากทางตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษและตะวันตกเฉียงใต้ของสกอตแลนด์)
"เดลต์" บางครั้งก็ใช้ในการบรรยายอาณาบริเวณในแผ่งดินใหญยุโรป ที่มีรากฐานมาจากเดลต์แต่ไมไ้ใช้ภาษาเดลต์ซึ่งได้แก่บริเวณทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย(โปรตุเกส) ทางตอนกลางตอนเหนือของสเปน (กาลิเซีย, อัสตูเรียส, กันตาเบรย, คาสตีลและเลออน, เอกซ์เตรมาตูรา) และบางส่วนของฝรั่งเศส
"เดลต์ยุโรป" หมายถึงผู้ที่พูดภาษเคลตบนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ส่วน "ชาวเดลต์เกาะ หมายถึงผุ้ที่พุดภาษาเคลต์บนหมุ่เกาะอังกฤษ ผุ้สืบเชื้อสายเดคต์ในบริตตานีที่มาจากชาวเดคลต์เกาะจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษจึงจัดอยุ่ในกลุ่มเดียวกัน
กลุ่มภาษาเดลต์ เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เมื่อผุ้ใช้ภาษากลุ่มเดอลต์เข้ามามีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ราาว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช หวเหน้าเเผ่าหนึ่งของกลอโจมตีโรม เมื่อ 387 ปีก่อนคริสตศักราช) ก็ได้เเยกตัวเป้นกลุ่มภาษาย่อยแล้วและแผ่ขยายไปทั่วยุโรปตอนกลาง คาบสมุทรไอบีเรีย ไอร์แลนด์และบิรเตน
นักวิชาการบางท่านมีความเห็นว่าเอิร์นฟิลด์ ของทางด้านเหนือของเยอรมนีและเนเธอร์แลนด์เป็นบริเวณตนกำเนิดของเคลต์ที่เป็นอารยธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของสาาอารยธรรมตระกูลอินโด-ยูโรเปียน อารยธรรมนี้มีศุนย์กลางอยุ่ตอนกลางของทวีปยุโรป ระหว่งปลายยุคสำริดตั้งแต่รวม 1200 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่ง - 700 ปีก่อนคริสต์ศักราชที่สืบเนื่องมรจาก อารยธรรมอูเญชิตเซ และ อารยธรรมทิวมิวลัส ระหว่างสมัยอารยธรรมเดิร์นฟิลด์ก็มีขยายจำนวนประชากรขึ้นเป็นจำนวนมากในบริเวณที่ว่าซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการปรับปรุงวิะีการเกษตรกรรมนักประวัติศาสตร์กรีก เอโฟรัส แห่งไซม์ไในเอเ๙ียไม่เนอร์บันทึกเมื่อสี่ร้อยปีก่อนคริสต์ศักราชว่าชาวเคลต์มาจากเกาะที่ปากแม่นำ้ไรน์ผู้ถูก "ชับจากบริเวณนั้นเพราะสงครามที่เกิดขึ้ย่อยๆ และความรุนแรงเมื่อน้ำทะเลสุงขึ้น"
การเผยแพร่ของการตีเหล็กเป็นการวิวฒนาการของอารยธรรมฮัลล์ชตัทท์ โดยตรงจากอายธรรมเอิร์ทฟิลด์ (ราว 700 ถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ภาาาเคลต์ดังเดิม ที่เป็นภาษาที่มาก่อนภาษากลุ่มเคลต์เชื่อก้นว่าเป็นภาษาที่ใช้พุดในปลายสมัยเอิร์นฟิลด์ หรือต้นสมยฮัลล์ชตัทท์ เมื่อต้นพันปีก่อนคริสต์ศักราช การแพร่ขยายของกลุ่มภาษาเคลต์ไปยังไอบีเรีย ไอร์แลนด์ และบริเตนสันนิษฐษนกันว่าเกิดขึ้นราวครึ่งแรกของพันปีก่อนคริสต์ศักราช - จากหลักฐานการฝังรถม้ากับผุ้ตายที่พบในอังกฤษที่คาดว่าเกิดขึ้นราาว 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช หลายร้อยปีต่อมากลุ่มภาษาเดลต์ก็แบ่งแยกออกเป็น ภาษเคลต์ไอบีเรีย กลุ่มภาษากอยเดล และภาษากลุ่มบริทอนิก
อายธรรมฮัลล์ชตัทท์ตามมาด้วยวัฒนธรรมลกแตนของยุโรปตอนกลางและรกว่งปลายสมัยยุคเลห็ก็ค่อยๆ กลายเป้นอารยธรรมเดคลต์ แม่น้ำหลายแม่น้ำที่มีชื่เอป้นภาษาเคลต์พบในบริเวณตอนบนของแม่น้ำดานูบ และแม่น้ำไรท์ที่นักวิชาการเกี่ยวกับการยธรรมเดลต์สันนิษฐานกันว่าเป้นบริเวณที่เป็นบ่อเกิดของชาติพันธ์ เคลต์
นักประวัติศาสตร์กรีก ดีโอโตรุส ซีกูลุส และสตราโบ ต่างก็สันนิษฐานว่าศุนย์กลางของอารยธรรมเดลต์อยุ่ทางใต้ของฝรั่งเศส ซีคัลลัสกล่าวว่ากอลอยุ่ทางเหนือของเดลต์ และโรมันเรียกคนทั้งสองกลุ่มว่า "กอล" ก่อนหน้าที่จะพบ อารยธรรมฮัลล์ซตัทท์ และวัฒนธรรมลาแตนเป็นที่เชื่อกัะว่าศุนย์กลางของอารยธรรมเคลต์อยุ่ทางใต้ของฝรั่งเศส
อัลมาโกร-กอร์เบอา เสนอว่าที่มาของอารยธรรมเคลต์ เร่ิมขึ้นเมื่อสามพันปีก่อนคริสต์สํกราชที่เดมมีต้นตอมาจาก อารยธรรมเบล บีคเดอร์ ซึ่งเป้ฯการทำให้อารยธรรมนี้เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตกและสร้างความแตกต่างในหมู่ชาวเคลต์เอง นอกจากนั้นก็ยังเป้นการก่อสร้งางประเพณีโบราณต่างๆ
ขณะเดียวกันการค้นคว้าทางด้านพันธุศาสตร์ ปรวัติศาสตร์ และโบราณคดีและนักเขียนสตีเฟน ออปเพนไฮเมอร์ก็เสนอว่าเคลต์เป็นชนเมดิเตอร์เรเนียนที่เข้ามาตั้งถ่ินฐานครั้งแรกทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสในปลายยุคน้ำแขช้.ครั้งสุดท้ายราว 11.000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และตั้งแต่นั้นมาก็อาจจะรวมตัวกับ ชนกลุ่มบาสก์ตั้งเดิม และขยายตัวไปยังอิตาลี สเปน เกาะอักฤา และเยอรมนี ซึ่งตงกับตำนานที่มาจากเคลต์ที่บันทึกในสมัยกลางของสกอตแลนด์และไอร์แลนด์ที่กล่าวเป็นนัยยะถึงต้จตอว่ามาจากอานาโตเลียและต่อมาไอบีเรียโดยทางอียิปต์ แต่ในหนังสือ "ที่มาของชนบริติช" ฉบับปรับปรุง ออปเพนไฮเมอร์ด้านทฤษฎีเดิมว่าทั้งชาวแองโกล-แซกซัน และชาวเคลต์ไ่มีอิทธิพลต่อพันะูกรรมของผุ้อยุ่อาศัยในหมู่เกาะบริเตนเท่าใดนักและบรพบุรุษของชนบริติชส่่วนใหญ่สืบมาจากชนไอบีเรียของยูหินเก่าที่ปัจจุบันคือชาวบาสก์..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%8C
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...