ชาร์เลอมาญ หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ ตั้งแต่ ค.ศ.
768 จนถึงสวรรคต เป็นผุ้ทำให้ราชอาณาจักแฟรงก์รวมเป็นหนึ่งเดียวและเจริญรุ่งเรือง กองทัพของฝชาวแฟรงก์ได้ช่วยคุ้มครองพระสันตปาปากละกรุงโรมจากการรุกรานของประเทศลอมบร์เีย ทำให้ศาสนจักณโรมันคาทอฃลักิกลายเป็ผุ้สนับสนุนราชวงศ์การอแล็งเฌียง พระองค์เข้ารับพิธีราชาพิเษกจากสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ในกรุงโรมให้เป็นจักพรรดิแห่งชาวโรมัน ชาร์เลอมาญเป็นจักพรรดิองค์แรก ในาม "จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทะิ์" ถือเป็นจักพรรดิทียิ่งใหย่ที่สุดของยุดรปในสมัยกลาง
ชาร์เลอมาญได้รับการขนานนามว่าเป็น "พรบิดาแห่งยุโรป จากการที่รงรวบรวมดินแดนยุโรปตะวันตกเป็นปึกแผ่งครั้งแรกนับตั้งแต่จักวรรดิโรมัน ชาร์เลอมาญทรงเป็นผุ้ริเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งเป็นยุคแห่งความเจริญทางวัฒนธรรมและปัญญาของศาสนจักรตะวันตก จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทุกพระองค์ในกาลต่อมาต่างอ้างว่าอาณาจักรของพวกเข้าเป็นอาณาจักรที่สืบทอดมาจากจักรวรรดิของชาร์เลอมาญ แม้บทเพลงแห่งโรลองค์ วรรณกรรมภาษาฝรั่งเศสที่เก่าแก่ที่สุด ก็แต่งขึ้นโอยอ้างถึงสงครามขับไล่อาณจักรมุสลิมของกองทัพของพระองค์
ชาร์เลอมาญสวรรคตในปี ค.ศ. 814 หลังจากเป็นจักพรรดิได้ 13 ปี พระศพถูกฝังไว้ในอาสนวิหารอาเคิน นครหลวงในขณะนั้น ทรงอภิเษกสมรสอย่างน้อยสี่ครั้งแลมีพระโอรสตามกฎหมายอยู่สามองค์...
ชาร์เลอมาญทรงเร่ิมสร้างความมั่นคงและทำให้อาณาจักรแฟรงก์กลายเป็นอาณาจักรที่เป็นเอกภาพมากขึ้นกว่างยุคก่อน ทรงตั้งราชสำนักที่เมืองแอกซ์ลาซาแปล เร่ิมการสร้างพระราชวังแลอาสนวิหารอาเคิน ที่เมือง อาเคิน ในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน เป็นสัญลักาณ์ของการอุปถัมภ์ของอาณาจักรและศาสนาตักรนับแต่ต้น โบสถ์วิหารได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากกรงุดรม เรียกกันว่า https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8D
สถาปัตยกรรมแบโรมาแนสก์ ชาร์เลอมาญ ทรงส่งเสริมการศึกษาด้วยการสร้างโรงเรียน หลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยากรต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นเป็นศูย์กลางการและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาร์เลอมาญทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการส่งข้าหลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยาการต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นศูนย์กลางการศึกษาและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาณืเลอร์ทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการสงข้าหลวง และการเก็บภาษี แต่เมื่อทรงสวรรคต ราชสนำนักก็ไม่อาจควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ัก กลายเป็นปัญหาสำคัญต่อการสร้างอาณาจักรที่เป็นเอกภาพในสมัยกฃลางหลังสวรรคต อาณาจักรของพระองค์แบ่งแยกให้แก่พระโอรส 3 พระองค์ บางสวนอยู่ในดินแดนเยอรมนีปัจจุบัน...
ความย่ิงใหญ่ รวมถึงพระราชกรณียกิจที่พระเจ้าชาร์ลเอลร์มาญได้ทรงประกอบทำให้ไม่น่าแปลกใจ หากฮิตเลอร์และบุคคลสำคัญอื่นๆ ในพรรคนาซีจะนำกรณีขงพระองคมาใช้ในการปลุกความรู้สึกชาตินิยมให้เกิดในจักรวรรดิหรค์ซที่ 3 รวมถึงใช้ในการโฆษณาให้ชาวเยอรมันสนับสนนุนโยบายของพรรคนาซี เช่น นโยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอรมันไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนอกจากจะมีจุดมุ่งหมายในการขยายที่ทำกินแล้วแล้ว ยังมุ่งที่จะขับไล่ประชาชนที่พรรคนาซีถือว่าไม่มีเชื้อสายอารยันออกจากพื้นที่อีกด้วย
พรรคนาซีอธิบายประวัติศาสตร์เยอรมันในส่วนที่เกี่ยวกับพระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญโดยมุ่งให้เกิดความรุ้สึกรักชาติขึ้นในหมู่ประชาชนด้วยการใช้ประเด็น 2 ประเด็นหลักดังต่อไปนี้เป็นใจความสำคัญคือ
- การทำให้พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญเป็นชาวเยอรมัน และเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรดิ์เยรมัน โดยที่ไม่ได้คำนึงถึง ว่า พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญทรงเป็นจักรพรรดิของราชอาณาจักรแฟรงค์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของฝรั่่งเศส รวมถึงกหลุ่มประเทศเบเนลักซ์ในปัจจุบันนี้ด้วย
ออยเกน เฮลเลอร์บัค นักประวัติศาสตรืที่เขียนบทความลงในวารสาร "ผุ้ดูแลเยอมันตะวันตก" ซึ่งเป็นวารสารอย่างเป็นทางการของพรรคนาซีใน ค.ศ. 1942 หรือ ราว 3 ปีหลังจากที่สงครามโลครั้งที่ 2 เร่ิมต้นขึ้นด้วยการที่กองทัพเอยมันยักทัพบุกโปแลนด์เมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 เขาจึงสามารถเขียนได้โดยไม่ขัดแย้งกับแนวทางของนักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ และไม่ขัดกับอุดมการณืของพรรคนาซี..เฮลเลอร์บัค บรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ิเชิดชูความยิ่งใหญ่ของชาติเยอรมันเฮเลอร์บัคบรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ ทรงเป็ฯผู้สร้างชนชาติเยอรมัน ทั้งยังทรงเป็นผุ้สร้างจักรวรรดิเยอรมัน.. ในช่วงเวลากว่าครึ่งสหัศวรรษที่ผ่านมานี้ รพะองค์ทรงทำให้ชาวเยอรมันคุ้นเคยกับความรู้สึกเป็นหนึ่งในยุโรป.. ภายใต้ภาพอดีตของชาวเยอมันนี้ ธงของจักวรรดิไรค์ซที่ 3 ของเราจะปลิวไสว วัฒนธรรมที่ยาวนานของเรากวาหนึงพันปีจะกลับมาย่ิงใหญ่อีกครั้ง
ในส่วนของการสังหารหมู่ชาวแซกซันที่แวเดิน เฮลเลอร์บัค ก็ได้เขียนอธิบายไว้เช่นกัน และคำอธิบายของเขาแตกต่างกับของ เบาเออร์ ตรงที่เขายอมรับว่ามีการสังหารหมู่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตาม "เราไม่ควรจะโยนความผิดให้กับพวกที่ฆ่าชาวแซกซัน เนื่องจากพระหัตถ์ของพระองค์ไม่ได้ทำควาผิดใดๆ แต่พระหัตถของพระองค์ทำลงไปเนื่องจากเป็นคำสั่งอขงพระเจ้าที่ต้องการเห็นการขยายอาณาเขตของชนเผ่าแกรมาเนีย...
- และ การพยายามอธิบายวา พระเจ้าชาร์เลอร์มานทรงต้องการขยายขอบเขตของราชอาณาจักรแฟรงค์ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งตรงกับนธยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอมันไปทางทิศตะวันออกของฮิตเลอร์ ในกรณีนี้ พรรคนาซีได้ใช้ประโยชน์จากคำอธิบายของนักประวัติศาสตร์เยอมันในทศวรรษที่ 1930 อีกรั้ง เนื่องจากพวกเขาพยายามหาคำอธิบายให้กับการทำสงครามขยายดินแดนโดยเฉพาะการขยายดินแดนไปทางทิศตะวันออกของพรเจ้าชาร์ลเลอร์มาญ
ประเด็นที้ง 2 ประเด็นนี ทำให้ไม่น่าแปลกใจว่า ใน ค.ศ. 1937 พรรคนาซีได้อธิบาย่า "พระเจ้าชาร์เลอร์มาญทรงเป็นชาวแกรมาเนียตัวอย่าง ดดยดูได้จากต้นกำเนิดและรูปแบบการใช้ชีวิตของพระองค์ซคึ่งเป็นแกรมาเนีย-เยอรมัน อุปนิสัยส่วนพระองค์ก็ยังถูกกำหนดไว้ด้วยการสืบต่อของสายเลือดแกรมาเนีย-เยอรมัน ดังนั้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จึงมีหน้าที่รักษาจักวรรดิที่พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญได้ทรงทิ้งไว้ และขยายจักรวรรดิออกไปเพื่อความอยู่รอดของชาวเยอรมัน โดยที่ในประเด็นของการขยายพื้นที่จักวรรดิออกไปทางทิศตะวันออก นั้น ss หรือหน่วยติดอาวุธที่ถูกตั้งขึ้นมาให้ทำหน้าที่อารักขาฮิตเลอร์ และในช่วหลัีงจาก ค.ศ. 1934 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นช่วงที่พรรคนาซียึดอำนาจในเยอรมนีได้อย่างค่อนข้างมั่นคงแล้ว ได้รับหน้าที่ในการปราบปรามชาวยิว และดูแลค่ายกักกันต่างๆ ได้นำมาอธิบายการยึดดินแดนในยุดรปตะวันออกและการสังหารผุ้คนในพื้นที่นั้นอยู่เนื่องๆ...http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/viewFile/7967/7152
วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น