บันทึกเกี่ยวกับหมุ่เกาะบริเทนมีขึ้นครั้งแรโดยพ่อค้าชาวกรีกโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อน
คริสตกาล พิธีแอสแห่งมาสซิเลีย นักสำรวจชาวกรีกมาเยือนเกาะอังกฤาใน 325 ปีก่อน คริสตศตวรรษ พลีนีผู้พ่อ นักสำรวจชาวโรมันกล่าวว่าเกาะอังกฤษเป็นแหล่งดีบุกสำคัญ ทาซิตุส ชาวโรมันเป็นคนแรกที่กล่าวถึงบริตัน ที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะบริเตน ว่ามไ่มีความแตกต่างจากชาวโกล ในฝรั่งเศส(คือเป้นชาวเคลท์เหมือนกัน) ในด้านรูปร่างหน้าตาขนาดร่างกาย
จูเลียส ซีซาร์พยายามจะพิชิตอังกฤผษในปีที่ 55 และ 54 ก่อนคริสตศตวรรษ แต่ไม่สำเร็จ นนจักรพรรดิคลอติอุส ส่งทัพมาพิชิตอังฏฟานค.ศ. 43 ชาวโรมัปกครองทั้งอังกฤษ เวลส์ เลยไปถึงสกอตแลนด์ ตั้งเมืองสำคัญต่างๆ เช่น ลอนดอน แต่ชาวโรมันทนการรุกรานของเผ่าเยอรมันต่างๆ ไม่ไหว ถอนกำลังออไปใน ค.ศ. 410 ชาวแองโกล ชาวแซกซัน และชาวจูทส์ มาปักหลักตั้งถ่ินฐานในอังกฤษ ต่อสู้กับชาวบริตันเดิม ผลักให้ถอยร่นไปทางตะวันตกและเหนือhttps://kimmayoungsoo.wordpress.com/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99/
ในการเดินทางมาครั้งสองของโรมัน เป็นการเดินทางมารุกราน ซีซาร์นำองทหารมาเป็นจำนวนมากกว่าเดิมและได้ชวนเชิญชนเผ่าเคลติดหลายเป่ามาเกลี้ยกล่อมให้มอบรรณาการให้แก่โรมเพื่อเป็นการและเปลี่ยนกับการคืนตัวประกันเพื่อควาสงบ ดรมันแต่างตั้งประมุขของเผ่าหนึ่งที่มาเป็นฝักฝ่ายกบโรมมานดูบราเซียส ให้เป็นผุ้ปกครองและกำจัดคาสสิเวลลอนัส ผุ้เป้นศัตรุของมานดูบราเซียส โรมันจับตัวประกันไปแต่นักประวัติศาสตร์ตกลงกันไม่ไ้ว่าชาวบริเตนตกลงจ่ายบรรณาการหลังจากที่ซีซาร์กลับไปกอลพร้อมกับพองทัพหรือไม่
การรุกรานครั้งนี้ซีซาร์ไม่ได้อาณาบริเวณใดใดกลับไปด้วยและก็มิได้ทิ้งกองทหารไว้ดูแลแต่ได้ก่อตั้ง "Cliens" ในบริเตนซึ่งทำให้เกาะอังกฤษกลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลในทางการเมืองจากโรมในปี 34,27 และ 25 ก่อนคริสต์ศักราช ออกัสตัส ซซาร์ วางแผนที่จะมารุกรานอังกฤษแต่สาถนะการณ์ไม่อำนวย ความสัมพันะ์ระหว่างบริเตนกับโรมจึงเป็นแต่เพียงความสัมพันะ์ทางการทูตและการค้าขาย สตราโบนักประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ปัชญาชาวกรีกบันทึกไว้ในปลายสมัยออกกัสตัส ซีซาร์ว่ารายได้จากภาษีและการค้าบริเตนเปนรายได้มีมากกว่ารายได้ที่ได้จากการได้รัับชัยชนะอื่นๆ ของโรมัน ซึ่งสนับสนุนได้จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบสินค้าฟุ่มเพฟื่อยทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นสตราโบก็ยังกล่าวถึงพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษผุ้ส่งทูตไปยังสำนักของออกัสสตัส และบันทึกของออกัสตัสเอง “Res Gestae Divi Augusti” ที่กล่าวถึงกษัตรยิ์สองพระอง๕์ที่ออกัสตัสได้รับในฐานะผุ้ลี้ภัย ต่อมาใน ค.ศ. 16 เมื่อเรือบางลำของไทบีเรียสถูกพันไปยังเกาะอังกฤษ โดยพายะระหว่างการรณรงค์ในเจอร์มาเนย ทหารโรมัน ก็ถูกส่งตัวกลับโดยผุ้นำใท้องถ่ินในบริเตน ที่กลับไปเล่ากันถึงตำนานยักษณ์ร้ายต่าง ๆที่พบทีนั่น
โรมดุจะสนับนุนการสร้างความสมดุลทางอำนจทางใต้ของบริเตนโดยสนับสนุนราชอาณาจักรสองราชอาณาจักรที่ีอำนาจ คาทูเวลลอนิ ที่ปกครองโดยผุ้ที่นือบเชื้อสายาจากทาสซิโอวานัน และอาเทรบาทีส ที่ปกครองโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากคอมเมียส นโยบายนี้ปฏิบัติติดต่อกันมาจนปี ค.ศ. 39 หรือ 40 เมื่อคาลิกูลา รับผุ้ลี้ภัยจากคาทูเวลลอนิและวางแผนการรุกรานเกาะอังกฤษที่แตกแผยกออกเป็นฝัฝักเป็นฝ่าย เมื่อคลอเดียสรุกรานอังกฤษสำเร็ในปี ค.ศ. 43 โดยได้รับความช่วยเหลือจากผุ้ปกครองบริเตนคนหนึ่ง เวอร์ติคาแห่ง เทรบาทส์
การรุกรานบิรเตนโดยดรมัน กองทัพท่นำมารุกรานอังกฤษใน ค.ศ. 43 นำโอย ออลัส พอลเทียส แต่ไม่เป็นที่ราบว่าโรันส่งกองกำลังมาเป็นจำนวนเท่าใด นอกไปจาก "กองออกัสตาที่ 2 ฎ ที่นำโดยเวสเปเชียน ผุ้ต่อมาเป็นจักรพรรดิแห่งโรมที่กล่าวว่ามีส่วนร่วม ส่วน "กองฮิลปานยาที่ 14 " และ "กองวาเลเรียเวทริกซ์ที่ 20 " มีส่วนร่วมในปี ค.ศ. 60/61 ระหว่างการปฏิวัติบูคิคา ซึ่งอาจจะเป็นกองที่ประจำอยู่ที่นั่นมาตั้งแต่การรุกรานครั้งแรก แต่โดยทั่วไปแล้วกองทัพโรมัน เป็นกองทัพี่มีความยืดหยุ่นในการโยกย้ายกองกำลังต่างๆ ไปยังที่ต่างๆ ในเวลาใดก็ได้แล้วแต่ความจำเ็ ซึ่ทำให้เป็นการยากที่จะสันนิษฐานโดยไม่มีหลักฐานสนับสนุนว่ากองใดแน่ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง แต่ท่แน่ก็มีแต่ "กองฮิลปานยาที่ 9 " เท่านั้นที่ประจำการอยู่ในบริเตนจนถูกกำจัดโดยสกอต
การรุกรานมาช้าลงเพระาการแข็งข้อาภายในของทหารจนเมือได้รวสัญญาว่จะได้รับเสรีภาพถ้ายอมข้ามทะเลไปต่อสู้ในดนแดนที่ไม่คุ้นเคย การข้ามแบ่งเป็นสามหน่วยที่อาจจขึ้นฝั่งที่ริชบะระห์ ในเค้น
ท์ แต่บางหลักฐานก็กล่าวว่าบางส่วนขึ้นทางฝั่งทะเลด้านใต้ในบริเวณฟิบอร์ในเวสต์ซัสเซ็กซ์
โรมันได้รับชัยชนะต่อคาทูเวลอนิและพันธิมิตรในยุทธการสองยุทธการๆ แรกยุทธการเม็ดเวย์ และยุทธการที่สองที่แม่น้ำเทมส์ โทโกดูมัส ผุ้นำของคาทูเวลลอนิถูกสังหารแต่น้องชายคารัททาคัส รอดมาต่อต้านที่อื่นต่อไป พลอเทียสหยุดยังอยู่ที่มแ่น้ำเทมส์และสงข่วไปยังคลอเดียสผุ้ตามมาพร้อมกับกองกำลังสนับสนุที่รวมทั้งอาวุธและช้างเพื่อที่จะเดินทัพไปยังที่มันสุดท้ายที่เมืองหลวงคามุโลดูนัม (โคลเซสเตรอื ในปัจจุบัน) เวสเปเซียน จึุงปราบปรามทางตะวันตกเฉียงใต้ของบริเตนได้ หลังจากนั้นโรมมก็แต่งตั้งให้ ไทบีเรียส คลอเดียส โคกิดูบนัส ผุ้เป็นพันธมิตรกับโรมเป็นผุ้ปกครองอาณาบริเวณหลายอาณาบริเวณ และภายนอกบริวเณที่ปกครองโดยโรมันโดยตรงก้มีการลงนามในสนธิสัญญากับกลุ่มต่างๆ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น