พระเจ้าเปโดร ที่ 3 แห่ง อารากอน หรือ พระเจ้าเปโตรมสหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศือารา
กอนแห่งราชอาณาจักรอารากอน (ในพระนาม เปโตรที่ 3) และพระมหกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบาเลนเซีย (ในพระนามเปโตรที่ 1 ) และเคานต์แห่งบาร์เซโลน่า (ในพระนาม เปโดรที่ 2 ) ตั้งแต่ ค.ศ. 1276 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1285 พระเจ้าเปโดรทรงพิชิตราชอาณาจักชิชิลีได้ในปี ค.ศ. 1282 พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ผุ้ทรงพระปรีชาสามารถมากที่สุดองค์หนึ่งของราชอาณาจักรอารากอนในยุคกลาง
ราชอาณาจักรอารากอน เป้นาชอาณาจักรที่ตั้งอยุ่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเปนระหวงปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1707 โดยมีพระเจ้ารามีโรที่ 1 แห่งอารากอนแห่งราชวงศ์อารากอนเป็นกาัตรย์องค์แรกอาณาจักรอารากอนเป็นอาณาจักรแบบราชาธิปไตยอาณาบริเวณเป็นบริวเณเดียวกับแคว้นอารากอนในประเทศสเปนปัจจุบัน ราชอาณาจักรอารากอนเดมเป็นส่วนหนึ่งของ "ราชบัลลังก์อารากอน" ซึ่งรวมทั้งราชอาณาจักรบาเลนเซียและราชรัฐคาเทโลเนย ซึ่งมีประมุขร่วมกัน
ราชอาณาจักรเดิมเป็นแค้วฟิดัลของชาวแฟรงก์รอบเมืองคากาซึ่งรวมตวกับราชอาราจักรปัมโปลนาที่ต่อมาเป็นราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 925 แค้วนอารากอนแยกตัวจากราชอาณาจักรนาวาร์ และเลือนฐานะเป็นอาณาจักรเต็มตัวดดยพระเจ้ารามีดรที่ 1 อาณาจักรอารากอนขยายตัวไปทางใต้ทางอวยสกา ในปี ค.ศ. 1096 และต่อมาซาราโกซา ในปี ค.ศ. 1118 จนกระทั่วปี ค.ศ. 1285 พรมแดนทางใต้ที่สุดของอารากอนเป็นดินแดนจามัว์
..พระเจ้าแผ่นดินแก่งอารากอนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์แรกที่ปกครองบริเวณอารากอนโดยตรงและทรงดำรงตำแหน่งพระเจ้าแผนดินแห่งบาเลนเซียพระเจ้าแผ่นดินแห่งมายอร์กา(ชัวระยะหนึ่ง) เคานต์แห่งบาร์เซโลนา ลอร์ดแห่งมงเปลีเย และดุ๊กแห่งเอเธนส์ (ชัวระยะหนึ่ง) แต่ละตำแหน่งที่ได้มาหรือสียไปก็เป็นการเพ่ิมหรือลดดินแดนภายใจ้การปกครองในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อำนาจของพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนก็จำกัดลงเพียงบริเวณอารากอนเองตามข้อตกลง "สหภาพอารากอน"
ราชบัลลังก์อารากอนถูกยุบเลิกโดยปริยายหลงจากการรวมกับราชบัลลังก์คาสตีล แต่หลังจากการรวมตัวอารากอนก็ยังรักษาอำนาจบางอย่างอยุ่บ้างจนกระทั่งมาสิ้นสุดทั้งหมดตามพระราชกฤษฎีกานาวบาปลันตา...
ทรูบาดูร์, แบร์นาร์์ต โดริแยค, เปอเรอ ซาลวัตจ์, ได้นำ โรเจรียร์ที่ 3 แห่งฟัวซื และปีเตอร์ที่ 3 แห่งอารากอน มรแต่งเป็น siventes ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับ สงครามครูเสดอารากอน..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94
วันเสาร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
The Ring of the Nibelung
Das Rheingold (The Rhine Gold), Die Walküre (The Valkyrie) ,Siegfried, Götterdämmerung (The Twilight of the Gods), ปกรฌัมแหวนนิเบลุงเกน มีเนื้อเรื่องกล่าวถึงเรื่องราวของคนแระ เผ่านิเบลุง กับแหวนวิเศษ ตำนานวาลคีรี, โศกนาฎกรรม ของซิกฟรีด กับบรุนฮิลด์ บางครั้งปกรฌัมชุมนี้ อาจเรียกวสั้นๆ ว่า "ปกรณัมแหวน"
ปกรฌัมแหวงแห่งนิเบลุงเกน เป็นปกรณัมชุดของ ริชาร์ด วากเนอร์ คีตกวี ชาวเยอร์มัน ที่ใช้เวลาแต่งถึง 26 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1848-1874 โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากตำนานเทพเจ้านอร์ส และนิทานปรัมปราของชาวเบอร์กัันดี ประกอบด้วยอุปรากร จำนวน 4 เรื่อง ซึ่งผู้แต่งระบุว่าเป็นอุปรากรไตรภาค และอีกนึ่งบทนำ ประกอบด้วย
ตนตรีจากช่วงโหมโรง ช่วงหนึ่ง มีท่วงทำนองที่ได้รับความนิยม มีชื่อเรียกว่า"ไรด์ออฟเดอะวาลคีรี" และได้มีการนำมาประกอบภายยนต์ จนกระทั่งปัจจุบันนี้
- ริชาร์ด วากเนือ เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1883 เป็นหนึ่งในคตกวีเอกชาวเยอรมัน ในสมัยคริสต์สตวรรษที่ 19 และยังเป็นนักทฤษฎีดนตรีที่เก่งกาจ ส่วนใหย่แล้วผลงานของวากเนอร์เป้นรู้จักจากอุปรากรที่เขาแต่ง ซึ่งมักจะเป็นเรืองราวโศกนาฎกรรม ประกอบดนตรี อิทธิพลของวากเนอร์ในดนตรีตะวันตกนั้นมากมายมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปรากรที่เขาปฏิวัติรูปแบบโดยสิ้นเชิง..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
- โรงละครเทศกาลไบรอยท์ เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรที่ตั้งอยุ่ที่ทางเหนือของเมืองไบรอยท์ ในแคว้นบาวาเรียในประเทศเยรมนี สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1872 และเปิดเป็นครั้งแรเมื่องันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 โรงละครเทศกาลไบรอยท์เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์โดยเฉาพะระหว่างเทศกาลไบลรอยท์ซึ่งเป็ฯเทศกาลประจำปีที่มีแต่การแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์เท่านั้น โรงละครเป็นความคิดของวากเนอร์หลังจากที่ถูกขับจากราชสำนักมิวนิคของพระเจ้าลุควิกคที่ 2 แห่งบาวาเรีย วากเนอร์ต้องการจะมีสาถนที่สำหรับแสดงอุปรากรที่จรเองเขียนที่ห่างไกลจาก
วัฒณธรรมคู่แข่งอื่นๆ และนอกจากจะเป็นที่แสดงตามปกติแล้วก็ยังเป็นที่จัดเทศกาลอุปรากรประจำปีซึ่งเป็นงานที่เชิดหน้าชูตาของไบรอยท์ วากเนอร์เลือกไบรอยท์ด้วยเหตุผลหลายประการ โรละครเทศกาลสร้างสำหรับมากราฟเฟรดริคแห่งไบรอยท์และภรรยาหรีเดอริเค โซฟี วิลเฮลมีนแห่งไบรอยท์ พระขนิษฐาของพระเจ้าฟรีคริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1747 ซึ่งมีระบบเสียงดีและเหมาะกับความคิดของวากเนอร์ ประการที่สอง เมืองไบรอยท์อยู่นอกบริเวณที่วากเนอร์ไม่สามารถแสดงอุปรากรของตนเองเพราะได้ขายลิขสิทธิ์ไปหมด
เมือปี 1864 เพราะปัญหาทางการเงินประการสุดท้ายไบรอยท์ขณะนั้นไม่มีวัฒนธรรมที่เด่นที่จะเป็นคู่แข่งได้ทำให้วากเนอร์เป็นที่เด่นโดยไม่มีใครลบได้ เมื่อเทศกาลอุปรากรเริ่มขึ้นก็จะกลายเป็นจุดสนใจทางวัฒนธรรมของไบรอยท์ วากเนอร์นำการออกแบบมาจากสถาปนิกกอดฟรีด เซมเพอร์ซึ่งวากเนอร์มิได้รับการอนุญาต แบบของเซมเพอร์เดิมออกแบบสำหรับโรงละครเทศกาลที่มิวนิค ที่สร้างภายใต้การควบคุมของวากเนอร์ทุนการก่อสร้างส่วนใหญ๋มาจากพระเจ้าบลุควิกที่ 2 วากเนอร์วางศิลาฤกษ์ในวันเกิดของตนเองเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1872 สิ่งก่อสร้างเปิดเป็นครั้งแรกด้วยการแสดงอุปรากร "แหวนแห่งนิเลลุงเก็น" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "แหวน" ทั้งสีทองค์อย่างสมบุรณ์เป็นครั้งแรก (ความยาวทั้งหมดประมาณ 15 ชัวโมง) ตั้งแต่วันที่13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 -17 สิงหาคม ปีเดียวกัน
อุปรากรเรื่องนี้มักจะแสดงทั้งชุดในงานเทศกาลอุปรากรที่ไบรอยท์ ด้านหน้าของโรงละครเท่านั้นที่มีัลักาณะการตกแต่งที่พบกันในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากน้นภายนอกก็มีลักษระเรียบง่ายไม่มีการตกแต่งเท่าใดนัก นอกไปจากอิฐที่ก็มิได้มีการตกแต่ง ลักษณะที่เด่นของโรงละครแห่งนี้คือทีนั่งของหลุมวงออร์เคสตรา ซึ่งตั้งลึกเเข้าไปภายใต้เวทีและคลุมด้วยเพดานบางๆ เพื่อที่จะซ่อนวงดนตรีของผุ้ชม ซึ่งเป็นสิ่งที่วากเนอร์เน้นเพื่อที่จะให้ผุ้ชมสนใจแค่เฉพาะอุปรากรบนเวทแทนที่จะมีผุ้กำกับดนตรี ที่โบกบาททองทำให้เสียสมาธิ
https://th.unionpedia.org/i/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
นอกจากนั้นการออกแบบก้ยังพยายามแก้ความสมดุลระหวางนักร้องและออร์เคสตราซึ่งทำให้เป็นเสียงออกมาอย่างที่วากเนอร์ต้องการ แต่การจัดระบบเสียงเช่นนี้ทำความลำบากให้แก่ผุ้กำกัดนตรีเป็นอัมากแม้ว่าจะเป็นผุ้กำกับที่มีชื่อเสียงก็ตาม นอกจากผุ้ชมที่ถูกซ่อนอยู่ในความมือแล้วเสียงสะท้อนกังวานทำให้การประสานเสียงระหว่างวงออร์เคสตรากับนักร้องเป็นไปได้ยาก ฉะนั้นผุ้กำกับดนตรีจึงจำต้องไม่สนใจสัญญาจากนักร้อง นอกจากนั้นผุ้กำกับดนตรียังพบว่าการกำกับดนตรีที่ไบรอยท์เป็นงานที่ท้าทายความสามารถมากที่สุดในอาชีพของตนเองงานหนึ่ง ลักษณะที่เด่นทางสถาปัตยกรรมอีกอย่างหนึ่งคือการใช้เพดานโค้งซ้อน ซึ่งทำให้ผุ้ชมมีความรู้สึกว่าโรงละครลึกกว่าความเป็นจริง เพดานโค้งซ้อนและหลุมสำหรับวงออร์เคสตราเกือบใต้เวทีทำให้เกิดบรรยากาศที่วากเนอร์เรียกว่า "เหวแห่งความลึกลับ" ระหว่างผุ้ชมและเวที อันทำให้การแสดงที่ออกมาบนเวทีเหมือนฝันซึ่งเป็นการย้ำความลึกลับของเนื้อหาและบรรยากาศของอุปรากรที่วากเนอร์ต้องการ...
,
,
,
ปกรฌัมแหวงแห่งนิเบลุงเกน เป็นปกรณัมชุดของ ริชาร์ด วากเนอร์ คีตกวี ชาวเยอร์มัน ที่ใช้เวลาแต่งถึง 26 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1848-1874 โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากตำนานเทพเจ้านอร์ส และนิทานปรัมปราของชาวเบอร์กัันดี ประกอบด้วยอุปรากร จำนวน 4 เรื่อง ซึ่งผู้แต่งระบุว่าเป็นอุปรากรไตรภาค และอีกนึ่งบทนำ ประกอบด้วย
ตนตรีจากช่วงโหมโรง ช่วงหนึ่ง มีท่วงทำนองที่ได้รับความนิยม มีชื่อเรียกว่า"ไรด์ออฟเดอะวาลคีรี" และได้มีการนำมาประกอบภายยนต์ จนกระทั่งปัจจุบันนี้
- ริชาร์ด วากเนือ เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1883 เป็นหนึ่งในคตกวีเอกชาวเยอรมัน ในสมัยคริสต์สตวรรษที่ 19 และยังเป็นนักทฤษฎีดนตรีที่เก่งกาจ ส่วนใหย่แล้วผลงานของวากเนอร์เป้นรู้จักจากอุปรากรที่เขาแต่ง ซึ่งมักจะเป็นเรืองราวโศกนาฎกรรม ประกอบดนตรี อิทธิพลของวากเนอร์ในดนตรีตะวันตกนั้นมากมายมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปรากรที่เขาปฏิวัติรูปแบบโดยสิ้นเชิง..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
- โรงละครเทศกาลไบรอยท์ เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรที่ตั้งอยุ่ที่ทางเหนือของเมืองไบรอยท์ ในแคว้นบาวาเรียในประเทศเยรมนี สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1872 และเปิดเป็นครั้งแรเมื่องันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 โรงละครเทศกาลไบรอยท์เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์โดยเฉาพะระหว่างเทศกาลไบลรอยท์ซึ่งเป็ฯเทศกาลประจำปีที่มีแต่การแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์เท่านั้น โรงละครเป็นความคิดของวากเนอร์หลังจากที่ถูกขับจากราชสำนักมิวนิคของพระเจ้าลุควิกคที่ 2 แห่งบาวาเรีย วากเนอร์ต้องการจะมีสาถนที่สำหรับแสดงอุปรากรที่จรเองเขียนที่ห่างไกลจาก
วัฒณธรรมคู่แข่งอื่นๆ และนอกจากจะเป็นที่แสดงตามปกติแล้วก็ยังเป็นที่จัดเทศกาลอุปรากรประจำปีซึ่งเป็นงานที่เชิดหน้าชูตาของไบรอยท์ วากเนอร์เลือกไบรอยท์ด้วยเหตุผลหลายประการ โรละครเทศกาลสร้างสำหรับมากราฟเฟรดริคแห่งไบรอยท์และภรรยาหรีเดอริเค โซฟี วิลเฮลมีนแห่งไบรอยท์ พระขนิษฐาของพระเจ้าฟรีคริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1747 ซึ่งมีระบบเสียงดีและเหมาะกับความคิดของวากเนอร์ ประการที่สอง เมืองไบรอยท์อยู่นอกบริเวณที่วากเนอร์ไม่สามารถแสดงอุปรากรของตนเองเพราะได้ขายลิขสิทธิ์ไปหมด
เมือปี 1864 เพราะปัญหาทางการเงินประการสุดท้ายไบรอยท์ขณะนั้นไม่มีวัฒนธรรมที่เด่นที่จะเป็นคู่แข่งได้ทำให้วากเนอร์เป็นที่เด่นโดยไม่มีใครลบได้ เมื่อเทศกาลอุปรากรเริ่มขึ้นก็จะกลายเป็นจุดสนใจทางวัฒนธรรมของไบรอยท์ วากเนอร์นำการออกแบบมาจากสถาปนิกกอดฟรีด เซมเพอร์ซึ่งวากเนอร์มิได้รับการอนุญาต แบบของเซมเพอร์เดิมออกแบบสำหรับโรงละครเทศกาลที่มิวนิค ที่สร้างภายใต้การควบคุมของวากเนอร์ทุนการก่อสร้างส่วนใหญ๋มาจากพระเจ้าบลุควิกที่ 2 วากเนอร์วางศิลาฤกษ์ในวันเกิดของตนเองเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1872 สิ่งก่อสร้างเปิดเป็นครั้งแรกด้วยการแสดงอุปรากร "แหวนแห่งนิเลลุงเก็น" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "แหวน" ทั้งสีทองค์อย่างสมบุรณ์เป็นครั้งแรก (ความยาวทั้งหมดประมาณ 15 ชัวโมง) ตั้งแต่วันที่13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 -17 สิงหาคม ปีเดียวกัน
อุปรากรเรื่องนี้มักจะแสดงทั้งชุดในงานเทศกาลอุปรากรที่ไบรอยท์ ด้านหน้าของโรงละครเท่านั้นที่มีัลักาณะการตกแต่งที่พบกันในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากน้นภายนอกก็มีลักษระเรียบง่ายไม่มีการตกแต่งเท่าใดนัก นอกไปจากอิฐที่ก็มิได้มีการตกแต่ง ลักษณะที่เด่นของโรงละครแห่งนี้คือทีนั่งของหลุมวงออร์เคสตรา ซึ่งตั้งลึกเเข้าไปภายใต้เวทีและคลุมด้วยเพดานบางๆ เพื่อที่จะซ่อนวงดนตรีของผุ้ชม ซึ่งเป็นสิ่งที่วากเนอร์เน้นเพื่อที่จะให้ผุ้ชมสนใจแค่เฉพาะอุปรากรบนเวทแทนที่จะมีผุ้กำกับดนตรี ที่โบกบาททองทำให้เสียสมาธิ
https://th.unionpedia.org/i/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
นอกจากนั้นการออกแบบก้ยังพยายามแก้ความสมดุลระหวางนักร้องและออร์เคสตราซึ่งทำให้เป็นเสียงออกมาอย่างที่วากเนอร์ต้องการ แต่การจัดระบบเสียงเช่นนี้ทำความลำบากให้แก่ผุ้กำกัดนตรีเป็นอัมากแม้ว่าจะเป็นผุ้กำกับที่มีชื่อเสียงก็ตาม นอกจากผุ้ชมที่ถูกซ่อนอยู่ในความมือแล้วเสียงสะท้อนกังวานทำให้การประสานเสียงระหว่างวงออร์เคสตรากับนักร้องเป็นไปได้ยาก ฉะนั้นผุ้กำกับดนตรีจึงจำต้องไม่สนใจสัญญาจากนักร้อง นอกจากนั้นผุ้กำกับดนตรียังพบว่าการกำกับดนตรีที่ไบรอยท์เป็นงานที่ท้าทายความสามารถมากที่สุดในอาชีพของตนเองงานหนึ่ง ลักษณะที่เด่นทางสถาปัตยกรรมอีกอย่างหนึ่งคือการใช้เพดานโค้งซ้อน ซึ่งทำให้ผุ้ชมมีความรู้สึกว่าโรงละครลึกกว่าความเป็นจริง เพดานโค้งซ้อนและหลุมสำหรับวงออร์เคสตราเกือบใต้เวทีทำให้เกิดบรรยากาศที่วากเนอร์เรียกว่า "เหวแห่งความลึกลับ" ระหว่างผุ้ชมและเวที อันทำให้การแสดงที่ออกมาบนเวทีเหมือนฝันซึ่งเป็นการย้ำความลึกลับของเนื้อหาและบรรยากาศของอุปรากรที่วากเนอร์ต้องการ...
,
,
,
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Celtic pantheon
ชาวเคลท์นั้น เกิดขึ้นในช่วงยุคเหล็ก ซึ่งเดิมนั้นพวกเค้าก็กระตายตัวเองอยู่ในแถบยุโรป รวมถึงในอาณาจักรโรมัน แต่ทำไม่เรื่องตำนานเคลติกนั้นกลับไม่ถูกพูดถึงอย่างแพร่หลายในโรมัน นังเป็นเพราะราวๆ ยุคกลางของสหัสวรรษที่หนึ่ง ชาวเคลท์ถุกขับไล่ จึงต้องอพยพไปออยุ่ในแถบไอร์แลนด์ ยังยังกระจายตัวไปยังฝรั่งเศส ตำนานของชาวเคลท์จึงแพร่หลายอยุ่แต่ในแถบนั้นมากกว่า
เมื่อกล่าวถึงตำนานเคลติกแล้ว ก็จะต้องพูดถึงเหล่าติวตอนิก ซึ่งอยู่ในแถบเหนือๆ ของยุโรปเช่นกัน พวกติวตอนิกมีเรื่องราวที่น่าสนใจ อาทิ ตำนานนอร์ส ตำนานวันแร็คนาร็อก ซึ่งเป็นเรื่องราวชาวไวกิ้ง วัลฮาร่า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชาวติตอนิก
ชาวเคล สังคมเคลติกมีโครงสร้งการปกครองที่ค่อยค้างชัดเจน นั่นคือจะมีผุ้นำสูงสุดหรือ กษัตริย์เป็นผู้ปกครองเผ่า และในแต่ละเผ่าจะแบ่งอีก 3 ชนชั้น คือ อัศวินผุ้ทรงเกี่ยติและหล่านักรบ ดรูดิด (ผู้นำทางศาสนา) และเกษตกรและสามัญชน
ดรูอิด เป็นผู้มาจากครอบครัวอันทรงเกี่ยรติ เป็นกลุ่มคนที่มีอิทธิพล และเป็นที่นับถือจากคนในผ่า ดรูอิดนั้น นอกจากจะเป็นผู้นำทางศาสนาแล้ว ยังทำหน้าที่เป็นผุ้พิพากษา ครู ที่ปรึกษา และที่สำคัญคือ ดรูอิดได้รับ ความเชื่อถืออย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้มีพลังพิเศษ เมื่อดรุอิดได้รับความเชื่อถือขนาดนี้ แน่นอนว่าต้องมีผุ้ที่อยากเป็นศิษย์ของดรูอิด จึงเกิด ลัทธิดรูอิดขึ้น..
ตำนานเคลติกนั้นแรกเริ่มเดิมที่ก็ถูกบันทึกโดยชาวโรมัน ในช่วงศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตศักราช ภายหลังเมื่อย้ายถิ่นฐาน (ถูกไล่) ไปอยู่ไอร์แลนด์ เรื่องราวของเดลติกก็ถูกบันทึกต่อโดยพระชาวไอริช (ศตวรรษที่ ๖) และนักเขียนชาวเวลส์แทน ดังนั้น ตำนานของชาวเคลส์ จึงกว้างมาก เป็นการรวมเรื่องราวที่เล่าต่อๆ กันม กว่าร้อยเรื่อง
เรื่องราวของเหล่าเทพเจ้าในเคลติกนั้นไม่ได้ถุดดรูอิคบันทึกเอาไว้เลย แต่ถูกเล่ากันมาปากต่อปาก หรือบันทึกโดยผุ้อื่น ดังนั้นเรื่องราวของเทพในเคลติกจึงมีอยุ่น้อยนิด อีกเหตุผลที่เรื่องเทพไม่ค่อยถูกบันทึก ก็เพราะการเข้ามาแทนที่ของศาสนาคริสต์ ซึ่งลดความสำคัญของเทพเคลติก ให้กลาายเป็นพวกโทรลล์ พวกแฟรี่ ตัวเล็กไป ทำให้คนที่เคยนับถือในเทพเคลติกค่อยๆ เลือนหาย
เทพของเคลติกนั้นจะมีความแตกต่างจากเทพจากชนชาติอื่ๆน คือ เทพเคลต์ จะเป็นเทพที่มีความคล้ายคลึงมนุษย์มาก เพียงแต่เป็นคนละเผ่าพันะ์กัน (หรือใกล้เคียง) เป็นชนที่มีพลังทางเวทมนตร์มากว่าตามตำนานพวกเขาเดินทางมาจาก โลกอื่น พวกที่มาที่แรกเลยก็คือเผ่าเนเมด และพโธลาน ที่นี้ สองเผ่านี้เดินทางมาถึงไอร์แลนด์พร้อมกัน ทั้งสองเผ่าจึงจะทำสงครามกัน แต่ยังไม่ทันจะทำสงครามก็ปรากฎว่าใต้ทะเลของไอร์แลนด์มีพวกอื่นอาศัยอยู่นานแลวเรียกว่า ฟอเมอเรียน หรือภูติยักษ์ร่างใหญ่ มีนิสัยป่าเถือน ครั้นแล้ว ต่างเผ่าก็พุ่งรบกับพวกฟอเมอร์ แต่ด้วยพวกฟอเมอร์นั้นมีจำนวนมากกว่า เผ่าพาโธลานก็พ่ายแพ้ยับเยิน และฟอเมอร์ก็หัสมาจัดการกับเผ่าเนเมดจนในที่สุดพวกเนเมดก็เหลือไม่เกินสามสิบคน พวกที่รอดตายก็หนีไป บางคนไปตั้งรกรากในดินแดนต่างๆ ในยุดรป มีอีกไม่กี่คนที่กลบมายังไอร์แลนด์อีกครั้ง
และหนึ่งในนั้นคือ เทพีดานู พวกที่เหลือกลับมานีเรียกว่า ทูเอธา เด ดอนนานน์ แปลว่า เครือญาติแห่งเทพีดานู ซึ่งก็คือเทพในตำนานไอร์แลนด์
จากกำเนิดเทพ จะพบว่าเทพของชาวเคลจะนับญาติกันหมด โดยมีเทพีดานูเป็นมารดาของเหล่าเทพ เทพในเคลตินี้ ใกล้เคียวกับมนุษย์มาก หรือก็คือเค้าสาถปนาคนที่มีความสามารถเหลือล้นว่าเป็นพวกเทพ ซึ่งในที่นีก็จะมีกษัตริย์อาเธอร์ผุ้ยิ่งใหญ่รวมอยู่ด้วย
ชนชาติที่เป็นชาวเคลท์ในอีด ซึ่งปัจจุบันก็ยังคลหลงเหลือวัฒนธรรมและความเชื้อเก่าแก่ในสังคม อาทิ สก็อตแลนด์ ไอร์แลนด์, อีส ออฟ แมน, เวลส์, คอร์นวอร์, บริททานี่, กาลิเซีย, ออสเตรีย, โนวา สกอเทีย, นิวฟลาวแลนด์ เป็นต้น
ปฎิทินของชาวเคลท์นั้นจ่างจากปฏิทินทั่วไป คือมีเดือน 13 เดือน ชื่อของเดือนต่างๆ นั้นำมาจากชื่อของต้นไม่ซึ่งมี ความเกี่ยวโยงกับวงโคจรของดวงจันทร์ ที่เลือกใช่ต้นไม่เป็นสัญลักษ์เนื่องจากชาวเคลท์นั้นให้ความสำคัญกับต้นไม่มาก ต้นไม่นั้นเรปียบเหมือนสัญลักษณ์เวทย์มนต์ที่ทรงอำนาจมากที่สุดสำหรับชาวเคลท์ และต้นไม่ยังเปรียบเสมือนสะพานที่นำพาน้ำจากพื้นดินขึ้นสูท้องฟ้าทั้งยังให้อาหาร ให้ที่หลบภัย ให้ความอบอุ่น เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และยารักษาโรค เมื่อถึงเวลาเปลี่ยนแปลงของฟดูกาล ต้นไม่จะเป็นส่ิงแรกท่ย้ำเตือนชาวเคลท์ให้รู้ล่วงหน้า และต้นไม่ยังเปลี่ยบเป็นวงจรชีวิตมนุษย์ วงจรแห่งการเกิดและการดับสูญ ต้นไม่มีชีวติที่ยาวนานกว่ามนุษย์ ดังนั้นต้นไม่จึงเป็นส่ิงที่ส่งผลต่อความทรงจำ ด้วยเหตุนี้ปฏิทินเคลติกตึงมีชื่อเรียกว่า "ปฏิทินต้นไม้" มีทั้งสิ้น 13 เดือน...https://board.postjung.com/1002584.html
วันพุธที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Paladins
พาลาดิน มาจากภาษาละติน Palatine หมายความว่าของคนรับใช้อย่างเป็นทางการของรัฐบาล บางครั้งเรียกว่าทำเนียบสิบสอง เป็นนักรบที่สำคัญของ ชาร์ลเลอร์มาญ จากวรรณกรรมฝรังเศสที่รุ้จักกันดี พวกเขาปรากฎตัวครั้งแรในช่วงต้นของ Chansons de geste ใน "เพลงของ โรแลนด์" พวกเขาเป็นตัวแทนความกล้าหาญของคริสเตียนที่ต่อสู้กับซาราเซ้นส์
ในสมัยจักรวรรดิโรมันเรืองอำนาจ พาลาดิน คือนามของหนึ่งในเนินเขาทั้งเจ็ดอันเป็นที่ตั้งของกรุงโรม นครหลวงของจักรวรรดิโรมัน และยังเป็นที่ตั้งของราชสำนักในองค์ักระพพดิโรมัน ซึ่งได้สร้างขึ้นในรัชสมัยของออกุสตุส ซีซาร์ จักรพรรพิพระองค์แรก (คำว่า พาเลซ ) ซึ่งมีความหายว่า "พระราชวัง" ก็มีรากศัพท์มาจาก "พาลไทน์" เช่นกัน ดังนั้นในยุคแรกเร่ิม ความหมายที่แท้จริงของคำว่า "พาลาดิน" จึงหมายถึง "เหล่าผุ้ปกป้องราชสำนักของจักรพรรดิโรมัน" หรือก็คือ เหล่าราชองค์รักษณ์ของจักรพรรดิโรมันที่เรารู้จักกันใน นามว่่า "เพรโตเรียนการ์ด" นอกจากนี้คำว่า "พาลาดิน" ยังอาจมีที่มาจากตำแหน่งสมุหราชมณเ?ียรของราชสำนักโรมัน ( "โคเมส พาลาตินุส) อีกด้วย
ภายหลังจักรวรรดิโรมันล่มสลาย บทบาทของสมุหราชมณเฑียรและหล่าราชองค์รักษ์ของราชสำนักโรมันก็สิ้นสุดลง จนกระทั่ง ในสมยกลาง กษัตริย์ที่เข้มแข้งของชนเผ่รแฟรงค์ ได้โปรดนำธรรมเนียมบางอย่างของราชสำนักโรมันเดิม กลับมาใช้ซึ่งรวมถึงการตั้งตำแหน่งสมุหราชมณเฑียร ขึ้น และยังโรปดให้ตั้งกองทหาราชองึค์รักษ์แห่งราชสำนักแฟรงก์
"พาลาดิน" ปรากฎขึ้นชัดเจนในรัชสมัยของชาร์ลมาญ กษัตริยชนเผ่าแฟรงค์ ผุ้สถาปนาจักรวรรดิโรมันขึ้นอีกครั้งในนามว่า "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (จักรวรรดิโรมันภายใต้อาณัติของคริสตจักรโรมันคาทอลิก) ทั้งนี้เป้นผลมาจากการที่รัชสมัยของชาร์ลมาญ พระองค์ได้ทำการขยายอาณาจักรออกไปอย่างกว้างขวางจนไป กระทบกระทั่งกับพวกมุสลิมในคาบสมุทรไอบีเรีย (ประเทศสเปนในเวลต่อมา) และเหล่าอัศวินองครักษ์ของพระองค์ก็ได้มีบทบาทอย่างมาก ในการรบกับพวกมุสลิม (ซึ่งเป็นสงครามศาสนาในยุคแรกๆ ) จนกลายเป็นตำนานเล่าขานกันในหมู่อัศวินและกวีผุ้นับถือคริสต์ศาสนของยุโรปยุคหลังซึ่งได้เรียกพวกเขาว่า "เหล่าพาลิดินทั้งสิบสองของชาร์ลมาญ"
ท่ามกลางหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากมายที่ตกทอดจากสมัยอลางในรูปแบบต่างๆ ทั้งบันทึก บทกวีและงานเขียนวิชาการ ที่กล่าวถึงการกระทำของเหล่าพาลาดินแห่งราชสำนักแฟรงค์ในรัชสมัยชาร์ลมาญแล้ว บทเพลงแห่งโรลองด์ซึ่งเชื่อว่าประพันธ์ขึ้นในราวคริสต์วรรษที่ 12-14 (แต่ไม่ปรากฎนามผู้ประพันธ์) นับเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ได้กล่าวถึงวีรกรรมของเหล่าพาลาดิน ไว้ โดยบทเพลงนี้ได้กล่าวถึงวีรกรรมของโรลองด์ ผุ้เป็นหัวหน้าของสิบสองพาลาดินแลฃะมีศักดิ์เป็นหลานชายขอชาร์ลมาญว่า เป็นอัสวินผุ้ยอมสละชีพของตนเพื่อปกป้องกองทัพแฟรงค์ จากการตามตีของพวกมุสลิมในสเปน ให้สามารถถอยทัพออกจากช่องเขาพิเรนิส ได้อย่างปลอดภัยนอกจากนี้หลักฐานชิ้นดังกล่าวยังระบุถึงนามของเหล่าพาลาดิน ทั้งหมดไว้อีกด้วย...https://my.dek-d.com/souleater01/writer/viewlongc.php?id=715206&chapter=2
ตามประวัติศาสตร์ พระเจ้าชาลมาญ เป็นกษัตริย์ชนเผ่าแฟรงค์ (ซึ่งเป็นเผ่าอนารยชนเผ่าหนึ่งในยุโรปหลังสมัยที่ จักรวรรดิโรมันล่มสลาย แล้ว และเป็นพรรชนสายหนึ่งของพวกฝรั่งเศสและเยอรมันในเวลาต่อมา) ต่อมา พระเจ้าชาเบอร์มาญทรงได้รับสถาปนาจากสันตะปาปา ณ กรุงโรมใหเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์พระองค์แรก จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นั้นคนละอันกับจักรวรรดิโรมันโบราณเดิม (แต่ก็ปกครองอาฯาบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกัน) มีข้อแตกต่างสำคัญที่สุดก็คือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นี้ อิงอยู่กับพระศาสนจักรโรมันคาทอลิกอย่างแนบแน่น (ขณะนั้นยังไม่มีนิกายโปรเตนแตนท์) ในขณะที่เราคงจะจำได้ว่าตามคริสตประวัตินั้น จักวรรดิโรมันเดิมไม่ได้ไยดีอะไรกับคริสศาสนาเท่าไหร่ แม้องค์พระเยซูเจ้าเองก็ทรงถุกจับตรึงกางเขนโดยที่ผุ้สำเร็จราชการโรมันได้ได้ยืนมือเข้าไปเกี่ยวข้องห้ามปราม หรืออกจะเกือบๆ เห็นดีเห็นงามตามพวกยิงไปด้วยซ้ำ เมื่อพระเยซูสิ้นพระชนม์แล้ว พวกคริสเตียนยุคแรกก็ยังถูกจักพรรดิโรมัน (ตอนช่วงที่อาณาจักรโรมันเองใกล้จะลมสลาย) จับไปทรมานต่างๆ นานาอีกเป็นอันมาก ซึ่งเป็นข้อแตกต่างอย่างมากจากจักรวรรดิฝรั่งที่ยืมชื่อมาภายหลัง
พระเจ้าชาร์ลส ในความหายว่า ชาร์ลสผุ้ยิ่งใหฯ๋ เป็นราชันแห่งจักวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยได้รับพระพรจากศาสนจักรคริสเตียน และทรงมีหน้าที่เป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกผู้คุ้มครองศาสนาคริสต์ และทำให้เกิดธรรมเนียมประเพณีเรื่องอัศวิน ขึ้นมา เราท่านในเมืองไทยสมัยนี้อาจจะรู้จักอัศวินคณะของพระเจ้าอาร์เธอร์แห่งอังกฤษ อันเรียกว่าอัศวินโต๊ะกลม (ที่เรียก่าโต๊ะกลมนั้นนิทานว่าก็เพราะพระเจ้าอาร์เธอร์ไม่ทรงต้องการให้มีหัวโต๊ะ คือถือว่าสมาชิกแห่งคณะอัศวินโต๊ะกลมทุกคนร่วมทั้งพระองค์เองด้วย มีฐานะเป็นเพื่อนตายเท่าเที่ยมเสมอกันหมด
นิทานเรื่องอัศวินแห่งพระเจ้าอาร์เธอณ์นั้ค่อนข้างจะมีชื่อเสียง แต่ในวงวรรณกรรมฝรั่งนั้น คณะอัศวินของพระเจ้าชาลมาญก็มีเกี่ยติเกริกไกรไม่น้อยไปกว่าคณะอัศวินโต๊ะกลมเช่นกัน อย่างไรก็ดีในเมืองไทยเราดูเหมือนจะยังไม่มีใครแปลนิทานชุดนี้ออกแพร่หลายนัก..http://study.vcharkarn.com/forum/view?id=17165§ion=forum
ในสมัยจักรวรรดิโรมันเรืองอำนาจ พาลาดิน คือนามของหนึ่งในเนินเขาทั้งเจ็ดอันเป็นที่ตั้งของกรุงโรม นครหลวงของจักรวรรดิโรมัน และยังเป็นที่ตั้งของราชสำนักในองค์ักระพพดิโรมัน ซึ่งได้สร้างขึ้นในรัชสมัยของออกุสตุส ซีซาร์ จักรพรรพิพระองค์แรก (คำว่า พาเลซ ) ซึ่งมีความหายว่า "พระราชวัง" ก็มีรากศัพท์มาจาก "พาลไทน์" เช่นกัน ดังนั้นในยุคแรกเร่ิม ความหมายที่แท้จริงของคำว่า "พาลาดิน" จึงหมายถึง "เหล่าผุ้ปกป้องราชสำนักของจักรพรรดิโรมัน" หรือก็คือ เหล่าราชองค์รักษณ์ของจักรพรรดิโรมันที่เรารู้จักกันใน นามว่่า "เพรโตเรียนการ์ด" นอกจากนี้คำว่า "พาลาดิน" ยังอาจมีที่มาจากตำแหน่งสมุหราชมณเ?ียรของราชสำนักโรมัน ( "โคเมส พาลาตินุส) อีกด้วย
ภายหลังจักรวรรดิโรมันล่มสลาย บทบาทของสมุหราชมณเฑียรและหล่าราชองค์รักษ์ของราชสำนักโรมันก็สิ้นสุดลง จนกระทั่ง ในสมยกลาง กษัตริย์ที่เข้มแข้งของชนเผ่รแฟรงค์ ได้โปรดนำธรรมเนียมบางอย่างของราชสำนักโรมันเดิม กลับมาใช้ซึ่งรวมถึงการตั้งตำแหน่งสมุหราชมณเฑียร ขึ้น และยังโรปดให้ตั้งกองทหาราชองึค์รักษ์แห่งราชสำนักแฟรงก์
"พาลาดิน" ปรากฎขึ้นชัดเจนในรัชสมัยของชาร์ลมาญ กษัตริยชนเผ่าแฟรงค์ ผุ้สถาปนาจักรวรรดิโรมันขึ้นอีกครั้งในนามว่า "จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (จักรวรรดิโรมันภายใต้อาณัติของคริสตจักรโรมันคาทอลิก) ทั้งนี้เป้นผลมาจากการที่รัชสมัยของชาร์ลมาญ พระองค์ได้ทำการขยายอาณาจักรออกไปอย่างกว้างขวางจนไป กระทบกระทั่งกับพวกมุสลิมในคาบสมุทรไอบีเรีย (ประเทศสเปนในเวลต่อมา) และเหล่าอัศวินองครักษ์ของพระองค์ก็ได้มีบทบาทอย่างมาก ในการรบกับพวกมุสลิม (ซึ่งเป็นสงครามศาสนาในยุคแรกๆ ) จนกลายเป็นตำนานเล่าขานกันในหมู่อัศวินและกวีผุ้นับถือคริสต์ศาสนของยุโรปยุคหลังซึ่งได้เรียกพวกเขาว่า "เหล่าพาลิดินทั้งสิบสองของชาร์ลมาญ"
ท่ามกลางหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากมายที่ตกทอดจากสมัยอลางในรูปแบบต่างๆ ทั้งบันทึก บทกวีและงานเขียนวิชาการ ที่กล่าวถึงการกระทำของเหล่าพาลาดินแห่งราชสำนักแฟรงค์ในรัชสมัยชาร์ลมาญแล้ว บทเพลงแห่งโรลองด์ซึ่งเชื่อว่าประพันธ์ขึ้นในราวคริสต์วรรษที่ 12-14 (แต่ไม่ปรากฎนามผู้ประพันธ์) นับเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ได้กล่าวถึงวีรกรรมของเหล่าพาลาดิน ไว้ โดยบทเพลงนี้ได้กล่าวถึงวีรกรรมของโรลองด์ ผุ้เป็นหัวหน้าของสิบสองพาลาดินแลฃะมีศักดิ์เป็นหลานชายขอชาร์ลมาญว่า เป็นอัสวินผุ้ยอมสละชีพของตนเพื่อปกป้องกองทัพแฟรงค์ จากการตามตีของพวกมุสลิมในสเปน ให้สามารถถอยทัพออกจากช่องเขาพิเรนิส ได้อย่างปลอดภัยนอกจากนี้หลักฐานชิ้นดังกล่าวยังระบุถึงนามของเหล่าพาลาดิน ทั้งหมดไว้อีกด้วย...https://my.dek-d.com/souleater01/writer/viewlongc.php?id=715206&chapter=2
ตามประวัติศาสตร์ พระเจ้าชาลมาญ เป็นกษัตริย์ชนเผ่าแฟรงค์ (ซึ่งเป็นเผ่าอนารยชนเผ่าหนึ่งในยุโรปหลังสมัยที่ จักรวรรดิโรมันล่มสลาย แล้ว และเป็นพรรชนสายหนึ่งของพวกฝรั่งเศสและเยอรมันในเวลาต่อมา) ต่อมา พระเจ้าชาเบอร์มาญทรงได้รับสถาปนาจากสันตะปาปา ณ กรุงโรมใหเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์พระองค์แรก จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นั้นคนละอันกับจักรวรรดิโรมันโบราณเดิม (แต่ก็ปกครองอาฯาบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกัน) มีข้อแตกต่างสำคัญที่สุดก็คือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นี้ อิงอยู่กับพระศาสนจักรโรมันคาทอลิกอย่างแนบแน่น (ขณะนั้นยังไม่มีนิกายโปรเตนแตนท์) ในขณะที่เราคงจะจำได้ว่าตามคริสตประวัตินั้น จักวรรดิโรมันเดิมไม่ได้ไยดีอะไรกับคริสศาสนาเท่าไหร่ แม้องค์พระเยซูเจ้าเองก็ทรงถุกจับตรึงกางเขนโดยที่ผุ้สำเร็จราชการโรมันได้ได้ยืนมือเข้าไปเกี่ยวข้องห้ามปราม หรืออกจะเกือบๆ เห็นดีเห็นงามตามพวกยิงไปด้วยซ้ำ เมื่อพระเยซูสิ้นพระชนม์แล้ว พวกคริสเตียนยุคแรกก็ยังถูกจักพรรดิโรมัน (ตอนช่วงที่อาณาจักรโรมันเองใกล้จะลมสลาย) จับไปทรมานต่างๆ นานาอีกเป็นอันมาก ซึ่งเป็นข้อแตกต่างอย่างมากจากจักรวรรดิฝรั่งที่ยืมชื่อมาภายหลัง
พระเจ้าชาร์ลส ในความหายว่า ชาร์ลสผุ้ยิ่งใหฯ๋ เป็นราชันแห่งจักวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยได้รับพระพรจากศาสนจักรคริสเตียน และทรงมีหน้าที่เป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกผู้คุ้มครองศาสนาคริสต์ และทำให้เกิดธรรมเนียมประเพณีเรื่องอัศวิน ขึ้นมา เราท่านในเมืองไทยสมัยนี้อาจจะรู้จักอัศวินคณะของพระเจ้าอาร์เธอร์แห่งอังกฤษ อันเรียกว่าอัศวินโต๊ะกลม (ที่เรียก่าโต๊ะกลมนั้นนิทานว่าก็เพราะพระเจ้าอาร์เธอร์ไม่ทรงต้องการให้มีหัวโต๊ะ คือถือว่าสมาชิกแห่งคณะอัศวินโต๊ะกลมทุกคนร่วมทั้งพระองค์เองด้วย มีฐานะเป็นเพื่อนตายเท่าเที่ยมเสมอกันหมด
นิทานเรื่องอัศวินแห่งพระเจ้าอาร์เธอณ์นั้ค่อนข้างจะมีชื่อเสียง แต่ในวงวรรณกรรมฝรั่งนั้น คณะอัศวินของพระเจ้าชาลมาญก็มีเกี่ยติเกริกไกรไม่น้อยไปกว่าคณะอัศวินโต๊ะกลมเช่นกัน อย่างไรก็ดีในเมืองไทยเราดูเหมือนจะยังไม่มีใครแปลนิทานชุดนี้ออกแพร่หลายนัก..http://study.vcharkarn.com/forum/view?id=17165§ion=forum
วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Charlemagne
ชาร์เลอมาญ หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ ตั้งแต่ ค.ศ.
768 จนถึงสวรรคต เป็นผุ้ทำให้ราชอาณาจักแฟรงก์รวมเป็นหนึ่งเดียวและเจริญรุ่งเรือง กองทัพของฝชาวแฟรงก์ได้ช่วยคุ้มครองพระสันตปาปากละกรุงโรมจากการรุกรานของประเทศลอมบร์เีย ทำให้ศาสนจักณโรมันคาทอฃลักิกลายเป็ผุ้สนับสนุนราชวงศ์การอแล็งเฌียง พระองค์เข้ารับพิธีราชาพิเษกจากสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ในกรุงโรมให้เป็นจักพรรดิแห่งชาวโรมัน ชาร์เลอมาญเป็นจักพรรดิองค์แรก ในาม "จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทะิ์" ถือเป็นจักพรรดิทียิ่งใหย่ที่สุดของยุดรปในสมัยกลาง
ชาร์เลอมาญได้รับการขนานนามว่าเป็น "พรบิดาแห่งยุโรป จากการที่รงรวบรวมดินแดนยุโรปตะวันตกเป็นปึกแผ่งครั้งแรกนับตั้งแต่จักวรรดิโรมัน ชาร์เลอมาญทรงเป็นผุ้ริเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งเป็นยุคแห่งความเจริญทางวัฒนธรรมและปัญญาของศาสนจักรตะวันตก จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทุกพระองค์ในกาลต่อมาต่างอ้างว่าอาณาจักรของพวกเข้าเป็นอาณาจักรที่สืบทอดมาจากจักรวรรดิของชาร์เลอมาญ แม้บทเพลงแห่งโรลองค์ วรรณกรรมภาษาฝรั่งเศสที่เก่าแก่ที่สุด ก็แต่งขึ้นโอยอ้างถึงสงครามขับไล่อาณจักรมุสลิมของกองทัพของพระองค์
ชาร์เลอมาญสวรรคตในปี ค.ศ. 814 หลังจากเป็นจักพรรดิได้ 13 ปี พระศพถูกฝังไว้ในอาสนวิหารอาเคิน นครหลวงในขณะนั้น ทรงอภิเษกสมรสอย่างน้อยสี่ครั้งแลมีพระโอรสตามกฎหมายอยู่สามองค์...
ชาร์เลอมาญทรงเร่ิมสร้างความมั่นคงและทำให้อาณาจักรแฟรงก์กลายเป็นอาณาจักรที่เป็นเอกภาพมากขึ้นกว่างยุคก่อน ทรงตั้งราชสำนักที่เมืองแอกซ์ลาซาแปล เร่ิมการสร้างพระราชวังแลอาสนวิหารอาเคิน ที่เมือง อาเคิน ในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน เป็นสัญลักาณ์ของการอุปถัมภ์ของอาณาจักรและศาสนาตักรนับแต่ต้น โบสถ์วิหารได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากกรงุดรม เรียกกันว่า https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8D
สถาปัตยกรรมแบโรมาแนสก์ ชาร์เลอมาญ ทรงส่งเสริมการศึกษาด้วยการสร้างโรงเรียน หลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยากรต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นเป็นศูย์กลางการและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาร์เลอมาญทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการส่งข้าหลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยาการต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นศูนย์กลางการศึกษาและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาณืเลอร์ทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการสงข้าหลวง และการเก็บภาษี แต่เมื่อทรงสวรรคต ราชสนำนักก็ไม่อาจควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ัก กลายเป็นปัญหาสำคัญต่อการสร้างอาณาจักรที่เป็นเอกภาพในสมัยกฃลางหลังสวรรคต อาณาจักรของพระองค์แบ่งแยกให้แก่พระโอรส 3 พระองค์ บางสวนอยู่ในดินแดนเยอรมนีปัจจุบัน...
ความย่ิงใหญ่ รวมถึงพระราชกรณียกิจที่พระเจ้าชาร์ลเอลร์มาญได้ทรงประกอบทำให้ไม่น่าแปลกใจ หากฮิตเลอร์และบุคคลสำคัญอื่นๆ ในพรรคนาซีจะนำกรณีขงพระองคมาใช้ในการปลุกความรู้สึกชาตินิยมให้เกิดในจักรวรรดิหรค์ซที่ 3 รวมถึงใช้ในการโฆษณาให้ชาวเยอรมันสนับสนนุนโยบายของพรรคนาซี เช่น นโยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอรมันไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนอกจากจะมีจุดมุ่งหมายในการขยายที่ทำกินแล้วแล้ว ยังมุ่งที่จะขับไล่ประชาชนที่พรรคนาซีถือว่าไม่มีเชื้อสายอารยันออกจากพื้นที่อีกด้วย
พรรคนาซีอธิบายประวัติศาสตร์เยอรมันในส่วนที่เกี่ยวกับพระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญโดยมุ่งให้เกิดความรุ้สึกรักชาติขึ้นในหมู่ประชาชนด้วยการใช้ประเด็น 2 ประเด็นหลักดังต่อไปนี้เป็นใจความสำคัญคือ
- การทำให้พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญเป็นชาวเยอรมัน และเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรดิ์เยรมัน โดยที่ไม่ได้คำนึงถึง ว่า พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญทรงเป็นจักรพรรดิของราชอาณาจักรแฟรงค์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของฝรั่่งเศส รวมถึงกหลุ่มประเทศเบเนลักซ์ในปัจจุบันนี้ด้วย
ออยเกน เฮลเลอร์บัค นักประวัติศาสตรืที่เขียนบทความลงในวารสาร "ผุ้ดูแลเยอมันตะวันตก" ซึ่งเป็นวารสารอย่างเป็นทางการของพรรคนาซีใน ค.ศ. 1942 หรือ ราว 3 ปีหลังจากที่สงครามโลครั้งที่ 2 เร่ิมต้นขึ้นด้วยการที่กองทัพเอยมันยักทัพบุกโปแลนด์เมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 เขาจึงสามารถเขียนได้โดยไม่ขัดแย้งกับแนวทางของนักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ และไม่ขัดกับอุดมการณืของพรรคนาซี..เฮลเลอร์บัค บรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ิเชิดชูความยิ่งใหญ่ของชาติเยอรมันเฮเลอร์บัคบรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ ทรงเป็ฯผู้สร้างชนชาติเยอรมัน ทั้งยังทรงเป็นผุ้สร้างจักรวรรดิเยอรมัน.. ในช่วงเวลากว่าครึ่งสหัศวรรษที่ผ่านมานี้ รพะองค์ทรงทำให้ชาวเยอรมันคุ้นเคยกับความรู้สึกเป็นหนึ่งในยุโรป.. ภายใต้ภาพอดีตของชาวเยอมันนี้ ธงของจักวรรดิไรค์ซที่ 3 ของเราจะปลิวไสว วัฒนธรรมที่ยาวนานของเรากวาหนึงพันปีจะกลับมาย่ิงใหญ่อีกครั้ง
ในส่วนของการสังหารหมู่ชาวแซกซันที่แวเดิน เฮลเลอร์บัค ก็ได้เขียนอธิบายไว้เช่นกัน และคำอธิบายของเขาแตกต่างกับของ เบาเออร์ ตรงที่เขายอมรับว่ามีการสังหารหมู่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตาม "เราไม่ควรจะโยนความผิดให้กับพวกที่ฆ่าชาวแซกซัน เนื่องจากพระหัตถ์ของพระองค์ไม่ได้ทำควาผิดใดๆ แต่พระหัตถของพระองค์ทำลงไปเนื่องจากเป็นคำสั่งอขงพระเจ้าที่ต้องการเห็นการขยายอาณาเขตของชนเผ่าแกรมาเนีย...
- และ การพยายามอธิบายวา พระเจ้าชาร์เลอร์มานทรงต้องการขยายขอบเขตของราชอาณาจักรแฟรงค์ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งตรงกับนธยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอมันไปทางทิศตะวันออกของฮิตเลอร์ ในกรณีนี้ พรรคนาซีได้ใช้ประโยชน์จากคำอธิบายของนักประวัติศาสตร์เยอมันในทศวรรษที่ 1930 อีกรั้ง เนื่องจากพวกเขาพยายามหาคำอธิบายให้กับการทำสงครามขยายดินแดนโดยเฉพาะการขยายดินแดนไปทางทิศตะวันออกของพรเจ้าชาร์ลเลอร์มาญ
ประเด็นที้ง 2 ประเด็นนี ทำให้ไม่น่าแปลกใจว่า ใน ค.ศ. 1937 พรรคนาซีได้อธิบาย่า "พระเจ้าชาร์เลอร์มาญทรงเป็นชาวแกรมาเนียตัวอย่าง ดดยดูได้จากต้นกำเนิดและรูปแบบการใช้ชีวิตของพระองค์ซคึ่งเป็นแกรมาเนีย-เยอรมัน อุปนิสัยส่วนพระองค์ก็ยังถูกกำหนดไว้ด้วยการสืบต่อของสายเลือดแกรมาเนีย-เยอรมัน ดังนั้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จึงมีหน้าที่รักษาจักวรรดิที่พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญได้ทรงทิ้งไว้ และขยายจักรวรรดิออกไปเพื่อความอยู่รอดของชาวเยอรมัน โดยที่ในประเด็นของการขยายพื้นที่จักวรรดิออกไปทางทิศตะวันออก นั้น ss หรือหน่วยติดอาวุธที่ถูกตั้งขึ้นมาให้ทำหน้าที่อารักขาฮิตเลอร์ และในช่วหลัีงจาก ค.ศ. 1934 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นช่วงที่พรรคนาซียึดอำนาจในเยอรมนีได้อย่างค่อนข้างมั่นคงแล้ว ได้รับหน้าที่ในการปราบปรามชาวยิว และดูแลค่ายกักกันต่างๆ ได้นำมาอธิบายการยึดดินแดนในยุดรปตะวันออกและการสังหารผุ้คนในพื้นที่นั้นอยู่เนื่องๆ...http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/viewFile/7967/7152
768 จนถึงสวรรคต เป็นผุ้ทำให้ราชอาณาจักแฟรงก์รวมเป็นหนึ่งเดียวและเจริญรุ่งเรือง กองทัพของฝชาวแฟรงก์ได้ช่วยคุ้มครองพระสันตปาปากละกรุงโรมจากการรุกรานของประเทศลอมบร์เีย ทำให้ศาสนจักณโรมันคาทอฃลักิกลายเป็ผุ้สนับสนุนราชวงศ์การอแล็งเฌียง พระองค์เข้ารับพิธีราชาพิเษกจากสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ในกรุงโรมให้เป็นจักพรรดิแห่งชาวโรมัน ชาร์เลอมาญเป็นจักพรรดิองค์แรก ในาม "จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทะิ์" ถือเป็นจักพรรดิทียิ่งใหย่ที่สุดของยุดรปในสมัยกลาง
ชาร์เลอมาญได้รับการขนานนามว่าเป็น "พรบิดาแห่งยุโรป จากการที่รงรวบรวมดินแดนยุโรปตะวันตกเป็นปึกแผ่งครั้งแรกนับตั้งแต่จักวรรดิโรมัน ชาร์เลอมาญทรงเป็นผุ้ริเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งเป็นยุคแห่งความเจริญทางวัฒนธรรมและปัญญาของศาสนจักรตะวันตก จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทุกพระองค์ในกาลต่อมาต่างอ้างว่าอาณาจักรของพวกเข้าเป็นอาณาจักรที่สืบทอดมาจากจักรวรรดิของชาร์เลอมาญ แม้บทเพลงแห่งโรลองค์ วรรณกรรมภาษาฝรั่งเศสที่เก่าแก่ที่สุด ก็แต่งขึ้นโอยอ้างถึงสงครามขับไล่อาณจักรมุสลิมของกองทัพของพระองค์
ชาร์เลอมาญสวรรคตในปี ค.ศ. 814 หลังจากเป็นจักพรรดิได้ 13 ปี พระศพถูกฝังไว้ในอาสนวิหารอาเคิน นครหลวงในขณะนั้น ทรงอภิเษกสมรสอย่างน้อยสี่ครั้งแลมีพระโอรสตามกฎหมายอยู่สามองค์...
ชาร์เลอมาญทรงเร่ิมสร้างความมั่นคงและทำให้อาณาจักรแฟรงก์กลายเป็นอาณาจักรที่เป็นเอกภาพมากขึ้นกว่างยุคก่อน ทรงตั้งราชสำนักที่เมืองแอกซ์ลาซาแปล เร่ิมการสร้างพระราชวังแลอาสนวิหารอาเคิน ที่เมือง อาเคิน ในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน เป็นสัญลักาณ์ของการอุปถัมภ์ของอาณาจักรและศาสนาตักรนับแต่ต้น โบสถ์วิหารได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากกรงุดรม เรียกกันว่า https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8D
สถาปัตยกรรมแบโรมาแนสก์ ชาร์เลอมาญ ทรงส่งเสริมการศึกษาด้วยการสร้างโรงเรียน หลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยากรต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นเป็นศูย์กลางการและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาร์เลอมาญทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการส่งข้าหลวง นำพระจากวาติกันมาสอนวิทยาการต่างๆ ทำให้ฝรั่งเศสเร่ิมก้าวขึ้นศูนย์กลางการศึกษาและอารยธรรมของยุโรปในเวลาต่อมา ชาณืเลอร์ทรงพยายามขยายพระราชอำนาจของราชสำนักไปยังส่วนต่างๆ ของอาณาจักรผ่านการสงข้าหลวง และการเก็บภาษี แต่เมื่อทรงสวรรคต ราชสนำนักก็ไม่อาจควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ัก กลายเป็นปัญหาสำคัญต่อการสร้างอาณาจักรที่เป็นเอกภาพในสมัยกฃลางหลังสวรรคต อาณาจักรของพระองค์แบ่งแยกให้แก่พระโอรส 3 พระองค์ บางสวนอยู่ในดินแดนเยอรมนีปัจจุบัน...
ความย่ิงใหญ่ รวมถึงพระราชกรณียกิจที่พระเจ้าชาร์ลเอลร์มาญได้ทรงประกอบทำให้ไม่น่าแปลกใจ หากฮิตเลอร์และบุคคลสำคัญอื่นๆ ในพรรคนาซีจะนำกรณีขงพระองคมาใช้ในการปลุกความรู้สึกชาตินิยมให้เกิดในจักรวรรดิหรค์ซที่ 3 รวมถึงใช้ในการโฆษณาให้ชาวเยอรมันสนับสนนุนโยบายของพรรคนาซี เช่น นโยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอรมันไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนอกจากจะมีจุดมุ่งหมายในการขยายที่ทำกินแล้วแล้ว ยังมุ่งที่จะขับไล่ประชาชนที่พรรคนาซีถือว่าไม่มีเชื้อสายอารยันออกจากพื้นที่อีกด้วย
พรรคนาซีอธิบายประวัติศาสตร์เยอรมันในส่วนที่เกี่ยวกับพระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญโดยมุ่งให้เกิดความรุ้สึกรักชาติขึ้นในหมู่ประชาชนด้วยการใช้ประเด็น 2 ประเด็นหลักดังต่อไปนี้เป็นใจความสำคัญคือ
- การทำให้พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญเป็นชาวเยอรมัน และเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรดิ์เยรมัน โดยที่ไม่ได้คำนึงถึง ว่า พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญทรงเป็นจักรพรรดิของราชอาณาจักรแฟรงค์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของฝรั่่งเศส รวมถึงกหลุ่มประเทศเบเนลักซ์ในปัจจุบันนี้ด้วย
ออยเกน เฮลเลอร์บัค นักประวัติศาสตรืที่เขียนบทความลงในวารสาร "ผุ้ดูแลเยอมันตะวันตก" ซึ่งเป็นวารสารอย่างเป็นทางการของพรรคนาซีใน ค.ศ. 1942 หรือ ราว 3 ปีหลังจากที่สงครามโลครั้งที่ 2 เร่ิมต้นขึ้นด้วยการที่กองทัพเอยมันยักทัพบุกโปแลนด์เมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 เขาจึงสามารถเขียนได้โดยไม่ขัดแย้งกับแนวทางของนักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ และไม่ขัดกับอุดมการณืของพรรคนาซี..เฮลเลอร์บัค บรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ิเชิดชูความยิ่งใหญ่ของชาติเยอรมันเฮเลอร์บัคบรรยายว่า "พระเจ้าชาร์ลเลอร์มานทรงเป็นจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ ทรงเป็ฯผู้สร้างชนชาติเยอรมัน ทั้งยังทรงเป็นผุ้สร้างจักรวรรดิเยอรมัน.. ในช่วงเวลากว่าครึ่งสหัศวรรษที่ผ่านมานี้ รพะองค์ทรงทำให้ชาวเยอรมันคุ้นเคยกับความรู้สึกเป็นหนึ่งในยุโรป.. ภายใต้ภาพอดีตของชาวเยอมันนี้ ธงของจักวรรดิไรค์ซที่ 3 ของเราจะปลิวไสว วัฒนธรรมที่ยาวนานของเรากวาหนึงพันปีจะกลับมาย่ิงใหญ่อีกครั้ง
ในส่วนของการสังหารหมู่ชาวแซกซันที่แวเดิน เฮลเลอร์บัค ก็ได้เขียนอธิบายไว้เช่นกัน และคำอธิบายของเขาแตกต่างกับของ เบาเออร์ ตรงที่เขายอมรับว่ามีการสังหารหมู่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตาม "เราไม่ควรจะโยนความผิดให้กับพวกที่ฆ่าชาวแซกซัน เนื่องจากพระหัตถ์ของพระองค์ไม่ได้ทำควาผิดใดๆ แต่พระหัตถของพระองค์ทำลงไปเนื่องจากเป็นคำสั่งอขงพระเจ้าที่ต้องการเห็นการขยายอาณาเขตของชนเผ่าแกรมาเนีย...
- และ การพยายามอธิบายวา พระเจ้าชาร์เลอร์มานทรงต้องการขยายขอบเขตของราชอาณาจักรแฟรงค์ไปทางทิศตะวันออก ซึ่งตรงกับนธยบายขยายที่ทำกินสำหรับชาวเยอมันไปทางทิศตะวันออกของฮิตเลอร์ ในกรณีนี้ พรรคนาซีได้ใช้ประโยชน์จากคำอธิบายของนักประวัติศาสตร์เยอมันในทศวรรษที่ 1930 อีกรั้ง เนื่องจากพวกเขาพยายามหาคำอธิบายให้กับการทำสงครามขยายดินแดนโดยเฉพาะการขยายดินแดนไปทางทิศตะวันออกของพรเจ้าชาร์ลเลอร์มาญ
ประเด็นที้ง 2 ประเด็นนี ทำให้ไม่น่าแปลกใจว่า ใน ค.ศ. 1937 พรรคนาซีได้อธิบาย่า "พระเจ้าชาร์เลอร์มาญทรงเป็นชาวแกรมาเนียตัวอย่าง ดดยดูได้จากต้นกำเนิดและรูปแบบการใช้ชีวิตของพระองค์ซคึ่งเป็นแกรมาเนีย-เยอรมัน อุปนิสัยส่วนพระองค์ก็ยังถูกกำหนดไว้ด้วยการสืบต่อของสายเลือดแกรมาเนีย-เยอรมัน ดังนั้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จึงมีหน้าที่รักษาจักวรรดิที่พระเจ้าชาร์ลเลอร์มาญได้ทรงทิ้งไว้ และขยายจักรวรรดิออกไปเพื่อความอยู่รอดของชาวเยอรมัน โดยที่ในประเด็นของการขยายพื้นที่จักวรรดิออกไปทางทิศตะวันออก นั้น ss หรือหน่วยติดอาวุธที่ถูกตั้งขึ้นมาให้ทำหน้าที่อารักขาฮิตเลอร์ และในช่วหลัีงจาก ค.ศ. 1934 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นช่วงที่พรรคนาซียึดอำนาจในเยอรมนีได้อย่างค่อนข้างมั่นคงแล้ว ได้รับหน้าที่ในการปราบปรามชาวยิว และดูแลค่ายกักกันต่างๆ ได้นำมาอธิบายการยึดดินแดนในยุดรปตะวันออกและการสังหารผุ้คนในพื้นที่นั้นอยู่เนื่องๆ...http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/viewFile/7967/7152
วันจันทร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Knights of the Round Table
อัศวินโต๊ะกลม เป็นชื่อกลุ่มคนที่ได้รับแต่งตั้งเกียรติยศอย่างสูงสุดในราชสำนักของกษัตริย์อาเธอร์แต่ละเรื่องกาจจะกล่วถึงจำนวนอัสวินที่ไม่เท่ากัน ตั้ง 12 -150 คน หรือมากกว่านั้น สำหรับWinchester Round Table ซึ่งบันทึกในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1270 มีรายชื่อัศวินทั้งสิ้น 25 คน
อัศวินโต๊ะกลมในตำนานถูกก่อตั้งขึ้นมาเปนเวลาช้านานแล้ว ดดยเมอร์บินเป็นผุ้ก่อตั้งขึ้นมา ณ ศูนย์กลางของคาเมล๊อต เขาได้สร้างรูทรงวงกลมแทนสัญลักษณ์แห่งจักรวาล ซึงทุกคนที่นั่งอยู่รอบโต๊ะทรงกลมก็จะมีอำนาจเท่าเที่ยมกัน ไม่เหมือนโต๊ะสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งผ้ที่นั่งหัวโต๊ะจะมีอำนาจมากที่สุดแนวคิดของเมอร์ลินที่สร้างโต๊ะกลมขึ้นมาคือไม่ว่าชนชั้นใดก็สามารถยกระดับตัวเองขขึ้นมาให้เท่ากษัตริย์และขุนนางชั้นสุงที่นั่งอยุ่รอบโต๊ะได้ หากคุณสามารถพิสูจน์ได้ว่าตัวเองมีความสามารถพอ หลังการสวรรคตของกษัตริย์อูเธอร์ มอร์ลินไดต่อหน้าที่ดูแลโต๊ะกลมหใ้กับกษัตรยิลโอดิเกรส ผุ้ซึ่งมีความจงรักภักดีต่อกษัตริย์อูเธอร์
บุคคลทุกชนชั้นสามารถยกระดับตัวเองให้ขึ้นมเที่ยงเที่ากับอัศวินของกษัตรยิืได้ แต่พวกเขาต้องพิสูจน์วาตัวเองมีดีพอ และต้องสาบานว่าจะปฏิบัติตามกฎของอัศวิน ซึ่งมีข้อบังคัยดังนี้
- ไม่ล่วงเกินหรือฆ่าผุ้อื่นหากไม่ได้อยู่ในสนามรบหรือในการต่อสู้อันมีเกียรติ
- ไม่ก่อการกบฎต่อประเทศชาติและกษัตริย์ของตัวเอง
- ไม่แสดงพฤติกรรมท่โหดเหรี้ยมทารุณต่อผุ้อื่ดดยไม่จำเป็น และให้ความเตตาต่อผุ้ที่ร้องขอถึงแม้จะอยู่ในการต่อสู้ก็ตาม
- ช่วยสตริที่ต้องการความช่วยเหลือ
- ไม่ทำร้ายสตรี
- ไม่ต่อสู้กับเรื่องเล็กน้อยที่ไม่สำคัญเท่ากษัตริย์และประเทศชาติ
ในรัชสมัยของกษัตริย์โต๊ะกลมถือว่าเป็นศุูนย์กลางในการปฏิบัติงานต่างๆ เป็นที่ซึ่งทุกคนมาพบปะและตัดสินใจ่าใครควรจะไ้รับมอบหมายภารกิจใด
เมื่อกษัตริย์อาเธอร์ได้รับหน้าที่ให้ดูแลอัศวินโต๊ะกลม รอบๆ โต๊ะสามารถรองรับอัศวินได้ถึง 150 คน และกษัตรยิปลีโอดิเกรสยังได้ส่งอัศวินอี 100 คนมาให้เขาอีกด้วย โดยในช่วงเวลานั้น ีอัศวินหมายคนที่ได้รับการยกย่องจากกษัตริย์อาเธอร์ว่ามีความสามารถในการทำภารกิจต่างๆ และการต่อสู้ ได้แก่ เซอร์แลนเซลอตแห่งทะเลสาบ เซอร์กาเวน เซอร์เกอเรนท์ เซอร์เพอซิลวัล เซอร์บอร์เซอร์ลาโมแรค เซอร์เคย์ เซอร์เบดิเวียนร์ เซอร์กาเฮริส เซอร์กาลาฮัด เซอร์ทรสิแทนและเซอร์มอร์เดร็ด
เซอร์แลนเซลอดแห่งทะเลสาบ เป็นอัศวินโต๊ะกลมที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เป็นผุ้ที่เก่งกล้าสามารถมากที่สุดในการต่อสู้ ผุ้คนทั่วราชอาณาจักรต่างก็ชื่อชมในตัวเขา เขาเป็นผุ้ชนะในการต่อสู้เกือบทุกรายการที่เข้าร่วม เขาสามารถเอาชนะอัศวินที่แข็งแกร่งจำนวนมากซึ่งไม่เคยมีผู้ใดเอาชนะได้มาก่อน ด้วยเหตุผลเหล่านี้ เขาจึงเป้ฯที่เคารพและศรัทธาของบรรดาอัศวินหนุ่มทั้งหลาย เขามีฉายาว่าอัศวินแห่งทะเบสาบเพราะหญิงแห่งทะเลสาบเป็นผุ้เลี้ยงดุเขาจนเติบใหญ่และ่งเขาให้มาเข้าร่วมกับกองทัพของกษัตรยิือาเธอร์ ซึ่งนางเป็นผู้ที่ขอร้องให้กษัตริย์อาเธอร์รับแลนเซลอตไปดูแล และฝึกฝนให้เป็นอัศวินที่
กล้าหาญ ต่อมากษัตริย์อาเธอร์และเซอร์แลนเซลอตก็ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทกันซึ่งแลนเซลอตรุ้สึกชื่นชมความกล้าหาญของกษัตริย์อาเธอร์เป็นอยางมาก วันที่เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินเขารู้สึกอับอายเป็นอย่างมาก เพราะเขาลืมหยิบดาบของตัวเองมา ซึ่งผุ้ที่ไม่มีดาบของตัวเองจะไม่สามารถถูกแต่่งตั้งให้เป็นอัศวินได้ พระราชนีกวินีเวียน์ได้พบดาบของเขาและนำไปคืนให้เขาทันเวลา ด้วยความที่ซาบซึ้งใจต่อการช่วยเหลือนี้ แลนเซลอตจึงได้มอบความรักและความจงรักภักดีให้กับกวินีเซียร์ และเขายังได้เสนอตัวเป็นองค์รักษ์ปกป้องพระราชินีเพื่อเป็นการแสดงความศรัทธาที่เขามีต่อเธอ พระราชินีกวินิเวียร์รู้สึกดีกับเขาตั้งแต่ครั้งแรกที่ทั้งคุ่สบตากัน
พระราชินีกวีนิเวียร์ ได้พบกับกษัตริย์อาเธอร์ครั้งแรกในปราสาทของพระราชบิดาของเธอในคา
เมเลิร์ด เธอเป็นลูกสาวของกษัตริย์ลีโอติเกรสซึ่งเป็กษัตริย์แห่งคาเมเลิร์ด เมื่อตอนที่เมืองคาเมเลิร์ดถูกศัตรูล้อม กษัตริย์อาเธอร์คือผุ้ที่เข้าไปช่วยเหลือ ระหว่างงานเลี้ยงฉลองอาเธอร์ได้พบหน้ากวินิเวียร์เป็นครั้งแรก ซึ่งทำให้เขาตกหลุมรัก อาเธอร์ไปหาเมอร์ลินเพื่อขอคำแนะนำ เพราะเขาจะไม่แต่งงานหากไม่ได้รับความเห็นชอบจากเมอร์บิน เมื่อเอมร์ลินถามว่าสตรีคนใดที่เขารักมากที่สุด อาเธอร์ตอบว่ากวินิเวียร์โดยไม่ลังเล เมอรืลินได้เตือนอาเธอร์ว่ากวินเวีร์ไม่มีราศีพอที่จะเป็นภรรยาของเขา และในที่สุดเธอลแะแลนเซลอตจะตกหลุมรักกันและกัน แต่อาเธอร์ดึงดันที่จะทำตามหัวใจของตัวเอง เขาเื่อว่าชะตาลิขิตนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ซึ่งเมอร์ลินก็ยอมตกลงเห็นชอบด้วย กษัตริย์ลีโอดีเกรสรู้สึดีใจอย่างสุดซ้ง
เมื่อทราบข่าวและได้ส่งลูกสาวมาให้อาเธอร์โดยผ่นทางเมอร์ลินพร้อมทั้งส่งอัศวิน 100 คนให้เป็นองขวัญ
ในปีต่อมา คำทนายของเมอร์ลินกลายเป็นความจริง หลังจากเซอร์เลนเซลอตได้รับการแต่งตั้งให้เป็นองค์รักษ์ เซอร์แลนเซลอตพยายามที่จะรักพระราชินีกวินีเวียร์แบบเพื่อนเท่านั้น ซึ่งดวินีเวียร์เองก็พยายามทำแบบเดียวกัน แต่ความใกล้ชิดของทั้งคู่ทั้งให้ความคิดนั้นล้มเหลว เซอร์แลนเซลอดมักจะได้รับภารกิจให้ไปช่วยพระราชินีกวินิเวียร์ ในครั้งนั้นเซอร์มิลิเอแแกรนซ์หมายปองที่จะได้ตัวพระราชินีกวินิเวียร์จึงได้ซุ่มโจมตีและลักพาตัวเธอไปในปราสาทของเขาซึ่งเธอได้แอบส่งข้อความไปให้เซอร์แลนเซลอตเพื่อขอให้เขามาช่วยเธอ เขารีับขี่ม้าไปช่วยเธอ อย่างรวดเร็ว แต่เขาเองก็ถุกซุ่มโจมตีและม้าของเขาถูกพลธนูยิ่งจนล้ม เาไม่ได้รับบาบเจ็บและพยายามมองหาพาหนะที่จะพาเขาไปยังปราสาทของเซอร์มิลิเอแกรนซื และพาหนะเพียองอย่างเดียวที่หาได้ก็คือรถม้ของคนแคระ ผุ้คนที่พบเห็นต่างก็ห้วเราะเยาะเขาตลอดทางแต่เป้าหมายของเขาคือการไปช่วยพระราชินีได้สำเร็จ ชื่อเสียงของเขาจากเหตุการณ์นี้ได้กลายเป็นที่เลื่องลือไปทั่วว่า เซอร์แลนเซลอตไม่ไ้เสียเลือดแม้แต่หยดเียวจากการบุกไปช่วยพระราชินี ซึ่งเหตุกาณณ์ในครั้งนี้ทำให้เขาได้รับฉายาว่า "อัศวินแห่งรถม้า"
เอ็ซ์คาลิเบอร์ ถึงแม้อัศวินโต๊ะกลมเป็ทนที่รุ้จักมากแค่ไหน แต่ก็ไม่อาจเทียบกับดาบเอ็กซืคาลิเบอร์ ซึ่งเป็นดาบที่ดด่งดงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ดาบเ่มนี้เป็นเหมือนเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อกษัตรยิ์อาเธอร์เมื่ออาเธอร์พ่ายแพ้ในสงครามแห่งคามลาน คำขอครั้งสุดท้ายของอาเธอร์ก็คือเขาต้องการให้ดาบเอ็กซ์คาลิเบรอืกลับไปอยู่ในศิลาซึ้งอยู่บนเกาะแห่งอวาลอน เขาได้มอบหมายหน้าที่นี้ให้กับเซอร์เบดิเวียร์ซึ่งเป็นหนึ่งในอัศวินที่เขาไว้ใจมากที่สุด แต่หลังจากร่างของอาเธอร์ถุกนำไปที่อว่าลอนแล้ว เบดิhttp://kingofavalon.game/knights-round-table_th/
เวียร์รู้สึกเสียดายที่จะปล่อยดาบไป ในขณะที่เขาถือดาบอยู่นั้นดาบในมือเขาไปเกิดแรงสั่นสะเทือนขึ้น เมอร์ลินเห็นความลังเลของเขาจึงได้ังให้เขาปล่อยดาบ แต่ดุเหมือเซอรเบดิเวีร์จะถูกพลังของดาบเข้าควบคุมซะแล้ว เมอร์ลินรู้ดีว่าเขาไม่มีทางแย่งดาบมาจากเซอร์เบดิเวียร์ผุู้งใหญ่ได้แน่ เขาจึงได้แนะำให้เซอร์เบดิเวียร์พิสูจน์ตัวเองว่าคู่ควรกับดาบเล่นนี้เมอร์ลินชีไปที่ต้นไม่ต้นใหญ่แล้วบอกให้เาลองฟันดู เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบตัดต้นไม้ขาดเป็นสองท่อนในการฟันครั้งเีดยว หลังจากนั้นเมอร์ลินบอกให้ลองใช้ดาบกัฐเหล็กดุ เซอร์เบดิเวียร์จึงได้ประจัญหน้ากับทหารสองนายและฟันดาบของทั้งคุ่จนหักในการครั้งเดียว สุดท้ายเมอร์ลินบอกให้เาใช้ดาบเจาะหินศิลาแห่งมังกรซึ่งแข็งที่สุด เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบเอ็กซ์คาลิเบอร์เจาะเข้าไปในหินศิลาได้สำเร็จ และคุยโวโอ้อวดว่าดัวเองคู่ควรกับการเป็นกษัตริย์ แต่เมอร์ลินบอกว่มีเพีีียงกษัตริย์ที่แท้จริงเท่านั้นที่จะามารถดึงดาบออกมาจากศิลาได้ ซึงนั่นทำให้เซอร์เบดิเวียร์โมโหและโถมตัวเข้าไปกระแทกจนเมอร์ลินล้มลง เขาพยายามดึงดาบอย่างเอาเป็นเอตายแต่ก็ไม่สามารถดึึงกาบเอ็กซืคาลเบอร์ออกมาจากศิลาได้ ในที่สุดเขาก็ล้มเลิกความพยายามและสำนึกถึงความบ้าคลั่งชองตัวเอง เขาคุกเข่าลงด้วยความละอายและขอให้เมอร์ลินยกโทษให้เขา ดาบเอ็กซืคาลิเบอร์จึงได้ถุกฝังอยุ่ในศิลาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา รอให้กษัตริย์ที่แท้จริงดึงมัออกมาอีกครั้ง....
อัศวินโต๊ะกลมในตำนานถูกก่อตั้งขึ้นมาเปนเวลาช้านานแล้ว ดดยเมอร์บินเป็นผุ้ก่อตั้งขึ้นมา ณ ศูนย์กลางของคาเมล๊อต เขาได้สร้างรูทรงวงกลมแทนสัญลักษณ์แห่งจักรวาล ซึงทุกคนที่นั่งอยู่รอบโต๊ะทรงกลมก็จะมีอำนาจเท่าเที่ยมกัน ไม่เหมือนโต๊ะสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งผ้ที่นั่งหัวโต๊ะจะมีอำนาจมากที่สุดแนวคิดของเมอร์ลินที่สร้างโต๊ะกลมขึ้นมาคือไม่ว่าชนชั้นใดก็สามารถยกระดับตัวเองขขึ้นมาให้เท่ากษัตริย์และขุนนางชั้นสุงที่นั่งอยุ่รอบโต๊ะได้ หากคุณสามารถพิสูจน์ได้ว่าตัวเองมีความสามารถพอ หลังการสวรรคตของกษัตริย์อูเธอร์ มอร์ลินไดต่อหน้าที่ดูแลโต๊ะกลมหใ้กับกษัตรยิลโอดิเกรส ผุ้ซึ่งมีความจงรักภักดีต่อกษัตริย์อูเธอร์
บุคคลทุกชนชั้นสามารถยกระดับตัวเองให้ขึ้นมเที่ยงเที่ากับอัศวินของกษัตรยิืได้ แต่พวกเขาต้องพิสูจน์วาตัวเองมีดีพอ และต้องสาบานว่าจะปฏิบัติตามกฎของอัศวิน ซึ่งมีข้อบังคัยดังนี้
- ไม่ล่วงเกินหรือฆ่าผุ้อื่นหากไม่ได้อยู่ในสนามรบหรือในการต่อสู้อันมีเกียรติ
- ไม่ก่อการกบฎต่อประเทศชาติและกษัตริย์ของตัวเอง
- ไม่แสดงพฤติกรรมท่โหดเหรี้ยมทารุณต่อผุ้อื่ดดยไม่จำเป็น และให้ความเตตาต่อผุ้ที่ร้องขอถึงแม้จะอยู่ในการต่อสู้ก็ตาม
- ช่วยสตริที่ต้องการความช่วยเหลือ
- ไม่ทำร้ายสตรี
- ไม่ต่อสู้กับเรื่องเล็กน้อยที่ไม่สำคัญเท่ากษัตริย์และประเทศชาติ
ในรัชสมัยของกษัตริย์โต๊ะกลมถือว่าเป็นศุูนย์กลางในการปฏิบัติงานต่างๆ เป็นที่ซึ่งทุกคนมาพบปะและตัดสินใจ่าใครควรจะไ้รับมอบหมายภารกิจใด
เมื่อกษัตริย์อาเธอร์ได้รับหน้าที่ให้ดูแลอัศวินโต๊ะกลม รอบๆ โต๊ะสามารถรองรับอัศวินได้ถึง 150 คน และกษัตรยิปลีโอดิเกรสยังได้ส่งอัศวินอี 100 คนมาให้เขาอีกด้วย โดยในช่วงเวลานั้น ีอัศวินหมายคนที่ได้รับการยกย่องจากกษัตริย์อาเธอร์ว่ามีความสามารถในการทำภารกิจต่างๆ และการต่อสู้ ได้แก่ เซอร์แลนเซลอตแห่งทะเลสาบ เซอร์กาเวน เซอร์เกอเรนท์ เซอร์เพอซิลวัล เซอร์บอร์เซอร์ลาโมแรค เซอร์เคย์ เซอร์เบดิเวียนร์ เซอร์กาเฮริส เซอร์กาลาฮัด เซอร์ทรสิแทนและเซอร์มอร์เดร็ด
เซอร์แลนเซลอดแห่งทะเลสาบ เป็นอัศวินโต๊ะกลมที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เป็นผุ้ที่เก่งกล้าสามารถมากที่สุดในการต่อสู้ ผุ้คนทั่วราชอาณาจักรต่างก็ชื่อชมในตัวเขา เขาเป็นผุ้ชนะในการต่อสู้เกือบทุกรายการที่เข้าร่วม เขาสามารถเอาชนะอัศวินที่แข็งแกร่งจำนวนมากซึ่งไม่เคยมีผู้ใดเอาชนะได้มาก่อน ด้วยเหตุผลเหล่านี้ เขาจึงเป้ฯที่เคารพและศรัทธาของบรรดาอัศวินหนุ่มทั้งหลาย เขามีฉายาว่าอัศวินแห่งทะเบสาบเพราะหญิงแห่งทะเลสาบเป็นผุ้เลี้ยงดุเขาจนเติบใหญ่และ่งเขาให้มาเข้าร่วมกับกองทัพของกษัตรยิือาเธอร์ ซึ่งนางเป็นผู้ที่ขอร้องให้กษัตริย์อาเธอร์รับแลนเซลอตไปดูแล และฝึกฝนให้เป็นอัศวินที่
กล้าหาญ ต่อมากษัตริย์อาเธอร์และเซอร์แลนเซลอตก็ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทกันซึ่งแลนเซลอตรุ้สึกชื่นชมความกล้าหาญของกษัตริย์อาเธอร์เป็นอยางมาก วันที่เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินเขารู้สึกอับอายเป็นอย่างมาก เพราะเขาลืมหยิบดาบของตัวเองมา ซึ่งผุ้ที่ไม่มีดาบของตัวเองจะไม่สามารถถูกแต่่งตั้งให้เป็นอัศวินได้ พระราชนีกวินีเวียน์ได้พบดาบของเขาและนำไปคืนให้เขาทันเวลา ด้วยความที่ซาบซึ้งใจต่อการช่วยเหลือนี้ แลนเซลอตจึงได้มอบความรักและความจงรักภักดีให้กับกวินีเซียร์ และเขายังได้เสนอตัวเป็นองค์รักษ์ปกป้องพระราชินีเพื่อเป็นการแสดงความศรัทธาที่เขามีต่อเธอ พระราชินีกวินิเวียร์รู้สึกดีกับเขาตั้งแต่ครั้งแรกที่ทั้งคุ่สบตากัน
พระราชินีกวีนิเวียร์ ได้พบกับกษัตริย์อาเธอร์ครั้งแรกในปราสาทของพระราชบิดาของเธอในคา
เมเลิร์ด เธอเป็นลูกสาวของกษัตริย์ลีโอติเกรสซึ่งเป็กษัตริย์แห่งคาเมเลิร์ด เมื่อตอนที่เมืองคาเมเลิร์ดถูกศัตรูล้อม กษัตริย์อาเธอร์คือผุ้ที่เข้าไปช่วยเหลือ ระหว่างงานเลี้ยงฉลองอาเธอร์ได้พบหน้ากวินิเวียร์เป็นครั้งแรก ซึ่งทำให้เขาตกหลุมรัก อาเธอร์ไปหาเมอร์ลินเพื่อขอคำแนะนำ เพราะเขาจะไม่แต่งงานหากไม่ได้รับความเห็นชอบจากเมอร์บิน เมื่อเอมร์ลินถามว่าสตรีคนใดที่เขารักมากที่สุด อาเธอร์ตอบว่ากวินิเวียร์โดยไม่ลังเล เมอรืลินได้เตือนอาเธอร์ว่ากวินเวีร์ไม่มีราศีพอที่จะเป็นภรรยาของเขา และในที่สุดเธอลแะแลนเซลอตจะตกหลุมรักกันและกัน แต่อาเธอร์ดึงดันที่จะทำตามหัวใจของตัวเอง เขาเื่อว่าชะตาลิขิตนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ซึ่งเมอร์ลินก็ยอมตกลงเห็นชอบด้วย กษัตริย์ลีโอดีเกรสรู้สึดีใจอย่างสุดซ้ง
เมื่อทราบข่าวและได้ส่งลูกสาวมาให้อาเธอร์โดยผ่นทางเมอร์ลินพร้อมทั้งส่งอัศวิน 100 คนให้เป็นองขวัญ
ในปีต่อมา คำทนายของเมอร์ลินกลายเป็นความจริง หลังจากเซอร์เลนเซลอตได้รับการแต่งตั้งให้เป็นองค์รักษ์ เซอร์แลนเซลอตพยายามที่จะรักพระราชินีกวินีเวียร์แบบเพื่อนเท่านั้น ซึ่งดวินีเวียร์เองก็พยายามทำแบบเดียวกัน แต่ความใกล้ชิดของทั้งคู่ทั้งให้ความคิดนั้นล้มเหลว เซอร์แลนเซลอดมักจะได้รับภารกิจให้ไปช่วยพระราชินีกวินิเวียร์ ในครั้งนั้นเซอร์มิลิเอแแกรนซ์หมายปองที่จะได้ตัวพระราชินีกวินิเวียร์จึงได้ซุ่มโจมตีและลักพาตัวเธอไปในปราสาทของเขาซึ่งเธอได้แอบส่งข้อความไปให้เซอร์แลนเซลอตเพื่อขอให้เขามาช่วยเธอ เขารีับขี่ม้าไปช่วยเธอ อย่างรวดเร็ว แต่เขาเองก็ถุกซุ่มโจมตีและม้าของเขาถูกพลธนูยิ่งจนล้ม เาไม่ได้รับบาบเจ็บและพยายามมองหาพาหนะที่จะพาเขาไปยังปราสาทของเซอร์มิลิเอแกรนซื และพาหนะเพียองอย่างเดียวที่หาได้ก็คือรถม้ของคนแคระ ผุ้คนที่พบเห็นต่างก็ห้วเราะเยาะเขาตลอดทางแต่เป้าหมายของเขาคือการไปช่วยพระราชินีได้สำเร็จ ชื่อเสียงของเขาจากเหตุการณ์นี้ได้กลายเป็นที่เลื่องลือไปทั่วว่า เซอร์แลนเซลอตไม่ไ้เสียเลือดแม้แต่หยดเียวจากการบุกไปช่วยพระราชินี ซึ่งเหตุกาณณ์ในครั้งนี้ทำให้เขาได้รับฉายาว่า "อัศวินแห่งรถม้า"
เอ็ซ์คาลิเบอร์ ถึงแม้อัศวินโต๊ะกลมเป็ทนที่รุ้จักมากแค่ไหน แต่ก็ไม่อาจเทียบกับดาบเอ็กซืคาลิเบอร์ ซึ่งเป็นดาบที่ดด่งดงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ดาบเ่มนี้เป็นเหมือนเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อกษัตรยิ์อาเธอร์เมื่ออาเธอร์พ่ายแพ้ในสงครามแห่งคามลาน คำขอครั้งสุดท้ายของอาเธอร์ก็คือเขาต้องการให้ดาบเอ็กซ์คาลิเบรอืกลับไปอยู่ในศิลาซึ้งอยู่บนเกาะแห่งอวาลอน เขาได้มอบหมายหน้าที่นี้ให้กับเซอร์เบดิเวียร์ซึ่งเป็นหนึ่งในอัศวินที่เขาไว้ใจมากที่สุด แต่หลังจากร่างของอาเธอร์ถุกนำไปที่อว่าลอนแล้ว เบดิhttp://kingofavalon.game/knights-round-table_th/
เวียร์รู้สึกเสียดายที่จะปล่อยดาบไป ในขณะที่เขาถือดาบอยู่นั้นดาบในมือเขาไปเกิดแรงสั่นสะเทือนขึ้น เมอร์ลินเห็นความลังเลของเขาจึงได้ังให้เขาปล่อยดาบ แต่ดุเหมือเซอรเบดิเวีร์จะถูกพลังของดาบเข้าควบคุมซะแล้ว เมอร์ลินรู้ดีว่าเขาไม่มีทางแย่งดาบมาจากเซอร์เบดิเวียร์ผุู้งใหญ่ได้แน่ เขาจึงได้แนะำให้เซอร์เบดิเวียร์พิสูจน์ตัวเองว่าคู่ควรกับดาบเล่นนี้เมอร์ลินชีไปที่ต้นไม่ต้นใหญ่แล้วบอกให้เาลองฟันดู เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบตัดต้นไม้ขาดเป็นสองท่อนในการฟันครั้งเีดยว หลังจากนั้นเมอร์ลินบอกให้ลองใช้ดาบกัฐเหล็กดุ เซอร์เบดิเวียร์จึงได้ประจัญหน้ากับทหารสองนายและฟันดาบของทั้งคุ่จนหักในการครั้งเดียว สุดท้ายเมอร์ลินบอกให้เาใช้ดาบเจาะหินศิลาแห่งมังกรซึ่งแข็งที่สุด เซอร์เบดิเวียร์ใช้ดาบเอ็กซ์คาลิเบอร์เจาะเข้าไปในหินศิลาได้สำเร็จ และคุยโวโอ้อวดว่าดัวเองคู่ควรกับการเป็นกษัตริย์ แต่เมอร์ลินบอกว่มีเพีีียงกษัตริย์ที่แท้จริงเท่านั้นที่จะามารถดึงดาบออกมาจากศิลาได้ ซึงนั่นทำให้เซอร์เบดิเวียร์โมโหและโถมตัวเข้าไปกระแทกจนเมอร์ลินล้มลง เขาพยายามดึงดาบอย่างเอาเป็นเอตายแต่ก็ไม่สามารถดึึงกาบเอ็กซืคาลเบอร์ออกมาจากศิลาได้ ในที่สุดเขาก็ล้มเลิกความพยายามและสำนึกถึงความบ้าคลั่งชองตัวเอง เขาคุกเข่าลงด้วยความละอายและขอให้เมอร์ลินยกโทษให้เขา ดาบเอ็กซืคาลิเบอร์จึงได้ถุกฝังอยุ่ในศิลาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา รอให้กษัตริย์ที่แท้จริงดึงมัออกมาอีกครั้ง....
วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
King Arthur
กษัตริย์อาเธอร์ เป็นกษัตริย์อังกฤผษผุ้มีชื่อเสียงโด่งดังในตำนานเล่าขานในฐานะวีรบุรุษในยุคกลาง ซึ่งได้ปกป้องเกาะบริเตนจากการรุกรานของชาวแซกซันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 รายละเอียดส่วนใหญ่เกี่ยวกับกษัตรยิ์อาเธอร์ปรากฎอยู่ในเรื่องเล่าขาน ตำนานพื้นบ้าน และวรรณกรรมที่แต่งขึ้น นักประวัติศาสตร์ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ากษัตรยิ์อาเธอร์มีตัวตนอยุ่ในประวัติศาสตร์จริงหรือไม่ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาเธอร์ค่อนข้างกระจัดกระจายอยู่ตามแหล่งข้อมูลต่างๆ และในบันทึกของ"นักบุญกิลแตส" นอกจากนี้ชื่อของ อาเธอร์ ยังปรากฎอยู่อยู่ในบทกวีเก่าแก่หลายแห่ง เช่นในกวีนิพน วาย กอดโดดิน เป็นต้น
กษัตรย์อาเธอรในตำนานได้พัฒนาขึ้นจนกลายเป็นบุคคลที่น่าสนใจในระดบนานาชาติก็ด้วยผลงานเขียนอันเปี่ยมด้วยจิตนาการและความเหนือจริงของเจฟฟรีย์แห่งมอนมัท ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เรื่อง Historia Regum Britanniae (ประวัติแห่งบริเตน) แต่ก็มีนิทานและกวีนิพนธ์ของเวลส์และไบรตันหลายเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกษัตรยิ์อาเธอร์ และมีอายุเก่าแก่กว่างานช้ินดังกล่าว ในงานเหล่านั้น อาเธอร์เป็นทั้งนักรบผุ้ยิ่งใหญ่ผุ้ปกป้องบริเตนไว้จากศัตรุทั้งที่เป็นมนุษย์แลสิ่งเหนือมนุษย์ บางครั้งก็เป็ผู้วิเศษในตำนานพื้นบ้าน ทั้งมีเรื่องเล่าถึงโลกหลังความตายในตำนานเวลส์ ด้วย แต่ไม่อาจสรุปได้ว่าผลงานของเจฟฟีย์(ซึ่งเขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1138 ) ได้ดัดแปลงมาจากตำนานเก่าแก่ดั้งเดิมเหล่านั้นมากน้อยเพียงใด
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
ทั้งโครงเรื่อง เหตุกาณ์ และบุคลิกของกษัตริย์อาเธอร์ รวมถึงบุคคลต่าง ๆในตำนนอาเธอร์ ได้เปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ในวรรณกรรมของแต่ละยุคโดยที่ไม่มีเรื่องใดสอดคล้องต้องกันอย่างสมบูร์แต่งานเขียนฉบัยบของเจฟฟรีย์ถือได้ว่าเป็นจุดเร่ิมต้นของวิวัฒนาการของตำนานในยุคต่อๆ มา เจฟฟรีย์พรรณนาภาพของอาเธอร์เป็นกษัตริย์แห่งบริเตนผู้ต่อสู้ต้านทานการรุกรานของพวกแซกซัน และก่อร่างสร้างอาณาจักรแห่งบริเตน ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และกอล องค์ประกอบต่างๆ จนแม้เหตุการณ์ที่ปรากฎอยุ่ในวรรณกรรมเกี่ยวกับอาเธอ
ร์ในชั้นหลังล้วนเคยปรากฎอยุ่ใน "ฮิตทอเรีย" ของเจฟฟรีย์มากอ่นทั้งนั้น เช่น ยูเทอร์ เพนแครกกอน ผู้เป็นบิดาของอาเธอร์ พ่อมด เมอร์ลิน ดาบเอกซ์แคลิเบอร์ กำเนิดของอาเธอร์ที่ทินแทเจล การรบครั้งสุดท้ายกับมอร์เคร็ดที่คัมลานน์รวมถึงาการผ่อนพักใปั้นปลายที่แอวาลอน นักเขียชาวฝรั่งเศสในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 12 ชื่อ เครเตียง เอด ทรัว เป็นผ้เพ่ิมบทบาทของลานเซลอต และ จอกศักดิ์สิทธิ์ เข้าไปในตำนาน และริเร่ิมเรื่องราวเชิงโรแมนซ์ ของอาเธอร์ซึงต่อมากลายเป็นแห่นของวรรณกรรมในยุคกลาง ในงานเขียนภาษาฝรั่งเศสชุดนี้ จุดหลักของเรื่องมักจะเคลื่อนไปจากตัวอาเธอร์ ไปยังตัวละครอื่นๆ ในเรื่อง เช่นบรรดา อัศวินโต๊ะกลม ทั้งหลาย เป็นต้น วรรณกรรมเกี่ยวกับอาเธอร์เป็นที่นิยมมาตลอดยุคกลาง และค่อยๆ เสื่อมความนิยมลงไปเมื่อผ่านไปหลายศตวรรษ วรรณกรรมอาเธอร์ได้รับความนิยมกลับคืนมาอีกครั้งเมื่อเข้าสุ่ริสต์สตวรรษที่ 19 และยืนบงอยุ่มาตลอดจนถึงศตวรรษที่ 21 ได้รับการดัดแปลงไปยบังสื่อต่างๆ ทั้งในส่วนของงานวรรณกรรมเอง หรือดัดแปลงไปเป็นภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ การ์ตูน และสื่ออื่นๆ อีกมากมาย....
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...