Das Rheingold (The Rhine Gold), Die Walküre (The Valkyrie) ,Siegfried, Götterdämmerung (The Twilight of the Gods), ปกรฌัมแหวนนิเบลุงเกน มีเนื้อเรื่องกล่าวถึงเรื่องราวของคนแระ เผ่านิเบลุง กับแหวนวิเศษ ตำนานวาลคีรี, โศกนาฎกรรม ของซิกฟรีด กับบรุนฮิลด์ บางครั้งปกรฌัมชุมนี้ อาจเรียกวสั้นๆ ว่า "ปกรณัมแหวน"
ปกรฌัมแหวงแห่งนิเบลุงเกน เป็นปกรณัมชุดของ ริชาร์ด วากเนอร์ คีตกวี ชาวเยอร์มัน ที่ใช้เวลาแต่งถึง 26 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1848-1874 โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากตำนานเทพเจ้านอร์ส และนิทานปรัมปราของชาวเบอร์กัันดี ประกอบด้วยอุปรากร จำนวน 4 เรื่อง ซึ่งผู้แต่งระบุว่าเป็นอุปรากรไตรภาค และอีกนึ่งบทนำ ประกอบด้วย
ตนตรีจากช่วงโหมโรง ช่วงหนึ่ง มีท่วงทำนองที่ได้รับความนิยม มีชื่อเรียกว่า"ไรด์ออฟเดอะวาลคีรี" และได้มีการนำมาประกอบภายยนต์ จนกระทั่งปัจจุบันนี้
- ริชาร์ด วากเนือ เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1883 เป็นหนึ่งในคตกวีเอกชาวเยอรมัน ในสมัยคริสต์สตวรรษที่ 19 และยังเป็นนักทฤษฎีดนตรีที่เก่งกาจ ส่วนใหย่แล้วผลงานของวากเนอร์เป้นรู้จักจากอุปรากรที่เขาแต่ง ซึ่งมักจะเป็นเรืองราวโศกนาฎกรรม ประกอบดนตรี อิทธิพลของวากเนอร์ในดนตรีตะวันตกนั้นมากมายมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปรากรที่เขาปฏิวัติรูปแบบโดยสิ้นเชิง..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
- โรงละครเทศกาลไบรอยท์ เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรที่ตั้งอยุ่ที่ทางเหนือของเมืองไบรอยท์ ในแคว้นบาวาเรียในประเทศเยรมนี สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1872 และเปิดเป็นครั้งแรเมื่องันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 โรงละครเทศกาลไบรอยท์เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์โดยเฉาพะระหว่างเทศกาลไบลรอยท์ซึ่งเป็ฯเทศกาลประจำปีที่มีแต่การแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์เท่านั้น โรงละครเป็นความคิดของวากเนอร์หลังจากที่ถูกขับจากราชสำนักมิวนิคของพระเจ้าลุควิกคที่ 2 แห่งบาวาเรีย วากเนอร์ต้องการจะมีสาถนที่สำหรับแสดงอุปรากรที่จรเองเขียนที่ห่างไกลจาก
วัฒณธรรมคู่แข่งอื่นๆ และนอกจากจะเป็นที่แสดงตามปกติแล้วก็ยังเป็นที่จัดเทศกาลอุปรากรประจำปีซึ่งเป็นงานที่เชิดหน้าชูตาของไบรอยท์ วากเนอร์เลือกไบรอยท์ด้วยเหตุผลหลายประการ โรละครเทศกาลสร้างสำหรับมากราฟเฟรดริคแห่งไบรอยท์และภรรยาหรีเดอริเค โซฟี วิลเฮลมีนแห่งไบรอยท์ พระขนิษฐาของพระเจ้าฟรีคริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1747 ซึ่งมีระบบเสียงดีและเหมาะกับความคิดของวากเนอร์ ประการที่สอง เมืองไบรอยท์อยู่นอกบริเวณที่วากเนอร์ไม่สามารถแสดงอุปรากรของตนเองเพราะได้ขายลิขสิทธิ์ไปหมด
เมือปี 1864 เพราะปัญหาทางการเงินประการสุดท้ายไบรอยท์ขณะนั้นไม่มีวัฒนธรรมที่เด่นที่จะเป็นคู่แข่งได้ทำให้วากเนอร์เป็นที่เด่นโดยไม่มีใครลบได้ เมื่อเทศกาลอุปรากรเริ่มขึ้นก็จะกลายเป็นจุดสนใจทางวัฒนธรรมของไบรอยท์ วากเนอร์นำการออกแบบมาจากสถาปนิกกอดฟรีด เซมเพอร์ซึ่งวากเนอร์มิได้รับการอนุญาต แบบของเซมเพอร์เดิมออกแบบสำหรับโรงละครเทศกาลที่มิวนิค ที่สร้างภายใต้การควบคุมของวากเนอร์ทุนการก่อสร้างส่วนใหญ๋มาจากพระเจ้าบลุควิกที่ 2 วากเนอร์วางศิลาฤกษ์ในวันเกิดของตนเองเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1872 สิ่งก่อสร้างเปิดเป็นครั้งแรกด้วยการแสดงอุปรากร "แหวนแห่งนิเลลุงเก็น" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "แหวน" ทั้งสีทองค์อย่างสมบุรณ์เป็นครั้งแรก (ความยาวทั้งหมดประมาณ 15 ชัวโมง) ตั้งแต่วันที่13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 -17 สิงหาคม ปีเดียวกัน
อุปรากรเรื่องนี้มักจะแสดงทั้งชุดในงานเทศกาลอุปรากรที่ไบรอยท์ ด้านหน้าของโรงละครเท่านั้นที่มีัลักาณะการตกแต่งที่พบกันในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากน้นภายนอกก็มีลักษระเรียบง่ายไม่มีการตกแต่งเท่าใดนัก นอกไปจากอิฐที่ก็มิได้มีการตกแต่ง ลักษณะที่เด่นของโรงละครแห่งนี้คือทีนั่งของหลุมวงออร์เคสตรา ซึ่งตั้งลึกเเข้าไปภายใต้เวทีและคลุมด้วยเพดานบางๆ เพื่อที่จะซ่อนวงดนตรีของผุ้ชม ซึ่งเป็นสิ่งที่วากเนอร์เน้นเพื่อที่จะให้ผุ้ชมสนใจแค่เฉพาะอุปรากรบนเวทแทนที่จะมีผุ้กำกับดนตรี ที่โบกบาททองทำให้เสียสมาธิ
https://th.unionpedia.org/i/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
นอกจากนั้นการออกแบบก้ยังพยายามแก้ความสมดุลระหวางนักร้องและออร์เคสตราซึ่งทำให้เป็นเสียงออกมาอย่างที่วากเนอร์ต้องการ แต่การจัดระบบเสียงเช่นนี้ทำความลำบากให้แก่ผุ้กำกัดนตรีเป็นอัมากแม้ว่าจะเป็นผุ้กำกับที่มีชื่อเสียงก็ตาม นอกจากผุ้ชมที่ถูกซ่อนอยู่ในความมือแล้วเสียงสะท้อนกังวานทำให้การประสานเสียงระหว่างวงออร์เคสตรากับนักร้องเป็นไปได้ยาก ฉะนั้นผุ้กำกับดนตรีจึงจำต้องไม่สนใจสัญญาจากนักร้อง นอกจากนั้นผุ้กำกับดนตรียังพบว่าการกำกับดนตรีที่ไบรอยท์เป็นงานที่ท้าทายความสามารถมากที่สุดในอาชีพของตนเองงานหนึ่ง ลักษณะที่เด่นทางสถาปัตยกรรมอีกอย่างหนึ่งคือการใช้เพดานโค้งซ้อน ซึ่งทำให้ผุ้ชมมีความรู้สึกว่าโรงละครลึกกว่าความเป็นจริง เพดานโค้งซ้อนและหลุมสำหรับวงออร์เคสตราเกือบใต้เวทีทำให้เกิดบรรยากาศที่วากเนอร์เรียกว่า "เหวแห่งความลึกลับ" ระหว่างผุ้ชมและเวที อันทำให้การแสดงที่ออกมาบนเวทีเหมือนฝันซึ่งเป็นการย้ำความลึกลับของเนื้อหาและบรรยากาศของอุปรากรที่วากเนอร์ต้องการ...
,
,
,
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น