วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2565

"SLORC" State Law Order Restoration Council

           คณะนายทหารที่เรียกว่า สภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ หรือรัฐบาล "สลอร์ค State Law
Order Restoration Council-SLORCc และ พรรึคเอกภาพแห่งชาติ ร่วมกันปกครองพม่าหลัง ตามคำสังนายพล เนวิน ดดยมีนายพลซอ หม่อง ทำรัฐประหารเมืองวันที่ 18 กันยายน 

          เืพ่อสร้างภาพว่ารัฐบาลกำลังจะเปลี่ยนระบบการปกครองและเสณาฐกิจไปสู่ความเป็นเสรีมากขึ้นได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญของปี ค.ศ.1974 และเป็ดประเดศด้วยการปรับนโยบายเศรษฐกิจไปสู่ระบบตลาดเปิดเสรีให้ต่ารงชาตินำเงินเข้ามาลงทุนใช้ทราัพยากรธรรมชาตอันอุดมสมบูรณ์ และยกเลิกระบบเศรษบกิจแบบสังคมนิยมที่นายพล เนวิน ประกาศใช้เมือ 26 ปีก่อน และการจัดตั้งพรรคสันนิบาตแห่งขาติเพื่อประชาธิไตยหรือ NLD National League for Democracy) ที่อีอ่อง ยี เป็นประธานพรรค และนาง ออง .าน .ูจี เป็นเลขาะิการพรคฯ ทั้งหมดนี้นับเป็รเริ่มขบวนการประชาธิไตยและสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้แก่ประเทศและรัฐบาล

         รัีฐบาล "สลอร์ค" เปลี่ยนชื่อประเทศพม่าเป๋น "สหภาพเมียนมาร์โดยอ้างว่าเป็นชื่อที่มีความเป็นเอกภาพมากกว่า พม่า และสิ่งทีไม่ได้คาดไว้ก็เกิดขึ้น คือ ในอี่ก 1 ปีต่อมาราัฐบาลสลอร์คได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งทั่วไปแบบหลายพรรคการเมือง ลหังจากที่ครั้งสุดทื้ายมีการเลือกตั้งในลักษณะนี้เมือประมาณ 30 ปีที่แล้ว อย่างไรก็พรรค NUP  ของรัฐบาลได้ที่นั่งเพียง 10 ที่่นีั่ง จาก 485 ที่นั้ง ที่นีั้งส่วนใหญ่ตกเป็นของพรรค NLD 

         ถึงอย่างไร แม้ผลการเลือกตั้งจะชี้ชัดว่าพรรคึต่อต้านรัฐบาลมีความชอบธรรมที่จะปกครองประเทศ แต่กลุ่ม"สลอร์ค"ก็ประกาศว่า รัฐบาลจะยังไม่มอบอำนาจใน้พรรค NLD จนกว่าจะร่างรัฐธรรมนูญฉบัยใหม่เสร็จสิ้น และให้ประชาชนแสดงความเห็นชอบก่อนแล้วจึงจะพิจารณาการถ่ายโอนอำนาจการปกครอง

          นายพล ซอ หม่องไม่ระบุระยะเวลาที่แน่น่อนในการร่างรัฐธรรมนูญ ทำให้ประชาชนเดินขบวนประท้วง แต่้รัฐบาล "สลอร์ค"ก้ตอบไต้ด้วยการจับกุมประชานและกวาดล้างสมาชิกพรรค NLD ในที่บรรดาผู้นำพรรคฯ จึงต้องยอมรัีบข้อเสนอของรัฐบาลทหารที่จให้มีการร่างรัฐธรรมนูญแบับใหม่ก่อนการถ่ายโอนอำนาจ  ในเวลาเดียวกันนายพล ซอ หม่อง เริมมีอาการป่วย และ ลงจากตำแหน่าง นายพลตาน ฉ่วย เข้ารับตำแหน่งต่างๆ ตำคำสั่งและการบงการของนายพล เนวิน

          เก้าเดือนต่อมา นายพล ตาน ฉ่วย เริ่มประชุมสมัชชาเพื่อร่างรัฐะรรมนูญ กองทัพจะยัวคึงเป็นเสา่หลักในการปครองซึ่งทำให้ยากที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นประชาธิปไตยมากกว่านี้

          นับตั้งแต่ นายพล ตาน ฉ่วย ขึ้นมาปกครองประเทศเมืองปลาย เมษา 1992 จนถึงปี 2005 กลไกที่รัฐใช้เป็นเป็นศูนย์อำนาจของรัฐในการกำนดและควบคุมการดำเนินการปกครองและบิรหารประทเศพม่า คือ สภาพ "สลอร์ค"พฤศจิกายน 1997 เมื่อรัฐบาลของ พลเอก ตาน แ่วย ประกาศยุบ "สลอร์ค"และตั้งกลไกใหม่ขึ้นมารทำหน้าที่ทแรนภายใต้ชืิ่อว่า "สภาพสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ" "SPDCซึ่งเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้วก็ไม่มีอะไรแตกต่างกากเดิมเป็นดัง "เหล้าเก่าในขวดใหม่"เพียงแต่ภาพของการช่วงชิงอำนาจระหว่างผู้บริหารระดับสูงปรากฎชัดเจนขึ้น นายพล ตาน ฉ่วย เองก็สามารถเข้าควบคุมประทเสได้ในปลายปี 2004 

     ...ปัจจัยที่อาจเป็นภัยคุกคามต่ออำนาจองรับบาลทหารได้แก่ ผลจากการจลาจลครั้งใหญ่ค.ศ. 19898, การแย่งชิงอำนาจภายในกลุ่มผุ้นำทางทหาร, ความตกต่ำของเศรษฐกิจเมียนมา, การกบฎของชขนกลุ่มน้อย และ ความกังวลต่อการคุกคามจากต่างชาติ ในภาพรวม สาเหตุปัจจัยดังกล่าวเป็นผลมาจากบริบทโลกและสถานการณ์ภายในเมียนมาทมี่เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงดังกล้่าวมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงนโยบายและการดำเนินการต่างๆ ของรัฐบาลทหารเพื่อที่จะรักษาอำนาจซึ่งหากรัฐบาลทหารบังคงวิธีการเดิมเช่นเดียวกับสมัยนายพล เนวิน โดยไม่เปลี่ยนแปลงอาจนำไปสู่การสุญเสียอำนาจของตนในทางการเมืองก็ได้

         ระหว่าง ค.ศ. 1988-2008 รัฐบาล SLORC/SPDCจึงได้ดำเนินการรักษาอำนาจด้วยวิธีการที่หลากหลายมากขึ้น กล่าวคือ 

         - การใช้่การปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจเพื่อสร้างความชอบธรรม

          - การกดขี่และการใช้กำลัง

          - การสร้างความภักดีและการดังเข้าเป็นพวก

           - การแบ่งแยกและปกครอง และ

           - การเตรียมการเืพ่อรักษาอำนาจภายใต้การปกครองแบบประชาธิไตย วิธีการที่กลบ่าวนี้่ทำให้รัฐบาลทหารสามารถคงอำนาจทางการเมืองและอยู่รอดจากการต่อต้านและความพยายบามล้เมล้างรัฐบาลทีังจากภายในและภายนอกประเทศ จนกระทั่งรัฐบาลทหารสามารสละอำนาจการปกครองประเทศให้แก่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในลักษณะที่กองทั้พยังคงมีบทบาทและอิทธิพลในทางการเมือง...

      

          ข้อมูลบางส่วนจาก   ...วิยานิพนธ์ "การรักษาอำนาจของรํฐบาลทหารเมียนมา ค.ศ. 1988-2008" โดย นายวีรศักดิ์ ฉัตรรุ่งนพคุณ

                                         ..."กองทัพพม่ากับการปกครองแบบอำนาจนิยม" โดย ชขัยโชค จุลศิริวงศ์


วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Burma Soldier (ทหารพม่า)

            แนวความคิดทางการปกครองประเทศ ของนายพลเน วิน และหลังจากยุคสมัยนั้น มีความแตกต่างกันไม่้มากนัก มีผู้กล่าวไว้ว่า ผู้นำทางทหารยังคงมีจุดยืนว่าประเทศหรือรัฐ รัฐบาล และกองทัพเป็นสามสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ดังนั้นก่อนและหลังการป้วงของพม่า ในปี 1988 รัฐบาลและกองทัพจึงถูกมองว่าเป็นสองสิ่งที่ถูกรวมเข้าด้วยกันอยางแนบแน่น การรักษาควารมมั่นคงของรัฐเท่้ากับการรักษาความมั่นคงในอำนาจจของคณะทหารเพื่อคงอำนาจการบริหารให้่อยู่ภายใต้รัฐ มีผู้วิเคราะห์ว่าผู้นำทหารของเมียนมามีมโนทัศน์ที่ยึดถือร่วมกันคื อการรักษาเอกภาพ บูรณภถาพ และอธิไตยของประเทศ ซั่งนั้นคือเหตุผลหลักที่ทำให้กองทัพยัคงปกป้องอำนาจของตนเอง รวมถึงพร้อมที่จะปราบปรามฝ่ายตรงข้เามด้วย

          กองทัพพม่าสมัยใหม่มีกำเนิดมาจากสงครามโลกครนั้่งที่ 2 โดยขบวนการชาตินิยมพม่าพยายามหาความช่วยเหลือจากต่างประเทศทั้งในด้านอาวุธ ยุทธโธปกรณ์และการฝึกฝนสทางทหาร กลุ่มตรีทศมิตครที่ประกอบด้วย ออง ซาน และคณะที่เคึลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ได้เดินทางไปฝึุกอาวุธ ที่เกาะไหหลำภายใต้การอำนวยการของทหารญี่ปุ่ถน ถือเป็นต้นกำเนิดของกองทัพเอราชพม่้าที่ก่อตัวขึ้นเมืองปลายปี ค.ศ.1941


          ต่อมามีคนหนุ่มจำนวนมากสมัคึรเข้าเป็นทหารจนกองทัพเอกราชพม่าขยายตัวอย่างรวดเร็ว กองทัพที่กำลังพลถึคงราว สองหมื่นสามพันคน ระหว่าง ค.ศ. 1942-43 กองทัพปฏิบัติงานใกล้ชิดกับญี่ปุ่นและถูกปรับโคึรงสร้างองค์กรใหม่อยู่เป็นยระยะโดยเปลี่ยนเชื้อเป็นกองทัพป้องกันพม่า และกองทัพแห่งชาติพม่า

          กองทัพพม่าเกิดขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากการต่อสู้กู้เอกราชของขบวนการชาตินิยม ตลอดจนจากระเบียบวินัยที่เข้มงวดแข็.กร้าวของทหารญี่ปุ่นและจากระบบการปกครองแบบทหารเมืองครั้งที่ญี่ปุ่นยึดครองพม่า ต่อมากองทัพพม่าหันไปรวมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อรุกรบต่อต้านญี่ปุ่น ชข่วงการต่อสู้และเจรจาเพื่อเอกราชนี้ กองทัพมีประสบการณ์ทั้งในด้านการรบและการเมืองในกลุ่มอำนาจในกองทัพ ออง ซาน ซึ่งเคยเป็นผู้นำก่อตั้งกองทัพ เริ่มมีบทบาทหนักทางด้านการเมืองและการเจรจาขอเอราชคืนจากอังกฤษทไใก้ภารกิจกองทัพตกอยู่ใต้การควบคุมของ เน วิน หนึ่งในผู้นำทางทหารของกองทัพพม่าเป็นหลัก

           ในช่วง 6 ปีที่ญี่ปุ่นยึดครองพม่าจนถึงช่วงที่พม่าประกาศเอราชจากอังกฤษ ได้เกิดกลุถ่มอำนาจและองค์กรการเมืองมากมายบางกลุ่มก็พยายามยึดอำนาจรัฐทั้งประเทศ บางกลุ่มก็ระดมมวลขนเพื่อครอบครองดินแดนบางส่วนในพม่า ในบรรดากลุ่มเหล่านี้ กลุ่มที่มีบทบาทสำคัญ ได้แก่้่ "กลุ่มสันนิบาตเสรีภาพต่อต้านฟาสซิสต์" กลุ่มกองทัพม่า" "กลุ่มพรรคคอมมิวนิสต์แห่งพม่า" กลุ่มสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง" เป็นต้น ท่ามกลางความร่มอและกำารแข่งขันเชิงอำนาจ "กลุ่มกองทัพพม่า" เป็นขั่วอำนาจที่ดดดเด่นที่สุด


           อ.ดุุลยภาค กล่าวว่า กองทัีพแห่งชาติได้พัฒนาตัวเองใน สองลักษณะ คือ

          1 นายทหารและกำลังพลเริ่มมีประสบการณ์ในการทำงานกู้ชาติเคียงข้รางประชาชน จึงทำให้ทหารพม่าต้องศรัทธาต่อความเป็นเอกรารชแห่งรัฐและจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากประชาชน และ

           2 กองทัพรู้สึกว่าจำเป็นต้องเข้าำปมีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อแข่งขันกับกลุ่มการเมืองอื่น โรงเรียนผึกหัดนายทหารในขช่วงสงครามได้ผลิตนายทหารออกมาหลายรุ่น ซึ่งได้รับการฝึกอบรมตามแบบฉบับกองทัพญี่ปุ่น หากแต่ทหารอีกหลายนายก็แอบศึกษาภาษาจีนและอ่านข้อเขียนของฝ่ายคอมมิวนิสต์จึงทำให้รับรู้ถึงธรรมชาติกองทัพประชาชนด้วยเหตุนี้ นายทหารระดับนำจึงมีเป้าหมายด้านการเมืองที่เกี่ยวเนื่องกับประชาชนด้วย"บทบาทกองทัพพม่าในรทางการเมืองจึงมีให้เห็นเป็นระยะๆ..

         จากแนวคิดที่ว่า รัฐ รัฐบาล และกองทัพไม่สามารถแยกออกจากกันได้ นำมาซึ่งคึวามพยายามในการสร้างอำนาจส่วนกลางให้เข้เามแข็งเพื่อที่จะควบคุมพื้นที่ต่างๆ  

           ข้อมูลบางส่วนจาก..วิทยานิพนธ์ ไการรักษาอำนาจของรัฐบาลทหารเมียนมา ค.ศ. 1988-2008" โดย นายวีรศกดิ์ ฉัตรรุ่งนพคุณ

                                          .SILPA-MAG.COM ,"การุลุกฮือ 8888 นักศึกษา-ประชาชน-พระในพม่า ร่วมขับไล่เปด็จการรทหาร"

วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Four Eights Uprising' 8888

            "ข้าพเจ้าต้องแจ้งให้ท่ารซึ่งเป็นพลเมืองของสหภาพ(พม่า) รู้่ว่ากองทัพต่างๆ ได้ร่วมกันเข้า
ยึดอำนาจ และขอรับผิดชอบต่อการรักษาความปลอดภัยของประเทศชาติ ทั้งนี้ต่อเนื่องมา แต่สภาพอันเสื่อมโทรมของสหภาพ

            "ข้าเจ้าขอร้องให้ท่าน จงปฏิบัติหน้าที่ดังเข่นที่ใด้กระทำมาแต่เดิม โดยปราศจากความกลัวภัยและความไม่สบายใจ

           "เราซึ่งเป็นกลุ่มคณะปฏิวัติจะพยายามอย่างที่สุด ในอันที่จะเสริมสร้างควารมสุขและความอยู่กินดีให้แก่บรรดา ประชาชน ทุกคนของสหภาพ"

           นายพลเนวิน (ในฐานะหัวหน้เาคณะปฏิวัติ) ได้กล่าวคำปราศรัยแก่ประชาชนทางวิทยุ 

           นายพลเนวินได้ทำการรัฐประหาร ยึดอำนาจจาก นายอูนุ นายกรัฐมนตรีของพม่าหลังได้รับเอกราช โดยนายอูนุ บริหารประเทศด้วยระบอบประชาธิไตย และพยายามสร้างรัฐสวัสดิการ แต่ทั้งนี้ นายอูนุ ได้ยอมรับว่าปัญหาของพม่ากว่า หมื่นสองพันกว่าเรื่อง ต้องใช้เวลาในการสะสางกว่า 20 จึงจะลุล่วง 

          ในเวลานั้นประชาชนพม่าโดยทัี่วไป ต่างก็แสดงความยินดีต่อการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากปัญหาต่างๆ ทั้งทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และศาสนาเพิ่มขึนมากมาย ื

          นายพลเนวิน ระลึกถึงอยู่เสมอว่า คึวามล้มเหลวของระบบประชลาธิไตยของอูนุที่ใช้กันมา ดังนั้เนในการวางนธยบายทางสังคมและเศรษบกิจ จึงเน้นหนักไปในรุปของการนำเอา ระบบสังคมนิยมมาใช้อย่างแท้จริง "สังคมนิยมตามแบบพม่า" จึงได้กลายเป็นหัวใจของการปฏิรูปประเทศ อย่างไรก็ดี จากนโยบาย กีดกันเอกชน และการยึดกิจการแทบทุกอย่างของเอกชนมาเป็นของรัฐบาล สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจแก่พม่าอย่างมา เนวินทำสิ่งที่ตรงกันข้ามกับทั่ในปัจจุบัน คือ การให้เอกชนเป็นเจ้าของหน่วยงานสำคัญๆ เพื่อให้เกิดการแข่งขัน เนวินยนึดธุรกิจขนาดใหญ่กลับเข้าไปเป็นของรัฐบาลทั้งหมด โดยเฉพาะกิจการที่เกี่ยวข้องกับการค้ากับอินเดีย จีน และปากีสถาน ซึ่งทำให้เศรษฐกิจของประเทศดิงลงเหว และยังได้ร่างรัฐธรรมนูญใหม่เพื่อให้พม่าเป็นประเทศที่ปกครองด้วยพรรคเดียว และ เนวินก็กลายเป็นประธานาธิบด รวมอำนาจไว้ที่ตนแต่เพียงผู้เดียว

           ในยุค 80 นดยบายปิดประเทศและนโยบายสังคมนิยมของเนวินเปลี่ยนพม่าให้กลายเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก ประชาชนสุดจะทนเกิดการลุกฮิอประท้วงที่เรียกว่า การปฏิวัติ 8888 อันเป็นการประท้วงที่มีรากเหง้ามารจากปัญหาเศรษฐกิจโดยแท้ัการประท้วงครัั้งนี้ทำให้อองซานซูจีกลายเป็นคนสำคัญของประัเทศ เป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้กับยรัฐบาลทหาร นำไปสู่การเลือกตั้งในปี 1990...

           ...ผู้ประท้วงวางแผนให้ตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาสคม 1988 เป็นต้นไป นักศึกษา ประชาชน พระสงห์ พร้อมใจกันประท้วงและหยุดงานทั้่วประเทศ นักศึกษาแห่งพม่า เคลื่อนไหวเืพ่อปลุกระดมประชานให้เข้าร่วมในการประท้วงใหญ่ทั่วประเทศในวันนั้น ซึ่งมีประชาชนเข้าร่วมกว่า ล้านคน และเป็นวันที่แสดงให้เห็นว่าประชาชนเมียนมาไม่ยอมอยู่ภายใต้อำนาจการปกครองของนายพลเนวิน และรัฐบาล

             นายพบเส่ง สวิน ประธานาธิบดีและประธานพรร BSSP สั่งใช้กำลังทหารปราบปรามผู้ประท้วงอย่างรุนแรงและการใช้กระสุนจริง มีผุ้เสียชีวิตกวว่า 4'000 คน และอีกจตำนวนมารกที่ถูกจับกุม ซึ่งสร้างความกังวลในแก่นานาชาติในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมหาอำนาจอย่ารงสหรัฐอเมริกาออกมาประณามการกระทำของรัีบาลพม่าา ขณะที่รัฐบาลก็ไม่มีท่าทีสว่าจะยุติลง  สุดท้ายนายพลเส่ง ลวิน  ลาออกจากตำแหน่างประธานาธิบดีและประธานพรรค

           19 สิงหาคม 1988 ดร.หม่อง หม่อง นักกฎหมายที่ใกล้ชิด และเคยทืำงานร่วมกับนายพลเน วิน ขึ้นเป็นผู้นำคนใหม่ของเมียนม่า แต่ก็ฌไมท่ได้ช่วยให้สถานการณ์คลีคลายไปในทืางที่ด ประชาชนส่วนมารกไใ่ไว้วางใจและเห็นว่าเขาเป็น "ร่างทรง" ของนายพล เน วิน นอกจากนี้การประท้วงของประชาชนก็ไปไกลเกิดกวว่าที่แค่เพียงเปลี่ยนตัวผุ้นำแล้วจะช่วยได้ และสิ่งที่ผุ้ประท้วงต่องการคือการจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลขึ้นเพื่อเตรียมการเลือกตั้งเป็นเงื่อนไขสำคัญ แต่้ข้อเสนอนี้ถูก ดร. หม่อง หม่องปฏิเสธ และมีการส่งข้อเรียกร้องนี้ให้นักการเมืองฝ่ีายตรงข้าม เช่น นางออง ซานซูจี อดีตนายพลออง ยีฯลฯ

           24 สิงหาคม 1988 รัฐบาลประกาศยกเลิกกฎอัยการศึกและสั่งให้ทหารถอนตัวออกจากมเืองย่างกุ้ง หลังจากนั้นไม่กี่วันนักโทืษในเรือนจำทั่วประเทศถูกปล่่อยตัว หรือหลบหนีออกมา ซึ่งมีข่าวว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ของหน่วยข่าวกองของกองทัพและนายพล เน วิน เพื่อให้ทหารมีความชอบธรรมที่จะเข้ามาแทรากแซงการบริหารจักการบ้านเมือง สถานการณืในเมียนมาเข้าขึ้นวิกฤติ เกิดการปล้นสะดม เกิดความกลัวและหวาดระแวงในหมุ่ประชาชนทั่วไปจากข่าวลือต่างๆ เช่น การวางยาพิษในนำ้ดื่อมและแหล่งน้ำสาะารณะโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐบาล

          26 สิงหาคม 1988 นางอองซาน ซูจี ขึ้นปราศรัยทีั่หน้าเจดีย์ชขเวดากอง จนเป็นที่รู้จักไปทั่วดลกครั้งแรก

           10 กันยายน 1988 รัฐบาล จัดประชุมเร่งด่าวน ที่ประชุมสรุปว่าให้มีจัดการการเลือกตั้งดดยไม่ต้องทำประชามติและได้ตั้งคณะกรรมธิการเพื่อจัดการเลือกตั้งแต่ก็ไม่ได้การยอมรับจากประชาน ที่ต้องการให้รัฐบาลเฉพาะกาลเป็นผูั้จัดการเลือกตั้งเมทือทางออกถูกปิดฃง ทหารก็เร่ิมส่งกำลังเข้าประจำการตามเมืองสำคัญต่างๆ ของเมียนมา ขณะเดียวกันก็มีข่าวลือว่ากองเรือสหรัฐอเมริการปรากฎตัวในน่านน้ำเมียนม่า

         18 กันยายน 1988 นายพลซอ หม่อง รัฐมนตรีและหัะวหน้เา เสนาธิการกองทัพนำคณะทหารภายใต้ชืิ่อสภาฟื้นฟูกฎและระเบียบแห่งรัฐ ประกาศยึดอำนาจ เพื่อสร้างระเบียบและความเรียบร้อยให้กับประเทศ...

         ข้อมูลบางส่วนจาก...SILPA-MAG.COM  ประวัติศาสตร์ "การลุกฮือ 8888 นักศึกษา-ประชาชน-พระในพม่า ร่วมขับไล่เผด็จการทหาร"

                                      ...The 101 World "จุดจมของ นายพลผู้ทำลายประเทศชาติ  โตมร ศุขปรีชา..

                                       "สังคมนิยมตามแบบพม่า"  โดย ชัยโขค จุลศิริวงศ์..        


           

วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2565

ฺBurma : religious conflict

           การเหยียดชาติพันธ์ุและศษนาที่มีความรุนแรงในปัุจจุบันกระทั้งเกิดปัญหา "โรฮิงญา" กล่าวได้ว่า
เป็นผลจากการตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ในขช่วงที่อังกฤษเป็นเจ้าอาณานิคม ได้มีชขาวต่างชาติเข้ามาในพม่าจำนวนมาก เช่น ชาวจีนและชาวอินเดียเป็นพิเศษ กล่าวว่าชาวอินเดียมีบทบาทสำคัญเพราะอังกฤษใช้ชาวอินเดียเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการดูแลพม่า อย่างในเขตหุบเขาตอนใต้ "South Valleys" ที่ถูกนับเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย การถูกชาวต่างชาติควบคุมดูแลในช่วงอาณษนิคมทำให้ชาวพม่าไม่พอใจ อีกทั้งยังมีควารมไม่เท่าเทียมและความโกรธแค้นจาการถูกกดขี้จากทั้งโครงสร้างสังคมและเศรษฐกิจ อย่างกรณีที่ชาวพม่าจำนวนมากได้กลายเป็นลูกหนี้ต่อระบบกู้ยืมเงินของชาวอินเีย ส่งผลให้ผุ้ที่ไม่สามารถาขำรีะหนี้คืนต้องสูญเสียที่ดินทำนาไป ความเกลี่ยดกลัวคนต่างชาตจิในปัจจุบันจึงเกิดขึ้นและบ่มเพาะม

          ความเกลียดชังนี้ส่งผลต่อชารวโรฮิงญาโดยตรนง เพราะถึงแม้บรรพบุรุษชาวโรฮิงญาจะเข้ามาตคั้งรกตากใสนพม่าตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 7 และมีบวามสัมพันธ์กับพมท่ามาหลายศตวรรษ แต่การที่ชาวดรฮิงญามีลักษณะทางกายภาพ ภาษา วัฒนธรรมและศาสนาที่คล้ายกับคนในแถบเอเซียใต้ ทำให้ชาวพม่าไม่เห็นพวกเขาเป็นชาวพม่าดั้งเดิมแต่กลับเห็นเป็นชาวบังคลาเทศและชชาวอินเดียที่อพยพข้ามาตอนช่วงอาณานิคม..

        ภายหลังได้รับเอกราช การเหยียดชาติพันธุ์ในพม่ยังได้รับการสนับสนุนจากนโยบายของรัฐบาลในปี ค.ศ. 1962 นายพลเนวิน อ้างความชอบธรรมจากปัญหาชนกลุ่มน้อยเข้ายึอำนาจรัฐบาสลอูนุ นายพลเนวินมีทัศนรคติกับชนกลุ่มน้อยในด้านลบและไม่ยอมรับการอยุู่ร่วมกันบนพื้นฐานวัฒนธรรมที่แตกต่าง ดูได้จากคพูดของนายพลท่านนี้ในวันที่ทำรัฐประหาร  เขาจึงใช้นดยบายวิถีพม่าสู่สังคมนิยม สร้างระบบที่รวมแนวคิดชาตินิยม สังคมนิยมและพุทธศาสนา ที่บอกว่าชนกลุ่มน้อยและชาวต่างชาติจะยึดครองพม่าหากไม่ถูกควบคุมโดยทหารและนโยบายกระบวนการทำให้เป็นพม่า ที่พยายบามท ี่จะลบอัตลักษณ์ของชาติพันะ์อื่นและคงไว้ซึ่งความเป็น"พม่า"่อย่างเดียว

            ในประเด็นศาสนา พุทธศาสนามีความสำคัญกับพม่ามาก ไม่ว่าจะในช่วงก่อนยุคอาณษนิคมพุทธศานามีอิทธิพลในทุกแง่มุมของชีวิต ไมว่าจะเป็นวิถีการดำเนินชีวิตการศึกษา สถานะทางสังคม ล้่วนถูกกำหนดโดยคำสอนทางพุทธศาสนร รวมถึงการปกครองก็ใช้หลักการทางพุทธศาสนา ในขณะเดียวกันพุทธศาสนาก็ได้รับการปกป้องจากชนชั้นปกครองเช่นกัน 

             ต่อมาในช่วงอาณานิคม พุทธศาสนากลับถูกลดความสำคัญลงเพราะมีการศึกษาแบบตะวันตกและศาสนาคริสต์เข้ามาใมนพม่า ทำให้เกิดความแตกแขกระหว่างคนพม่าที่เปลี่ยนเป็นศาสนาคริสต์และคนพม่าที่ยังศรัทธาในพุทธศาสนา ถึคงขนาดที่คนพม่าส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธกล่าวถึงคนที่เปลี่ยนศาาสนาว่าเป็น "disloyal citizens of the Buddhist of Burma" ถึงอิทธิพะลของพุทธศาสนาใในช่วงนี้จะถูกสั่นคลอน แต่พระสงฆ์ยังคงมี่บทบาทสำคัญทางการเมือง เพราะหลังจากที่ถุกลดบทบาทและคยวามศักดิ์สิทะิ์ลง พระสงฆ์ได้ออกมาต่อต้านแนวทางแบบตะวันตกและถกลายเป็นกำลังชาตินิยมทีั่สำคัญในการต่้อต้่านเจ้าอาณานิคมอย่าง เช่น พระสงฆ์ทีมีการปลุกระดมมวลชนเพื่อต่อต้านอังกฤษของพระสงฆ์ อู โอตตะมะ

          ภายหลังพม่ามีเอกราช พุทธศาสนาก็ได้รับการพลิกพื้นให้เป็นศูนย์รวมทางจิตใจและมีบทบาทต่อวิถีชีวิตชาวพม่าอีกครั้งส่งผลให้พระสงห์กลับมารเป็นผุ้นำทางจิตใจและผุถ้มีอิทธิพลทางวัฒนธรรมและการเมอืงอย่างเต็มข้ัน รวมถึงผลจากการใช้นโยบาย "บรูม่านิเซชั้น" ประชาชนจึงกำแพงต่อการเปิดรับความแตกต่างที่หนาขึ้น อีกทั้ง"การเหยียดชาติพันธุ์และศาสนนายังรุนแรงขึ้นอีกเพราะการเกิดขึ้นอุถดมการณ์พุทธศานา ชาตินิยมสุดโต่ง ตั้งแต่การเคลื่อนของพระอู วิระธู ผู้ขับเคลื่นขบวนการ 969 ซึ่งได้ถ่ายทอดและสั่งสอนอุดมการณ์ต่อต้านชาวมุสลิมและความเกลียดกลัวขาวต่างชาติให้แก่พุทธศาสนิกชนสร้างภาพลักษณ์ชาวมุสลิมให้เป็นศัตรู ด้วยความหวังที่จะคงไว้ซึ่ง "ความบริสุทธิ์ทางเชื ้อชาติอและศาสนา" ถึงแม้ว่าคำสั่งสอนของพระวีระธูจะแผงไปด้วยความเหยียดชาติพันธุ์และศาสนาและมีนัยยะทางการเมืองแร่ยัะงคงได้รับความเคารพศรัธทา ด้วยเหตุผลที่ว่าพระสงฆ์เป็นที่พึ่งทางใจและเป็นผู้ขี้นำสั่งสอนชาวพม่าที่นับถือศาสนาพุทธอันเป็นอัตลักษณ์ของชาวพม่าและเป็นสิ่งที่ฝั่งรากลึกในวัฒนธรรมและความเป็นชาติพม่าอีกทั้งความคิดเหยยดเชื้อชาติและศาสนาที่เป็๋นมรดกจากช่วงอาณานิคมและนโยบายของนายพลเนวินทำให้ขบวนการมีผุ้สนับสนุยนยจำนวนมาก...



          ่ข้อมูลบางส่วนจาก.."การเหยียดชาติพันธ์ุ่ ศาสนา ปัจจัยอุปสรรคสำคัญในการแก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญาในพม่า...สถาบันเอเชียศึกษา โดย กรกช เรืองจันทร์...


วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2565

ฺิิิืืืืืฺิิ้่่ีBurma : Ethnic

          พม่าประกอบขึ้นจากคนกลุ่้มใหญ่และถชนกลุ่มน้อย ซึ่งทั้งสองกลุ่มนี้่มีชาติพันธ์ที่แตกต่างกัน ชนกลุ่มใหญ่นั้นหมายถึงชนที่มีเชื้อสายพม่าโดยแท้ ส่วนชนกลุ่มน้อยประกอบขึ้นจากหลายกลุ่มชาติพนธ์ด้วยกัน โดยที่พม่าซึ่้งมีเชื้อชาติพม่าแท้มีเพียง กึ่งหนึ่งของประชากรทั้งหมด ที่เหลือเป็นพลเมองชาติพะนธ์อื่น เช่น ฉานหรือไทยใหญ่ มอญ กะเหรีียง คะฉิ่น ฉอ่ม คะย้า จนและแขกลดหลั่นกันตามลำดับ..กลุ่มชาติพันธ์เหล่านี้มาอยู่รวมกันในพม่า แต่ก็มีการแบ่งอาณาเขตคกันอยู่เป็นชาติพันธุ์ไป โดยที่แต่ละชาติพันธุ์ได้อยู่รวมกันเป็นรัฐและส่งตัวแทนไปร่วมรัฐบาลเพื่อปกครองประเทศที่กรุงย่างกุ้ง อย่างไรก็ตามกลุ่มชาติพันธ์ที่ต่างกันนี้ มีจำนวนน้อยกว่า ชาวพม่าแท้่และยังคงไม่สามารถรวมตัวได้ แม้ในปัจจุบันจะมีการตั้งไแนวร่วมแห่้งชาติประชาธิอไตย" เพื่อต่อต้านรัฐบาลกลาง แต่ก็ยังไม่มีอิทธิพลที่จะทำให้วัตถุปรสงค์ของกลุ่มบรรลุเป้าหมายได้ ดังนัี้นจึงถูกพม่าแท้่เข้าครอบงำทางการเมืองการปกครองกและพยายามกำหนดนโยบายของประเทศตามความต้องการของตัน ซึ่งเป็นสิ่งที่เพิ่มความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกลางกับชนกลุ่มน้อยที่มีอยู่เดิมแล้วให้ขยายวงกว้างออกไปอีก ความขัดแย้งระหว่างชนกลุ่มน้อยกับรัฐบาลพม่า นัีบเป็นปัญหาพื้นฐานของประเทศพม่ากระทั่งทุกวัีนนี้

       ในประวัติศาสตร์ก่อนการเข้ามาของอังกฤษ พม่าซึ่งมีอาณาจักรอยู่ในแถบลุ่มน้ำอิรวดี ได้ส่งกองทัพไปรบกับ "มอญ"ตอนใต้ "ฉาน"หรือไทยใหญ่ ทางตอนเหนือ และ "อารกัน" ที่ตั้งตัวเป็นใหญ่อยู่ทางตะวันตกติดกับอนิเดีย เพื่อขยายจัีรวรรดิของตน ความพยายามของชนพท่าประสบผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2327 เมื่อพรเจ้าโบดอพยาแห่ง ราชวงฯศ์ลองพญา สามารทำการยึคดครองอาณาจักรของพวกอารกันได้สำเร็จ ความขมขื่นและอาฆาตของชนกลุ่มน้อยก็เร่ิมปรากฎขึ้นในหน้าประวัติศาสตร์

         ความแตกแยกเพิ่มมากขึ้นเมื่ออังกฤษเข้ามาปกครองพม่า กล่าวคือ อังกฤษได้รับการต่อต้านจากผู้นำท้องถิ่นอย่างรุนแรง จนถึงขั้นต้องใช้กำลังทหารปราบปราม อังยังนำระบบการปกครองใหม่ไ เข้ามาใช้เพื ่อ ทำลายฐานอำนาจเดิม เช่น การยกเลิกระบบตำบลที่มำให้ผุ้นำท้องถ่ินมีอิทธิพลลง อังกฤษได้ตั้งหมู่บ้านขึ้นแทนและแบ่งเขตการปครองในตอนเหนือของพม่าตอนบน ออกเป็นเขชต ดดยมีข้าราชการอังกฤษเป็นผุ้เปกครอง และให้นำเอากฎหมายและระบบการศึกษาแบบบอังกฤษเข้ัามาใช้ด้วย และยังลดอิทธิพลของพระสงฆ์และทำลายศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการรวมชนพม่ามาโดยตลอด 

           ต่อมาอังฏษได้นำระบบปกครองแบบ "แบ่งแยกและปกครอง"(divice and rule)มาใช้เพื่อแยกชนกลุ่้ถมน้อยต่างๆ ทีมีเขตยึคดครอง ร้อยละ 45 ออกจากพม่าแท้ โดยให้กลุ่มต่างๆ ของชนกลุ้่มน้อยมีความเป็ฌนอิสระในการปกครองตคนเองภายใต้การดูแลของข้าเหลวงอังกฤษชนกลุ่มน้อยเช่น กะเหรี่ยงได้ก่อตั้งองค์กรแห่งชาติกะเหรียงขึ้นตม่เพื่อสร้า่งชาติกะเหรี่ยง และสร้างตัวแทนของกลุ่มเพื่อให้เข้าไปนั่งในสภาที่อังกฤษตั้งขึ้นเพือปกครองประเทศพม่า


         อังกฤษยังได้ส่งเสริมให้พวกชนตกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เข้ารมาสมัครรับราชการอยุ่ในกองทัพที่ยึดครองดินแดนอยู่นั้น ชนกลุ่่มน้อยได้อาสาเข้ารบในกองทัพอังกฤษ และอังกฤษได้ทำการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ให้ชนกลุ่้มน้อยซึ่งได้ผลมากที่สุดในการปครองในรูปแบบ "แบ่งแยกแล้วปกครอง" กล่าวคือ ชนกลุ่มน้อยนับถือ ศาสนาคริสต์ ชาวพม่านับถือศาสนาพุทธ

         ก่อนพม่าจะได้รับเอกราช ในตัวบทรัฐธรรมนูญของพม่าปี พ.ศ.2478 ได้มีการส่งเสริมความเป็นอิสระของชนยกลุ่มน้อยอย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ รัฐะรรมนูญได้ระบุไว้ว่า "พวกที่อาศัยอยู่ในเขตจำกัด (คือ พวกไทยใหญ่และพวกชาวเขา) จะคงอยู่ภายใต้การดูแลของข้าหลวงอังกฤษต่อไปจนกว่าพวกนี้ประสนงค์จะนำเอาเขตการปกครองของตนเข้าร่วมการปกครองกับพม่า ตามรูปแบบใดๆ ก็ไพด้ที่พวนี้จะยอม" ในลักษณะช่นนี้ และในหมูผู้ปกครองชาวอังกฤษในพม่าก็ได้พยายามส่งเสริมความเช ื่อของชนกลุ่มน้อยว่า การที่พวกเขาเชื่้อฟังอังกฤษและยินยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอัะงกฤษ จะทำใหรัฐบาลที่กรุงลอนดอนสนับสนุนุ์การรักษาเอกลักษณ์ของชาติพันธตน และจะได้เป็นรัฐเอกราช ความเชื่อเช่นนี้ได้ฝังใจชนกลุ่มน้อยมาโดยตลอดกระทั่งปัจจุบัน..และเมือ่ดินแดนทั้งหมดตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า จึุงเกิดการต่อต้านทันที..


      ข้อมูลบางส่วนจาก.."พื้ันฐานของปัุญหาความมั่นคงชายแดนไทย-พม่า" รศ.ดร.ชัยโชค จุลศิริวงศ์


วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Socialist Republic of the Union Burma

           หลังจกประกาศเอกราช ก็เกิดความแตกแขกทางการเมืองของกลุ่มชนหลายหลุ่ม อีกทั้งเศรษฐกิจตกต่ำ นายพลอูนุจึงต้องตั้งรัฐบาลรักษาการขึ้นภายมต้การนำของนายพล เนวินซึ่งปกครองประเทศอย่างเข้ารงวด แต่เขาก็ปรับปรุงบ้านเมืองและระบบราชการให้ทั้นสมัยขึ้น สามารถแก้ปัญหาของประเทศได้ทั้งการเมืองและเศรษฐกิจ ต่อมา นายพลอูนุกลับเข้ามารับตำแหน่งอีกครั้ง หลังจากการคืนอำนาจของนายพล เนวิน แต่แล้วรัฐบาลของนายพลอูนุก็บริหารประเทศล้มเหลวจึงถึงทำรัฐประหาร นายพลเนวินได้ กลับขึ้นมาบริหารประเทศอีกครั้ง ซึ่งรัฐบาลนี้เป็นรัฐบาลทหาร สร้างคึวามไม่พอใจให้แก่ประชาชนเป็นวงกว้าง และออกมาเรียกร้องประชาธิไตย แต่้รัฐบาลของ นายพลเนวยินก็ยังคงปกครองได้ย่า่งยาวนานถึง 26 ปี โดยใช้ระบอบสังคมนิยม และ ประกาศสถาปนา "สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า" (Socialist Republic of the Union Burma) ขึ้นโดยมีนายพลเนวินเป็นนายกรัฐมนตรีและัประธํานพรรคสวังคมนิยมพม่า

          ภายหลัง 26 ปีของการยึคดอำนาจจากนายพลอุนุ และดำเนินนโยบายกบจำศีลของพม่า นายพล เนวินประกาศสละตำแหน่งทางการเมือง เพื่อลดแรงเสียดทานทั้งในและต่างประเทศ โดยมีรัฐบาลใหม่บริหารประเทศ ซึ่งนายพลเนวินยังคงดำรงตำแหน่งประธานพรรค BSPP และกุมอำนสาจอยู่เบื้องหลังต่อไป



           ในปี ค.ศ. 1988  ภายใต้รหัส 8888 ซึ่งมาจากขบวนการต่อต้านรัฐบาลทหารออกมาประท้องและเดินขบวนในเมืองย่างกุ้ง และเมืองใหญ่ทั้งประเทศ รัฐบาลทหารพม่าเข้เาปราบปราม ในวันที่ 8 เดือน 8 ปี ค.ศ. 1988 เป็นเหตุให้มีผุ้เสียชีวิตและ หลบหนีเข้าป่าจำนวนมาก รัฐบาลทหารพม่าได้ประกาศจัดตั้เง "สภาพเพื่อการฟื้นฟูกฎหมายและความสงบภายในชาติ" ขึ้นเพื่อบริหารประเทศ และได้เปลี่ยนชขืิ่อประเทศใหม่เป็น"สาะารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์" (Union of Myanmar) ในปีเดียวกันนี้เองนางอองซาน ซูจี บุตรีของนรายพลออกซาน ได้เดินทางกลับมาพม่าพร้อมด้วยสามี่ชาวอังกฤษ เพื่อดูแลแม่ที่ป่วยหนัก และได้รวมกลุ่มจขัดตั้ง "พรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชารธิปไตย" ขึ้นเพื่อดำเนินกิจกรรมทางการเมือง

             ข้อมูลจาก ..บางส่วนจาก สาธารรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ รัฐสภา "กว่าจะมาเป็น...สาธารณรับแห่งสหภาพเมี่ยนมาร์"...

วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Aung Hcan

            โบโซะ อองซาน นัการเมือง. นักเคลื่อนไหวเพื่อเอกราชและนักปฏิวัติชาวพม่้า ผู้ก่อตั้งกองกำลังแห่งชาติพม่้า และได้ับการขนานนามให้เป็น บิดาแห่งรัฐพม่าสมัยใหม่ เขามีบทบบาทมากในการได้รับเอกราชของพม่้า แต่ถูกลอบสังหารราวหกเดือนก่อนที่พม่าจะได้รับเอกราช    อองซานทั้งก่อตั้งและมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากกักลุ่ถม

            ออกซานทั้งก่อตั้งและมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากกับกลุ่มและขบวนการทางการเมืองและเข้าใช้ชีวิตไปกับการศึกาาแนวคิดทางการเมืองต่างๆ ตลอด เข้าเป็นผุ้นิยมการต่อต้านลัทธิจักวรรดิ และเมื่อเป็นนักศึกษาได้เรียนรู้เกี่วยกับลัทธิคอมมิวนิสต์ และสังคมนิยม ต่อมาได้ศึกาาเกี่ยวกับวงไพบูลย์รวมแ่งมหาเอเซียบูรพาของญี่ปุ่นเมื่อครัี้งเป็นสมาชิกของกองทัพญี่้ปุ่น เขาได้รับการเลื้อกตั้งเป็นกรรมการระดับสูงของสานักศึกษามหาวิทยารลัยย่างกุ้งตั้งแต่ปีแรกที่เข้าเรียน และเป็นบรรณาธิการประจำหนังสือพิดมพ์มหาวิทยาลัย  ออกซานเข้ารวามประชาคมตะคินในปี 1938 ในตำแหน่งเลขาธิการ และต่อมาได้ก่อตั้งพรรคึคอมมิวสต์พม่า และพรรคสังคึมนิยมแห่งพม่า



           การปฏิวัติตะคีน..ในเดือนตุลาม ปี 1938 อองซานออ

กจากการศึกษานิติศาสตร์และเข้าสู่เวที่การเมืองระดับชาติ เขามีจุดยืนต่อต้านอังกฤษแและต่อต้านลัทธิจักวรรดิแอย่างมั่นคง เขาเข้าร่วมเป็นสมาชิกของ "ตะคีน((สมาคมเราชาวพม่า)"และเป็นเลขานุการ ขณะดำรงตำแหน่ง เขาได้มีส่วนช่วยจัดการชุถดการนัดประท้วงหยุดงาน  ต่อมาสมาคมเราชาวพม่าประกาศเจตจำนงที่จะใช้กำลังเพื่อล้มรัฐบาล ส่งผลให้ประชาคมถูกเพ่งเล๋็งและกำจัดโดยเจ้าหน้าที่รัีฐ ตำรวจใช้กำลังปราบปราม อองวานถูกจับกุมและคุมขังเป็นเวลา 15 วัน ฐานอั้งยี่และสมรู้ร่วมคึิดลัมล้างรัฐบาล แต่ต่อมาได้ถุกเพิกถอนข้อกลาวหา หลังถุกปล่อยตัวเข้าได้วางแผนการเพื่อขับเคลื่อนการได้รับเอกราชของพม่าดดยการเตรีียมจัดการนัดประท้วงหยุถดงานใหญ่ทั่วประเทศ การรณรงค์ไม่จ่ายภาษี และจัดความไม่สงบผ่านการรบแบบกองโจร..ออกซานร่วมก่อตั้งและเผ็ฯเลขาธิการประจำพรรคอมมิวนิสต์ฺพม่า ซ฿่งความสัมพันธ์ไม่ค่อยราบรื่น เข้าจึงเข้าและออกพรรคึถึงสองครั้ง ไม่นานหลังตั้งพรรค เขาได้ตั้เงองคึ์กรคล้ายคลึงกัน คือ "พรรคประชาปฏิวัติ หรือ "พรรคปฏิวัติพม่า" ซึ่งมีจุดยืนมาร์กซิสต์ มีเป้าหมายเดพื่อล้มล้างการปกครองของอังกฤษเหนือพม่ ต่อมาพรรคนี้กลายเป็นพรรคสังคมนิยมพม่าช่วงหลังสงครามโลกคร้งที่สอง..

          ในห้วงสงครามดลกครั้งที่สอง อองซานมีส่วนร่วมก่อตั้งองค์การชาตินิยมอีกแห่ง คือ กลุ่มเสรีภาพ ซึ่งเชื่อมการทำงานของตะคนไ สหพันธ์นักเรียนนักศึกษาพม่า. พระสงฆ์ที่มีความตื่นตัวทางการเมือง และพรรคยาจกของ ดร. บา มาว โดยมีเป้าหมายใช้ประโยชน์จากสงครามเพื่อให้พม่าได้รับเอกราช ซึ่งนำเอแบบอย่างในการดำเนินการมาจาก "กลุ่มก้าวหน้เา"ของอินรเดีย ซึ่งนำโดยไจันทระ โพส" 

          และต่อมาเข้าได้พบรกและสมรสกับ คหิน คะยิ ทั้งคู่มีลูกด้วยกันสี่คน หลังอองซานถภูกลอบสังหาร ภรรยาหม้ายได้บแต่งตคั้งเป็นทูตพม่าประจำอินเดีย และจากนั้นครอบครัวก็ย้เายออกจาพม่า ลูกคนที่อายุน้อยที่สุดทีมีชีวิตรอดคือ อองซานซูจีร ขณะเกิดเหตุลอิบสังหารอองซาน เธออายุเพียงสอบขวบเท่้านั้น ต่อมาอองซานซูจีได้ก้าวเข้าสู่การเมืองพม่าและเป็นบุคคลสำคัญในการเมืองพม่าจนกระทั้งเธอถูกรัฐประหารในปี 2021..

           (ข้อมูลจาก "วิกิพีเดีย")

           .ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่นยึดพม่าได้ อังกฤษได้ถอยไปอยู่ที่อินเดีย มีการจัดตั้งกองทัพแห่งชาติเพื่อทำการขับไล่อังกฤษ โดยมีญี่ปุ่นให้การสนับสนุน ญี่ปุ่นอ้างว่า จะให้เอกราชแก่พม่ากลุ่มตะซิ่นนำดดยอองซาน หาเชื่อไม่ แยกตัวออกมาจัดตัี้งองค์กรต์อต้านญี่ปุ่น โดยร่วมมือกัยอังกฤษ

           เมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 อังกฤษเข้ามาปกครองพม่าดังเดิม อังกฤษยอมเจรจากับอองซาน ยอมให้ชาวพม่าเข้ามาปกครองทั่วไป พม่า เครียมร่างรัฐธรรมนูญในปี ค.ศ. 1947 และมีการเลือกตั้งในปีเดียวกัน่ายที่ชนะการเลือกตั้งคือพรรค ที่นำโดยออกซาน ซึ่งออกซานดูกลอบสังหารพร้อมรัฐมนตรีอีก 8 คน อูนุุ กลายเป็นผู้นำทำการร่างนรัฐธรรมนูญ เจรจากับอังกฤษ จนได้รับเอกตาช และเป็นนายกรัฐมนตรีของพม่ามนวันที 4 มกราคม ค.ศ. 1947..

          (ข้อมูลจาก SILPA-MAG.COM "ศิลปวัฒนธรรม" วันนี้ในอดีต " 19 ก.ค. 1947 นายพลออง ซาน บิดาแห่งเอกราช วีรบุรุษของพม่า ถูกลอบสังหาร)..




Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...