วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Ethnicity in Middle East : III

            ยิว หรือที่เรียกว่าชาวยิวเป็นชนชาติและ " กลุ่มศาสนาพันธุ์" หน่ึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิราเอลหรือชนเผ่าฮิบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮิบรู ระบุวา ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอืนๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำขูและมีศาสนายูดาห์เป็นเคร่องยึดเหนี่ยวนี้เองทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงวามเป็นกุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชือสายยิวทั้งโลกมีกว่า สิบสี่ ถึง สิบเจ็ดล้านคน ซึงส่วนใหญ่อาศัยอูยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริกา

          คัมภีร์โตราห์ของศสนายูดาห์ (พระคริสธรรมคัมภีร์เดิม)ซึ่งเป็นคัมภีร์ศษสนาของชาวยิวหรือชาวฮิบรู กล่าว่าประวัติศาสตร์ของชาวยิวและศาสนานี้เร่ิมต้นที่ชายชื่อ อับราฮัม(นบีอิบรอฮีม) ซึ่งอาศัยอยู่ในเมืองคลาเดียบาบิโลน ณ ขณะนั้นเมืองสำคัญต่างๆ มีการนับถือรูปเคารพ และเทพเจ้าของตนเอง แต่อับราฮัมคิดว่าพระเจ้าที่แท้จริงจะมีเพียงพระองค์เดียว เขาได้พบพระเจ้าและพระอง๕ืทางให้อัมบราฮัมและครอบครัวออกเดินทางไปยังดินแดนแห่งพันธสัญญาที่พระองค์จะประทานให้เขาและเชื้อสายของเขา จึงเป็นุจุดเร่ิมต้นของเชื้อชาติอิสราเอล และศษสนาให่ที่รู้ว่ามีพระเจ้าพระองค์เดียว

          ไบเบิลและอัลกุรอานได้บอกเล่าเรื่องของชาวยิวหรือลูกหลานของอิสราเอลซึ่งเป็นบุตรของยิดซ์ฮาก(นบีอิสฮาก) บุตของอับราฮัมเรเ่ิมจากอับราฮัมได้ลูกชายตามที่พระเจ้าทรงประทานให้ที่กำเนิดกับนางซาร่าชื่อว่า อิสอัค(ไอเซค)ซึ่งต่อมาได้มีบุตร 2 คน คือ เอซาว และจาขอบ โดยเฉพาะจาขอบ (นบียะห์กูบ) ผู้เป็นน้องได้พบชายคนหนึ่งที่เปนีเอล เขามองไม่เห็นใบหน้าแต่ปลุ้ำสู้จนเกือบรุ่งสาง และจาขอบได้ถามชื่อบบุรุษผู้นั้นไม่ตอบ แต่เขาได้บอกว่าแต่นี้ต่อไปจาขอบจะได้ชื่อใหม่ว่า อิสราเอล ซึ่งมีความหมายว่าผู้ที่ปล้ำสู้พระเจ้า และก่อนที่จาขอบจะปล่อยชายคนนั้นไปจาขอบบอกว่า "โปรดอวยพรให้เขาก่อนและ้วจึงจะปล่อย" ซึ่งจาคอบมั่นใจว่าเขาได้พบพระเจ้า

 เชื้อสายจาขอบมี 12 คน หนึ่งในนั้นคือโยเซฟ(นบียูซุฟ) ไปอาศัยอยู่อาณาจักรของชาวอียิปต์ ต่อมาสถานการณ์การเมืองเปลี่ยนแปลงไปลูกหลานของจาขอบ(อิสลาเอล)ได้ถูกกขี่จนกระทั่งต้องกลายเป็นทาสรับใช้ถึง 400 ปี ช่วนั้นจะเรียกเชื้อสายอิสราเอลว่า "ฮิบรู" จนกระทั้ง "โมเสส"(นบีมูซา) ลูกชาวฮิบรูที่ได้รับการเลื้ยงดูโดยภรรยาของฟาโรห์จนกลายเป็นเจ้าชายแห่งอียิปต์ ได้รับบัญชาจาเกพระเจ้าให้ปลดแอกชาวยิวในอียิปต์โดยให้พาชาวอีสราเอลแหรืฮิบรู ออกเดินทางจากเมือง เพื่อกลับไปยังปาเลสไตน์แผ่นดินแห่งพันธสัญญา....

           ชนชาติอิสราเอลได้ก่อสร้างชาติจาชนเผ่าเชื้อสายของจาขอบหรืออิสราเอลทั้ง 12 เผ่า ช่วงนั้นจะเรียกว่า เลวี เบนยามิน และยูดาห์ กษัตริย์เดวิดก็กำเนิดในชนเผ่านี้ ชนชาติฮิบรูในช่วงที่มีกษัตริย์ได้ตกเป็นทาสของบาบิโลน และเปอร์เซ๊ย และหลังจากถูกับเป็นเชลยอยู่หลายปีได้เดิินทางกลับไปสร้างชาติอีกครั้ง จนมาถึงสมัยพันธสัญญาใหม่ กองทัพโรมหมาอำนาจของโลกได้เข้ายึดกรุง "เยรูซาเลม" ช่วงสุดท้ายก่อนอิสราเอลจะสิ้นชาติ พระคริสต์ได้ประสูติ และบอกว่าพระองค์คือบุตรของพระเจ้า จนนำไปสู่การตรึงกางเขนโดยสาวกของพระองค์ที่ชื่อว่า ยูดัส เอสคาริโอ

 ซึงในตอนนั้นก่อนที่ชนชาติอิสราเอลจะสิ้นชาติในปีคริสต์ศํกราช 70 ชาวอิสราเอล หรือ ฮิบรู ที่เชื่อในพระคริสจะถูกแยกออกจากชาวอิสราเอลที่นับถือลัทธิยูดาย ชาวอิสราเอลในตอนจนั้นเขาเชื่อว่าเขาคือชนชาติี่พระเจ้าเลือก และรู้จักพระเจ้า ชาวต่างชาติไม่สควรที่จะรู้พระเจ้าผู้สร้างผู้ยิ่งใหญ่ คำว่า "ยิว" จึงน่าจะเร่ิมมีการถูกเรียกกันในช่วงนั้น ซึ่งหมายเป็นเชิงต่อต้านพวกอิสราเอลใใในด้านความเชื่อ สังคม และอะไรๆหลายๆ อย่าง 

           หลังจากโรมทำลายกรุงเยรูซาเลมพังพินาศแล้ว ชาวอิสราเอลได้กระจัดกระจายไปสู่ที่ต่างๆ ซึ่งตรงตามพระคัมภีร์เขียนไว้ว่า ดาบจะไล่ตามหลังพวกยิว ส่วนดินแดนคานาอันแผ่นดินน้ำยึ่งและน้ำนมบริบูรณ์จะแห้งแล้ง และถูกเปลี่ยนมือหลายครั้งหลายคราไม่ว่า อาณาจักรโรม อาณาจักรคอนสแตนติน และกองทัพมุลิมเข้ายึดครอง สงครามแยงชิงแผ่น


ดินศักดิ์สิทธิ์นี้ผุ้ที่ตกเป็นเหยื่อจะเป็นชาวยิว เช่น สงครามครูเสด ในแต่ละครั้งชาวยิวได้ตกเป็นเชลยและถูกฆ่า และอพยพไปอยู่ในประเทศต่างๆ ทั้งในยุโรป เอเซีย และทวีปอเมริกา แต่ชาวยิวก็ยังยึดมั่นในพันธสัญญาระหว่างพวกเขาและพระเจ้า ว่า พระจเ้าจะนำพวกเขากลับไปยังดินแดนที่พระเจ้าเลือก คือ อิสราเอล

          ชาวยิวในประวัติศษสตร์ได้รับควาทุกข์ทรมารจากสงครามมากมายหลายครั้ง  ไม่ว่าจากกองทัพบาบิโลน เปอร์เซีย กองทัพโรม สงครามครูเสด แต่ครั้งที่สำคัญและโลกไม่สามารถชลืมความโหดร้ายได้คือ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ยิว ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง โอยฮิตเลอร์ และพรรคนาซี ซึ่งยิวถูกฆ่าไปทั้งหมดประมาณ 6.6 ล้านคน

       
  ในที่สุดความพยายามของชาวยิวที่จะก่อตั้งรัฐอิสระ ก็ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลอังกฤษซึ่งในตอนนั้นอังกฤษอิทธิพลในดินแดนปาเลสไตน์ อนุญาตให้ชาวยิวได้กลับเข้าไปในปาเลสไตน์อีกครั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งก็คือ ประเทศ"อิสราเอล"ในปัจจุบัน พวกเขาได้ใช้ข้อความในพระคัมภีร์ มาอ้างความเป็นเจ้าของซึ่งชนพื้นเมืองที่มีอยู่ก่อนคือชาวปาเลสไตน์และชาวอาหรับในละแวกนั้นไม่เห็นด้วย จนเกิดความรุนแรงทุกรูปแบบในการต่อสู้ให้ได้มาซี่งแผ่นดินแห่งนี้

           ที่น่าทึ่งคือพวกเขาก่อร่างสร้างเมือง เปลี่ยนทะเลทรายทีแห้งแล้งให้เป็นพื้นที่การเกษตรเขียวชะอุ่มตรงตามพระคัมภีร์ไบเบิ้ลที่บกว่าพวกเขาจะกลับมารวมชาติและทำให้ดินแดนนี้มีชีวิตอีกครั้ง ...


                                                                       ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย

                                                                       

วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Ethnicity in Middle East II

      ชาวเติร์ก ตุรกีเชื่อว่าบรรพบุรุษของเขาคือชนเผ่าเติร์กกลุ่มหนึ่งซึ่งชาวจีนเรียกว่า "ชาวถูเจี๋ย" ดินแดนของถูเจี๋ยในยุคราชวงศ์ยังเลยขึ้นไปทางตะวันตกเฉียงเหนือเล็กน้อย ถ้ามองจากแผนที่จะอยู่บริเวณด้านเหนือของทะเลทรายทากลามากัน ค่อนไปทางตะวันตก บทบาทและอิทธิพลของชาวเฟ่าถูเจี๋ยมีสูงมากในสมัยราชวงศ์สุยต่อมาเมือเปลี่ยนมาเป็นราชวงศ์ถัง ชาวถูเจี๋ยเป็นภัยคุกคามทางตอนเหนือย่างยิ่ง ถังไท่จง ฮ่องเต้ (หลีชื่อหมิน) ในเทโศบายผูกมิตรไว้ก่อนในช่วงแรกจนะมือรัฐบาลถงแช็.แรงพร้อมจึ้งก่อสงครามกับชาวถูเจี๋ยจนได้รับชัยชนะ ขับไล่ขาวถูเจี๋ยออกไปจากแดนซื่อวี๋ได้สำเร็จ



          ขาวถูเจี๋ยที่พ่ายศึกเดินทางผ่านเส้นทางสายไหม ผ่านยูเรเซียไปถึงที่ราบสูงอนาโตเลีย แล้วก็เป็นพรรพบุรุษของขาวเติร์กที่เป็นประเทศตุรกีในปัจจุบัน...

     (ข้อมูลเพ่ิมเติม : https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/2487512331205007712)

          ชาวเปอร์เซ๊ย เป็นกลุ่มชนอิหร่านที่มีประชากอาศัยอยู่ในประเทศอิหร่านมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ โดยมีระบบวัฒนธรรมคล้ายกันและพูดภาษาเปอร์เซ๊ยเป็นภาษาแม่ เช่นเดียวกันกับภาษาที่มีความใกล้ชิดกับภาษาเปอร์เซ๊ย

           ในอดีต ชาวเปอร์เซียโบราณอพยพไปยังภูมิภาคเปอร์ซิส ใน ศตวรรษที่ 9 ก่นคริสต์กาล ซึ่งปัจจุบันอยู่ในจังหวัดฟอร์สที่อยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอิหร่าน ในอดีตพกเขาเคยเป็นจักรวรรดิที่มีอำนาจมากที่สุดในโลก แล้วส่งอิทธิพลทางวัฒนธรรม การเมือง และสังคมไปทั่วดินแดนและประชกรในดโลกโบราณ ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ ชาวเปอร์เซียมีส่วนร่วมอย่างมากทั้งในด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์ วรรณกรรมเปอร์เซ๊ยเป็นหนึ่งในแนววรรณกรรมที่โดดเด่นที่สุดในโลก

          ในศัพท์แบบปัจจุบัน ผุ้คนซึ่งอาศัยอยู่ใอัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน ในปัจจุบันถูกเรียกเป็น ชาวทาจิก ในขณะที่กลุ่มชนในคอเคซัส (ส่วนใหญ่อยู่ในอาเซอร์ไบจาน และ สาธารณรับคาเกสถาน ประเทศรัสเซีย) แม้ว่าจะุูกดูดกลืนทางวัฒนธรรมไปแล้ว ถูกเรียกเป็นชาวดัต อย่างไรก็ตาม ในอดีต คำว่า "ทาจิก"กับคำว่า "ดัต"เป็นคำที่มีความหมายพ้องกันและสามารถใช้คำว่า "เปอร์เซีย"แทนกันได้  อิทธิพลเปอร์เซ๊ยนอกอิหร่านขยายทางตะวันออกเฉียงเหนือไปถึงเอเซียกลางกับอัฟกานิสถาน และทางตะวันตกเฉียงเหนือไปถึงคอเคซัส...     

            ชาวเคิร์ต เป็นกลุ่มชนอิหร่าน ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคบนภูเขาของเคอร์ติสถานในเอเซียตะวันตก ซึ่งกินพื้นท่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน ทางเหนือของอิรัก และทางเหนือของซีเรีย โดยมีดินแดนส่วนแยกของชาวเคิร์ดในอานาโตเลียกลาง โฆรอซอน และคอเคซัส เช่นเดียวกันกับสังคมชาวเคิร์ดพลัดถิ่นในเมืองทางตะวันตกของตุรกี (โดยเฉพาะอิสตันบูล) แะยุโรปตะวันตก (โดยเฉพาะในประเทศเยอรมัน) ประชาชกรชาวเคิร์ด มีประมาณ สามสิบถึง สี่สิบห้าล้านคน

         


  ชาวเคิร์ดพูดภาษาเคิร์ดและกลุ่มภาษาซาซา-โกรานี ซึ่งอยู่ในสาขาอิหร่านตะวันตกของกลุ่มภาษาอิหร่านในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

            หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 และการพ่ายแพ้ของจักรวรรดิออดโตมัน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ทำข้อกำหนดสำหรับรัฐเคิร์ดตาสนธิสัญญาในสามปีต่อมา เพราะมีการแบ่งดินแดนตามสนธิสัญญาโลซาน ทำให้ชาวเคิร์ตมีสถานะเป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศใหม่ทั้งหมด


                                                                 ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย. OGR Online บางส่วนจากบทความ "เพราะตุรกีถือวาอุยกร์เป็นเพี่น้อยเลือดเดียวกัน"

                             


วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Ethnicity in middle east : Arab

          " ตะวันออกกลาง" ในภาษาอังกฤษ น่าจะมีกำเนิดในคริสต์ทศวรรษ 1850 ที่สำนักงานอินเียของบริติช อย่างไรก็ตาม ศัพท์กลายเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายเมือนักยุทธศาสตร์ทางเรืออเมริกัน อัลเฟรด เธเยอร์ มาฮาน ใช้คำนี้ใน ค.ศ. 1902 เพื่อ "กำหนดพื้นที่ระหวา่งอาระเบียกับอนเดีย ในช่วงทีจักรวรรด์บริติชและรัสเซีย กำลังแย่งชิงอิทธิพลกันในเอเซียกฃลาง การแข่งขันนี้จะกลายเป็นทีรู้จักในฐานะ The Great Game มาฮาน ไม่เพียงตระหนักถึงความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของภูมิภาคนี้เท่านั้น แต่ยังตะรหนักถึงอ่าวเปอร์เซีย ศูนย์กลางของบริเวณนี้ด้วย เขาระบุพื้นที่รอบอ่าวเปอร์เซียเป็นตะวันออกกลาง และกล่าวว่าเป็นดินแดนที่สำคัญต่อคลองสุเอชของอิยิปต์ ซึ่งเป็นเส้นทางที่สำคัญที่สุดในการควบคมสำหรับอังกฤษ เพื่อป้องกันไม่ให้รัสเซ๊ยรุกคืบเข้ามายังบริติชราช


           ก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นเรื่องปกติที่จะอ้างถึงพื้นี่ที่มีศูนย์กลางรอบตุรกี เป็นชายฝั่งตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเป็น "ตะวันออกใกล้" ส่วน "ตะวันออกไกล" มีจุดศูนย์กลางที่จีน จากนั้นในช่วงปลายคริสทศวรรษ 1930 ทางอังกฤษ ได้จัดตั้งกองบัญชาการตะวันออกกลางที่มีศูนย์บัญชาการในไคโร สำหรับกองทัพในภูมิภาคนี หลังจากนั้น ศัพท์ "ตะวันออกกลาง" ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางทั้งในยุโรปและสหรัฐ โดยมีการจัดตั้งสถาบันตะวันออกกลางขึ้นที่ ดี.ซี. วอชิงตัน ในขณะที่ศัพท์ที่ไม่ได้อิงยุโรปเป็นศูนย์กลางอย่าง "เอซียตะวันตกเฉียงใต้" ก็มีการใช้อย่างประปราย

          ตะวันออกกลาง เป็นภูมิภาคทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ประกอบด้วย คาบสมุทรอาหรับ เอเซยน้อย (ตุรกีฝั่งทวีปเอเซีย ยกเว้น จังหวัดฮาทัย) เทรซตะวันออก (ตุรกีฝั่งุโรป) อียิปต์ อิหร่านกับลิแวนด์ (รวมอัชชามและไซปรัส) เมโสโปเตรเมีย (ปัจจุบันคือประเทศอิรัก) และหมู่เกาโซโดตรา(ส่วนหนึ่งของประเทศเยเมน) ศัพท์นี้เร่ิมมีการมช้งานอย่างแพร่หลายเืพ่อแทนที่คำว่า "ตะวันออกใกลเ้"(ตรงข้ามกับตะวันออกไกล) ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า "ตะวันออกกลาง" ทำให้เกิดความสับสนเกี่ยวกับคำจัำกัดความที่เปลี่ยนไป และบางคนมองว่าเป็นการเลือกปฏิบัติ หรือมีคววามเป็นยุโรปเป็นศูนย์กลางเกิดไป ภ๔มิภาคนี้ได้รวมดินแนส่วนใหญ่รวมอยู่ในคำจำกัดควาทที่เกีี่ยวข้องอย่างใกล้ขิดของเอเซียตะวันตก (รวมอิหร่าน) แต่ไม่รวมคอเคซัสได้ และรวมทพืนที่ทั้งหมดของอียิปต์(ไม่ใช่เพียงภูมภาคไซนาย) และตุรกี (ไม่ใช่เฉพาะส่วนเทรชตะวันออก

           ประเทศในตะวันออกกลางส่วนใหญ่ 13 จาก 18 ประเทศ) เป็นส่วนหนึ่งของโลกอาหรับ ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในภูมิภาคนี้คืออียิปต์ ตุรกี และอิหร่าน ส่วนประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดในตะวันออกกลาง ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลางสืบไปได้ถึงสมัยโบราณ โดยมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ของภูมิภาคที่ได้รับการยอมรับมานับพันปี 

           "อาหรับ" หรือ "ชาวอาหรับ" เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ส่วนใหญ่อยู่ในโลกอาหรับ คำว่า "อาหรับ" ในกลุ่มภาษาเซนิติก แปลว่า ทะเลทรายหรือผู้ที่อาศัยอยู่ในทะเลทราย (ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน) คำว่า "อาหรับ" จึงหมายถึง "เร่ร่อน" ได้ด้วย ในปัจุบัน คำนี้หายถึงผู้ที่าจากประเทศอาหรับซั่งมีภาษาพื้นเมืองเป็นภาษาอาหรับ ซึ่งแตกต่างจากคำจำกัดความดั้งเดิมที่มีความหมายครอบคลุมแต่ผู้สืบเชื้อยสายจากชนเผ่่าแห่งคาบสมุทรอาหรับ


           คำนี้ยังสามารถครอบคลุมถึงชนชาติที่พูดภาษาอาหรับทั้งหมดที่อาศัยอยู่ตั้งแต่ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของมอริเดเนีย ไปจนถึงแอฮ์วอซของอิหร่าน รวมถึงรัฐอาหรับในเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ แอฟริกาเหนือ จะงอยแอฟริกา หมู่เกาะในหาสุทรอินเียตะวันตก(รวมถึงคอโมโรส) และยุโรปไไต้( เช่น แคว้นชิชิบี มอลตา และคาบสมุทรไอบีเรีย) และประชากรจำนวนมากในทววีป อเมริกา ยุโรปตะวันตก อินโดนีเซีย อิสราเอล ตุรกี อินเดีย และอิหร่าน" 

                                                            ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย

วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Israel II

           คริสตศตวรรษที่ 7 ทั่วภูมิภาครวมทั้งเยรูซาเลม ถูกอาหรับที่เพิ่งเข้าอิสลมยึดครอง และเปลี่ยนแปลงระหว่าง รัฐเคาะลีฟะโ์รอซิดิน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะฮ์ ฟาดิมียะห์ เซลจุก ครูเซเตอร์ และอัยยูบิคในช่วงสามศตวรรษถัดมา

          ระหว่างการล้อมเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งที่ หนึ่ง(ครูเสด ครั้งที่ 1 https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/7978371754150860399) ผู้อยู่อาศัยในนครชาวยิวร่วมกันต่อสุู้เคียงบ่าเคียงไหลกับกำลังประจำ ที่ตั้งฟาดีมียะห์ และประชากรมุสลิมซึ่งพยายามปกป้องนครจากนักรบครูเสดอย่างไร้ผล เมื่อนครแตก มีผู้ถูกสงหารหมู่ประมาณ 60,000คน รวมทั้งยิวกว่า 6,000 คนที่ลี้ภัยในธรรมศาลาแห่งหน่ึ่ง ในเวลานั้นซึ่งล่วงเลยการล่มสลายของรัฐยิวมาครบ 1,000 ปี  มชุมชนยิวกว่า 50 แห่ง กระจายอยู่ทั่วประเทศ อลเบิร์ตแห่งอาเดน ระบุว่า ผู้อยู่อาศัยในไฮฟา  ชาวยิวเป็นกำลังสู้รบหลักของนคร และ "ปะปนกับทหารซาราเซ็น (ฟาดิมียะห์" พวกเขาต่อสู้อย่างกล้าหาญเกืบเดือนจนถูกกอบทัพเรือและทัพบกนักรับครูเสดบับให้ล่าถอย

          ปี 1165 ไม่นอนีติซ เยือนเยรู่ซาเลมและสวดภาวนาบนเนินพระวิหารใน "สถานศักดิ์สิทธิใหญ่

           ปี 1141 กวีชาวสเปนเชื้อสายยิว เยฮูดา ฮาเลวี เรียกร้องให้ยิวย้ายไปยังแผ่นดินอิสราเอลซึ่งเขาเดินทางไปด้วยตนเอง

            ปี 1887 สุลตานเศาะลาฮุดดีน พิชิตนักรบครูเสดในยุทธการ ฮัททิน และต่อมายึดเยรูซาเลมและปาเลสไตน์เกือบทั้งหมด ในเวลานั้น "เศาะลาฮิดดีน" ออกประกาศเชิญชาวยิวให้หวนคืนและตั้งถ่ินฐานในเยรูซาเลม และยูดาห์ อัลฮารีซีระบุว่า "นับแต่อาหรับยึดเยรูซาเลม ชาวอิสราเอลก็อาศัยอยู่ที่นั่น

            ปี 1211 ชุมชนชาวยิวในประเทศเข้มแข็งขึ้นเมืองกลุ่มยิวจากฝรั่งเศสและอังกฤษกว่าสามร้อยคนเข้ามา ซึ่งมี "แรมไบเซมซัน เบน อับราฮัมแห่งเซนส์"แนคแมนีติช แรบไปชาวสเปนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13และผู้นำชาวยิวที่รับรองและยกย่องแผ่นดินอิสราเอลอยางสูงและมองว่านิคมยิวเป็นข้อบัญญัติแน่นอนที่มีผลต่อยิวทุกคน เขาเขียนว่า "หากผู้มิใช่ยิวประสงสร้างสันติ เราจักสร้างสันติและปล่อยพวกเขาไว้บนเงื่อนไขชัดเจน แต่สหรับเรื่องแผ่นดิน เราจักไม่ยอมปล่อยให้ตกอยู่ในมือพวกเชา หรือในดินแดนของชาติใด ไม่ว่าในอายุคนใด"

           ปี 1260 การควบคุมภูมิภาคปาเลสไตน์ตกเป็นสุลต่านมัมลุกอิยิปต์ (https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/8356578481448851387

         ประเทศที่ตั้งอยู่ระหวางศูนย์กลางอำนาจของมัมลูกสองแห่ง คือ ไคโร และ ดามัสกัส และมีการพัฒนาบ้างตามถนนส่งจดหมายที่เชื่อมระหว่างสองนคร  เยรูซาเลมแม้ไม่มีการคุ้มครองจากำแพงนครไดๆ มาตั้งแต่ปี 1219 ก็มีโครงการก่อสร้างใหม่ๆ ที่ตั้งออยู่รอบมัสยิดอัลอักศอบนเนินพระวิหาร ในปี 1266 สุลต่านไบมาส์แห่งมัมลุกเปลี่ยนสภาพถำ้อัครบิดร ในฮีบรอนเป็นสถาที่คุ้มภัยของอิลามโดยเฉพาะและห้ามคริสต์ศษสนิกชนและยิวเข้า ซึ่งเดิมสามารถเข้าไดด้โดยต้องจ่ายยค่าธรรมเนียม คำสั่งห้ามีผลจนอิสราเอลเข้าควบคุมอาคารในปี 1967

          ในปี 1516 ภูมภาคนี้ถูกจักรวรรดิออกโตมัน พิชิต และอยู่ในการควบคุมของออตโตมันจนสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1  เมื่อบริเตนพิชิตกำลังออกโตมันและตั้งรัฐบาลทหารขึ้นปกครองทั่วอดีตออตโตมันซีเรีย 

           ปี 1920 ดินแดนดังกล่าวถูกแบ่งระหว่างบริเตนและฝรั่งเสสภายใต้ระบบอาณัติ และพื่นที่ที่บริเตนบรหารราชการแผ่นดินซึ่งรวมอิราเอลสมัยใหม่ได้ชื่อว่า ปาเลสไตน์ในอาณัติ..

          

                                                        ข้อมูลจาก วิกิพิเดีย...

            

วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Herod The Great

     ในปี 63 ก่อนคริสตกาลพวกโรมันได้บุกโจตีเยรุูซาเลมและตั้งฮีร์คานุสเป็นกษัตริย์ แต่ฮีร์คานุสไม่ได้ปกครองเอย่างเอกเทศ พวกโรมันได้เข้ามาและไม่ถอนอิทธิพลออกจากดินแดนนี้ ฮีร์คานุสกลายเป็นผู้นไประชาชนที่ต้องปกครองภายใต้อำนาจของโรม และต้องพึ่งการสนับสนุนจากโรมเพื่อรักษาพัลลังก์เอาไว้ เขาสามารถจะบริหารจัดการเรืองภายในได้ตามที่ต้องการ แตะในเรื่องความสัมพันธ์กับชาติอื่นๆ เขาจะต้องทำตามนโยบายของโรม 

      ฮีร์ดานุสเป็นผู้ปกครองที่ไม่เข้มแข็ง แต่เขาได้รับการสนับสนุนจากอันทิพาเทอร์ชาวอดูเมัยซึ่งเป็นบิดาของเฮโรดมหาราช อันทิพาเทอร์เป็ฯผู้มีำนาจที่ให้การช่วยเหลืออยู่เบื้องหลัง เขาสามารถควบคุมพวกยิวกลุ่มต่างๆ ที่คิดจะต่อต้านกษัตริย์ได้ และในไม่ช้าตัวเขาเองก็มีอำนาจเหนือยูเดียท้งหมด อินทิพาเทอร์ได้สอนลูกของตนว่าไม่ว่าจะทำสิ่งใดก็ตามต้องอยู่ในความเห็นชอบของโรม ซ่ึ่งเฮโรดก็ได้จำคำสอนนี้ไว้เป็นอย่างดี เฮโรดในวัย 25 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการ และกลายเป็นที่ชื่อชอบของทั้งชาวยิวและชาวโรมันเนื่องจากเขาได้ปราบปรามกองโจรทั้งหลายอย่างแข็งขันให้หมดไปจากเขตปกครอง

       43 ปีก่อนคริสตกาลอันทะพาเทอร์ถูกวางยาพิษ เฮโรดกลายเป็นผู้อนาจมากที่สุดในยูเดีย และก็มีศัตรุูด้วยเช่นกัน ขุนนางในเยรูซาเลมถือว่าเฮโรดเป็นผู้ช่วงชิงอำนาและพยายมเกลี้ยกล่อมให้โรถอดเขาออกจากตำแหน่ง ความพยายามนี้ล้ำมเหลว โรมยังเห็นคุณความดีของอันทิพาะเทอร์และชื่นชมควาสามารถของเฮโรด

       เกิดการแย่งชิงอำนาจในาชบัลลังก์ของฮัสโมเนียนในปี 40 ก่อนคริสตกาล ฝ่ายสนับสนุนอาริสโดบุสที่ต่อต้านโรมันก็ทำสำเร็จด้วยความช่วยเหลือจากชาวปาร์เทยซึ่งเป็นศัตรูของโรม และเป็นห้วงเวลาเดียวกันกับที่โรมเกิดความโกลาหลวุนวายภายในเนืองจากสงครามกลางเมือง พวกเขาฉวยโอกาสโจมตีซีเรย ถอดถอนฮร์คานุส และแต่งตั้งสมาชิกของราชวงศ์อัสโมเนียคนหนึ่งที่ต่อต้านโรมขึ้นครองอำนาจ

      เฮโรดได้หนีไปโรม และได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น โรมยังคงต้องการดินแดนยูเดียกลับคือนมาจึงแต่งตั้งเฮโรดเป็นกษัตริย์แห่งยูเดีย ด้วยความช่วยเหลือจากกอบทหารโรมัน เฮโรดเอาชนะศัตรูในยูเดียและวงบัลลังคืนมาได้เขาแก้แค้นผุู้ที่เคยต่อต้านอยางโหดเหี้ยม เขากำจัดราชวงศ์ฮัสโมเนียนและเหล่าขุนนางชาวยิวที่สนับสนุนราชวงศ์นี้ รวมั้งใครก็ตามที่ไ่พอใจจะอยู่ใต้อนาจผู้ปกครองที่เป็นมิตรกับโรม

       ในช่วงหลายปีหลังจากนั้น เฮโรดได้สร้างความมั่นคงให้กับอาณาจักรของตนโดยทำให้กรุงเยรูซาเลมกลายเป็นศูสย์กลงวัฒนธรรมกรีก เขาได้ริเร่ิมโครงการสร้างขนาดใหญ่ เช่น ราชวังหลายหลัง เมืองท่าซีซาเรีย และพระวิหารในกรุงเยรูซาเลม ที่ประกอบด้วยสิ่งก่อรสร้างใหม่ๆ ที่ใหญ่โตหรูหรา ตลอดช่วงเวลานั้ นโวบายของเฮโรดมุ่งเน้นที่การรักษาความสัมพันธ์กับโรมซึ่งเป็นขุมกำลังของตน..

            จักรวรรดิโรมัน สืบทอดการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปิก่อนคริสตกาล-ศตวรรษทิ่1 ก่อนคริสตกาล) ซึ่งอ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่าง ไกอุส มาริอุสแลุซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่าง จูเลิยส ซิซ่าร์ และ ปอมปิย์ 

           จักรวรรดิโรมันมิดินแดนในครอบครองมากมายทั้งในยุโรป และ ตะวันออกกลาง และเอเซิยไมเนอร์ประชาชนทั่วไปท่ิอาศัยอยู่ในจักรวรรดิโรมันเริยกว่า ชาวโรมัน และดำเนินชิวิตภายใต้กฎหมายโรมัน  มความรุ่งเรืองถึงขิดสุดในจักรพรรดิทราจัน ด้วยชัยชนะเหนือ ตาเซย(ปัจจุบันคือประเทศ โรมาเนิยและมอลโตวา และส่วนหนึ่งของฮังการ บัลแกเรยและยูเครน) อทธิพลของโรมันได้ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านภาษา ศาสนา สถาปัตยกรรม ปรัชญา กฎหมายและระบการเมืองมาจนถึงปัจจุบัน

             จักรวรรดิถูกแบ่งออกเป็นฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออกในสมัย จักรพรรดิไดโอคลเซยน ปละถือเป็นการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในช่วงเวลปิ ค.ศ. 476 เมื่อจจักรพรรดิโรมลุส เอากุสตุส จักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกถูกขับไล่และเกิดการจลาลจข้นในโรม อย่างไรก็ตาม จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือ จักรวรรดิไบแซนไทน์ ก็ได้รักษา กฎหมาย ขนบธรรมเนิยมประเพณิแบบ กริก-โรมัน รวมถึง ศาสนคริสต์นิกายออโธดอกซ์ไว้ได้อกสหัสวรรษต่อมา จนการล่มสลายเมือครั้งเสิยกรุงคอนสแตนติโนเปิล ให้กับจักรวรรดิ ออตโตมัน ใน ป 1453...

           

                              -                                ข้อมูล จาก วิกิพิเดีย


วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Israel

 


      Israel อิสลาเอลเป็นประเทศที่มีภูมิลักษณ์หลากหลายมีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก กรุงเทลาวีฟเป็นศุูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ที่ตั้งของรัฐบาลตามประกาศคือกรุงเยรูซาเล็มแม้ยังไม่ได้รับรองในระดับนานาชาติ..
     ในคัมภีร์อิบรู  ราชอาณาจักรอิสลาเอลเป็นหนึ่งในสองรัฐที่ก่อตั้งขึ้นหลังจากกษัตริย์ชาโลมอนสวรรคต นักประวัติศาสตร์มักใช้ชื่อว่า "อาณาจักรสะมาเรีย" เพื่อให้มีชื่อแตกต่างกับอาณาจักรยูดาห์ตอนใไต้
      ราชอาณาจักรอิสราเอลก่อตั้งใน 930 ปีก่อนคริสตกาลจน๔ุกพวกจักรวรรดิอิสซีเรยใหม่ยึดครองใน 720 ปีก่อนคริสตกาล มีเมืองสำคัญได้แก่ เซเคม.ทิรซาห์ และ สะมาเรีย
       คัมภีร์ฮบรูพรรณนาถึงอาณาจักรสะมาเรีย เป็นหนึ่งในสองรัฐที่สืบทอดต่อจากสหราชอาณาจักรอิสราเอล ซึ่งเคยถูกปกครองโดยกษัตริย์ดาวิดและซาโลมอนพระราชโอรส อีกแห่งคืออาณจักรยูดาห์ทองตอนใต้ อย่างไรก็ตามนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีไม่เชื่อเรืองราวที่มีอยู่พระคัมภีร์
       อาณาจักรต่างๆในดินแดนนี้มีหลายอาณาจักรปกครองผ่านเวลานับพันปี อาณาจักรที่สำคัญอาทิ
       อิสซีเรีย  เป็นอารยธรรมหลักในเมโสโปเตเมียโบราณที่เร่ิมต้นในฐานะนครรัฐในศตวรรษที่ 21 ก่อนคริสตศาสนาถึงศตวรรษที่ 14 แล้วพัฒนาเป็นรัฐอาณาเขตและกลายเป็นจักรวรรดิ์ในศตวรรษที่ 14 ถึง ศตวรรตที่ 7 ก่อนคริสต์ศักราช
         อาณาจักรบาบิโลนเนีย อารยธรรมของชาวบาบิโลนเนียได้พัฒนามาจากชาวสุมาเรียนซึ่งตั้งหลักปักฐานบริเวณแม่น้ำไทกรีส-ยูเฟรทีส(3,200-2,300ปีก่อนคริสตกาล)ซึ่งมีความเจริญมาก่อนหลายร้อยปี
         อัสซีเรียถือเป็นหนึ่งในสองอาณาจักรหลักร่วมกับ บาบิโลน ในตะวันออกใกล้โบราณ อัสซีเรียมีอำนาจสูงสุดในสมัยอัสซีเรียใหม่ โดยก    องทัพอัสซีเรียเคยเป็นกองทัพที่แข็งแกร่งที่สุดในโลกและเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่ในประวัติศาสตร์โลก กินพื้นที่ในอิหร่านทางตะวันออกถึงอียิปต์ทางตะวันตกในปัจจุบัน
                                                                                

        จักรวรรดิอัสซีเรียล่มสลายตอนปรลายศตวรรษที่ 7 กอ่นคริสตกาล อยางไรก็ตามวัณนธรรมและธรรมเนียมอัสซีเรยโบราณยังคงดำรงอยู่หลายศตวรรษ อัสซีเรียได้ทิ้งมรดกทางวัฒนธรรมอันยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะในจักรวรรดิอัสซีเรียใหม่สร้างความประทับใจในอัสซีเรียยุคหลัง กรีก โรมัน และวรรณกรรมกับธรรมเนียมทาศาสนาในภาษาฮิบรู
         บาบิโลนใหม่(อาณาจักรคาลเดีย) ในสมัยที่รุ่งเรื่องในยุคพระเจ้าเนบูคัดเนซซาร์ ได้ยกทัพไปพิชิตเมืองเยรูซาเรมและกวาดต้อนเชลยชาวยิวมายังกรุงบาบิโลน มีการสร้างพระราชวังขนาดใหญ่และวิหารบนฝั่งแม่น้ำยูเฟรตีสและเหนือพระราชวังมีการสร้างสวนลอยฟ้าเรียกว่า"สวนลอยแห่งบาบิโลนน"เป็นสิ่งมหัส

บาบิโลนใหม่

จรรย์ของโ่ลกในยุคสมัยก่อน มีการนำความรู้ทางการชลประทานทำให้สวนลอยเขียวทั้งปีมีความรู้ด้านดาราศาสตร์ แบ่งสัปดาห์ออกเป็น 7 วันแบ่งวันออกเป็น 12 คาบคาบละ 120 นาทีสามารถคำนวนเวลาโคจรของด้วยดวงอาทิตย์ในรอบ 1 ปีได้อยางแม่นยำพยาการณ์สุริยุปราคา ชาวคาลเดียนเป็นชาติแรกที่ริเริ่มนำเอาความรุ้ทางดาราศาสตร์มาทำนายโชคชะตาของมนุษย์อาณาจักรบาบิโลนใหม่ถูกกองทัพเปอร์เซียเข้ายึดครอง..
           จักรวรรดิ์เปอร์เซ๊ย เป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในยุคโลราณ และมารุ่งเรื่องที่สุดในยุคพระเจ้าดาไรอัสมหาราชผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นศ้ตรูคนสำคัญของอาณาจักรกรีกโบราณ ที่ตั้งเดิมของอาณาจักรในปัจจุบันอยู่ในอิหร่าน
           สมัยเฮลเลนนิสต์ เป็นสมัยที่เริ่มขึ้นหลังจากอเล็กซานเดอร์มหาราชได้รับชัยชนะต่อจักรวรรดิเปอร์เซ๊ย ในช่วงนี้อารยธรรมกรีกเจริญขั้นสุดทั้งในยุโรปและเอเซีย เป็นสมัยคาบเกี่ยว(สมัยของความเสื่อมโทรมสมัยของการใช้ชีวิตที่เกินเลย)ระหว่างความรุ่งเรืองของสมัยกรีกคลาสสิคกับความเร่ิมก่อตัวของจักรวรรดิ์โรมัน เป็นยุคหลังจากอเลกซานเดอมหารราชได้สวรรคต(อเลกซานเดอร์มหาราช
        จักรวรรดิซิลูซิต เป็นรัฐอารยธรรมกรีกที่ดำรงอยู่ระหว่าง 312-63ปีก่อนคริสตกาลสถาปนาหลังมีการแบ่งราชอาณาจักรมาแกโดนีของอเล็กซานเดอร์มหาราชใน 321 ปีก่อนคริสตกาล ซิลูซิสได้ครอบครอง

บาบิโลเนีย ก่อนขยายอำนาจไปทางตะวันออกเฉียงเหนือจนตรดแม่น้ำสินธุ ในยุคที่เจริญถึงขีดสุดครอบครองดินแดนตั้งแต่ อนาโตเลียกลาง ลิแวนด์ เมโซโปเตเมีย เปอร์เซีย เติร์กเมนิสถาน อัฟกานิถานไปถึงบางส่วนของปากีสถาน
         กบฎทัคคานี เป็นการกบฎของชาวยิวนำโดยกลุ่มัคคานีเพื่อต่อต้านจักรวรรดิ์ซิลูซิสและอิทธิพลของกรีกการกบฎช่วงหลังเกิดขึ้นระหว่าง 167-160 ปีก่อนคริสตกาลและจบลงเมื่อซิลูซิสเข้าควบคุมยูเดีย แต่ความขัดแย้งระหว่าง มัคคานี ชาวยิวเฮลิลนิสต์ และซิลูซิสยังดำเนินไปจนถึง 134ปีก่อนคริสตกาล 
         จุดเริ่มต้นของการกบฎเกิดจากการปราบปรามผู้นับถือศาสนายูดาห์ใน 168 ปีก่อนคริสตกาล สาเหตุไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดแต่เชื่อกันว่าอาจมาจากความขัดแย้งทางการเมืองที่มีความเชื่อเป็นองค์ประกอบ แอนดิโอคัส และเยรูซาเลม ตกอยู่ใต้อำนาจ ซิลูซัส สั่งห้ามประกอบพิธีทางศษสนายูดาห์และดัดแปลงพระวิหารที่สองให้เป็นศาสนาสถานของลัทธิผสาน กรีก-ยูดาห์ การปราบปรามนี้น้ำไปสู่การกบฎ และทัคคนีสามารถเป็นอิสระจากการปกครองของซิลูซิสมากขึ้นกระทั้งในปี141 กอ่นคริสตกาลสามารถขับไล่กรีกออกจากป้อมอะคราในเยรุูซาเลมได้าำเร็จและก่อตั้ง ราชวงแอสโมเนียที่ปกครองยูเดียจนถึง 37 ปีก่อนคริตกาลและ 6 ปีก่อนคริสตกาลสถาปนามณฑลยูเดียของโรมัน...
                                                             
                                                              แหล่งที่มาข้อมูล wikipidai

วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Thein Sein

            อองซาน ซูจี ถูกควบคุมตัวอยู่ 15 ปี ระหว่างปี 1989-2010 เมื่อรัฐบาลทหาร(เปลี่ยนือจาก"สลอร์ค"ในปี 1997) จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2010  พรรคึ NLD มีมติบอยคอตการเลือกตั้ง เพราะมองว่าเป็นการเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม แต่อย่างน้อยที่สุด หลังการเลือกตั้งปี 2010 และการขึ้นดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดี เต็ง เส่ง จากพรรค USDP พม่าก็มีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดี เร่ิมมีการแก้ไขกฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวกให้นักลงทุนทั้งภายในและภายนอกประเทศแต่ในด้านการเมืองและการจัดการความขัดแย้ง รัฐบาลฃเต็ง เส่ง ยังอยู่ีภายใต้การควบคุมของกองทัพ ซึ่งยังมีนายพล ตาน ฉ่วย ควบคุมใอยู่ อิทธิพลของกองทัพพท่าเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการก้าวสู่คงวามเป็นประชาธิปไตย...เมื่อการเมืองของประชาชนฝากความหวังไว้ที่ NLD มาโดยตลอด NLD จึุงเป็นพรรคการเมืองในฝั่งประชธิปไตยเพียนงพรรคเดียวที่พอจะสร้างความเปลี่ยนแปลงได้ และประชาชนเอง แม้จะเป็นในพื้นที่ของพรรคกลุ่มชาติพันธุุ์ ก็พร้อมใจกันเลือก NLD เข้าไป เมื่อมีการเลือกตั้งในปี 2012 เพราะเชื่อว่า แตกต่างและจะทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้นได้จริง การขาดพรรคการเมืองทางเลือก..ทำให้การเมือิงพม่าเป็นอัมาพาตเมือเกิดวิกฤตกีับพรรค NLD  และแนวโน้มในอนาคตคือกองทัพพท่าจะทำทุกวิถีทางเพื่อสกัดกั้นพรรค NLD...

            บทบาทที่โดเด่นของ อูเต็ง เส่ง ต่อพัฒนาการทางการเมืองในพม่าที่กล่าวได้ว่าอยุ่ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากการปกครองแบบเผด็จการทหาร มาเป็นประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ แม้อิทธิพลของทหารหรือกรอบคิดเก่าจะไม่จางหายไปง่ายๆ 

          แม้ว่า เต็ง เส่งจะมีจากการแต่งตั้งโดยผู้นำทางการทหารและ เป็นทหารผู้มีอิทธิพล ลำดับ 4 ของประเทศซึ่งหนีไม่พ้นที่จะถูกกล่าวหาว่าสนับสนัุนเผด็จการทหาร แต่ผลงานที่เด่นชัดและคึวามตั้งใจตที่จะนำพม่าออกจากระบอบเผด็จการทหาร ซึ่งได้ เต็ง เส่งเป็นนักเจรจรต่อรองในหลายระดับ พม่าจึงดำเนินไปในทิศทางที่ดีร นายพลเต็ง เส่งมีท่าที่ที่ชัีดเจนและจริงจังกับคำพูด ที่จะยกเลิกระบบเก่าและสร้างสังคมใหม่ อีกทั้งบทบาทของนักปฏิรูป ของ เต็ง เส่ง เด่นชัีดมาก

           ประธานาธิบดีเต็งเส่ง แห่ง พม่า แถลงทางวิทยุเมื่อวัีนที่ 2 มกราคม 2557 ว่าสนับสนุนก

ารแก้ไขรัฐธรรมนูญ 



          3 ม.ค.2557 สำนักข่าวอิระวดีรายงานว่าในการกล่าวสุนทรพจนร์ออกอากาศทางวิทยุประจำเดือนมกราคมของ ประธานาธิบดเต็งเส่งแห่งสาธารณรัีฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ หรือ ประเทศพม่า ประธานาธิบดีเต็ง เส่งกล่าวว่า "รัฐธรรมนูญที่มีความเหมาะสมนั้นจะต้องมีการแก้ไขเป็นระยะ เพื่อที่จะได้ตอบสนองความต้องการของชาติ เศรษฐกิจ และความจำเป็นทางสังคึามมขของพวกเรา

         "ข้าพเจ้าไม่ต้องการให้มีข้อกำนดที่จำกัดสิทธิของพลเมืองไม่ว่าบุคคลใดก็ตามที่จะขึ้นมาเป็นผู้นำประถเทศ" เขากล่าว "ในขณะเดียวกัน พวกเราต้องการมารตรการที่เหมาะสมเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชาติและอธิปไตย" (รัฐธรรมนูญแบับเก่าที่บัญญัติไว้มีผลทำให้ ออง ซาน ซูจี ซึ่งมีสามีถือสัญชาติอังกฤษ และบุตรสองคนถุือเป็นพลเมืองต่างชาติ ไม่สามารถขึ้นเป็นประธานธิบดีได้) 

         เต็ง เส่ง กล่าว่า เขาเชื่อว่ามีความจำเป็นในการแก้ไขรัฐธรรมานูญเพื่อความปรองดองแห่งชาติ นอกจากนี้เขายังต้องการทำสัญญาหยุดยิงทั่วประเทศกับกองทัพของกลุ่มชาติพันธุ์? หลังจากผ่านสงครามหลายทศวรรษ...และกล่าวว่า "การเจรจาทางการเมือง มีความจตำเป็นสำหรัีบกระบวนการปรองดองแห่งชาติ และเป็นรากฐานของกระบวนการสันติภาพแห่งชาติ ซึ่งความจำเป็นต้องแก้ไขหรือทบทืวนรัฐธรรมนูญ" ต่อข้อเรียกร้องของกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า เต็ง เส่งเตือนหากเรียกร้องจนเกิดรงรับ อาจเผชิญทางตัน จึงขอให้ทุกฝ่ายร่วมกันประคับประคอง "อย่างไรก็ตาม ข้พเจ้าอยากกล่าวว่า หากข้อเรียกร้องทางการเมืองขบองสาธารณะชนหญ่เกิดกว่าที่ระบบการเมืองปัจจุบันจะรองรับได้พวกเราก็จะเผชิญกับทางตคันทางการเมือง ถ้าสิ่งที่เกิดขึ้น เราก็จะเสียเสรีภาพทางการเมืองที่เราได้บรรลุมาไปทั้งหมด ข้าเจ้าอยากจะเตือนพวกเราทุกคนให้ช่วยกันประคับประคองสถานการณ์นี้ด้วสยความห่วงใยและใช้ภุมิปัญญา"

         รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของพม่า กำหนดให้ที่นัี่งในรัฐสภาพร้อยละ 25 ให้กับตัวแทนจากกองทัพ ขณะเดียวกันพม่าจะมีการเลือกตั้งทัี่วไปใน พ.ศ. 2558  ซึ่ง ออง ซาน ซูจีร แสดงความประสงค์ที่จะลงสมัครเป็นประธานธิบดี โดยเธอเคยกล่าวว่าพรรคอาจจะคว่ำบาตรการเลือกตั้งหากไม่มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตามล่าสุดพรรค NLDได้แถลงว่า จะลงชิงชัยการเลือกตั้งไม่ว่าจะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญหรอไม่ก็ตาม

        ในการเลือกตั้งซ่อมปี 2555 ทำให้อองซาน ซูจีชนะเลือกตั้งได้เป็น ส.ส. นั้น พรรค NLD ชนะเลือกตั้ง 41 เขต จากทั้งหมดที่มีการเลือกตั้งซ่อม 43 เขต

       ในวันที่ 31 ธ.ค. ประธานาธิบดีเต็งเส่ง ได้ลงนามคำสั่ง  ซึ่งเป็นคำสั่งอภัยโทษให้กับนักโทษการเมืองในพม่า และยกเลิกการดำเนินคดีแก่ผุ้ที่ถูกฟ้องร้องกล่าวหาตามความผิดของกฎหมายวต่างๆ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยการรวมตัวสมาคมอย่างผิดกฎหมาย, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.122 ฐานทรยศ. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม. 124 ฐานปลลุกระดม, กฦฎหมายว่าด้วยการป้เองกำันรัฐจากการบ่อนทำลาย,กฎหมายว่าด้วยการชุมนุมและการเดินขบวนอย่างสันติ, ประมวลกฎหมายวงิธีพิจารณาความอาญา ม. 505 ว่าด้วยการกระทำที่ขัดกับผลประโยชน์สาธารณะ, และกฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉิน ค.ศ. 1950 โดยให้ผุ้ที่ต้องคำพิพากษาแล้วให้ได้รับการอภัยโทษ.ให้ทุกคดีที่กำลังดำเนินคดีในขันศาล ให้มีการยุตคิการพิจารณาคดีทันที และให้ทุกคดีที่กำลังอยู่ในขั้นสอบสวน สิ้นสุดการสอบสวนทันทีดดยไม่มีมาตการเพ่ิมเติมใดๆ ออกมา่....

      

          ข้อมูลบางส่วนจาก...มติชนออนไลน์ ลิลิตา หาญวงษ์ "33 ปี พรรค NLD ไปต่อหรือหุดแค่นี้"

                                          ประัชาไท "ผู้นำพม่า "เต็ง เส่ง" หนุนแก้ไข รธน. ให้ "ออง ซาน ซูจี" ลงสมัครประธานาธิบดีได้

                                          "เต้นเซน" วิกิพีเดีย

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...