วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Israel II

           คริสตศตวรรษที่ 7 ทั่วภูมิภาครวมทั้งเยรูซาเลม ถูกอาหรับที่เพิ่งเข้าอิสลมยึดครอง และเปลี่ยนแปลงระหว่าง รัฐเคาะลีฟะโ์รอซิดิน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะฮ์ ฟาดิมียะห์ เซลจุก ครูเซเตอร์ และอัยยูบิคในช่วงสามศตวรรษถัดมา

          ระหว่างการล้อมเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งที่ หนึ่ง(ครูเสด ครั้งที่ 1 https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/7978371754150860399) ผู้อยู่อาศัยในนครชาวยิวร่วมกันต่อสุู้เคียงบ่าเคียงไหลกับกำลังประจำ ที่ตั้งฟาดีมียะห์ และประชากรมุสลิมซึ่งพยายามปกป้องนครจากนักรบครูเสดอย่างไร้ผล เมื่อนครแตก มีผู้ถูกสงหารหมู่ประมาณ 60,000คน รวมทั้งยิวกว่า 6,000 คนที่ลี้ภัยในธรรมศาลาแห่งหน่ึ่ง ในเวลานั้นซึ่งล่วงเลยการล่มสลายของรัฐยิวมาครบ 1,000 ปี  มชุมชนยิวกว่า 50 แห่ง กระจายอยู่ทั่วประเทศ อลเบิร์ตแห่งอาเดน ระบุว่า ผู้อยู่อาศัยในไฮฟา  ชาวยิวเป็นกำลังสู้รบหลักของนคร และ "ปะปนกับทหารซาราเซ็น (ฟาดิมียะห์" พวกเขาต่อสู้อย่างกล้าหาญเกืบเดือนจนถูกกอบทัพเรือและทัพบกนักรับครูเสดบับให้ล่าถอย

          ปี 1165 ไม่นอนีติซ เยือนเยรู่ซาเลมและสวดภาวนาบนเนินพระวิหารใน "สถานศักดิ์สิทธิใหญ่

           ปี 1141 กวีชาวสเปนเชื้อสายยิว เยฮูดา ฮาเลวี เรียกร้องให้ยิวย้ายไปยังแผ่นดินอิสราเอลซึ่งเขาเดินทางไปด้วยตนเอง

            ปี 1887 สุลตานเศาะลาฮุดดีน พิชิตนักรบครูเสดในยุทธการ ฮัททิน และต่อมายึดเยรูซาเลมและปาเลสไตน์เกือบทั้งหมด ในเวลานั้น "เศาะลาฮิดดีน" ออกประกาศเชิญชาวยิวให้หวนคืนและตั้งถ่ินฐานในเยรูซาเลม และยูดาห์ อัลฮารีซีระบุว่า "นับแต่อาหรับยึดเยรูซาเลม ชาวอิสราเอลก็อาศัยอยู่ที่นั่น

            ปี 1211 ชุมชนชาวยิวในประเทศเข้มแข็งขึ้นเมืองกลุ่มยิวจากฝรั่งเศสและอังกฤษกว่าสามร้อยคนเข้ามา ซึ่งมี "แรมไบเซมซัน เบน อับราฮัมแห่งเซนส์"แนคแมนีติช แรบไปชาวสเปนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13และผู้นำชาวยิวที่รับรองและยกย่องแผ่นดินอิสราเอลอยางสูงและมองว่านิคมยิวเป็นข้อบัญญัติแน่นอนที่มีผลต่อยิวทุกคน เขาเขียนว่า "หากผู้มิใช่ยิวประสงสร้างสันติ เราจักสร้างสันติและปล่อยพวกเขาไว้บนเงื่อนไขชัดเจน แต่สหรับเรื่องแผ่นดิน เราจักไม่ยอมปล่อยให้ตกอยู่ในมือพวกเชา หรือในดินแดนของชาติใด ไม่ว่าในอายุคนใด"

           ปี 1260 การควบคุมภูมิภาคปาเลสไตน์ตกเป็นสุลต่านมัมลุกอิยิปต์ (https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/8356578481448851387

         ประเทศที่ตั้งอยู่ระหวางศูนย์กลางอำนาจของมัมลูกสองแห่ง คือ ไคโร และ ดามัสกัส และมีการพัฒนาบ้างตามถนนส่งจดหมายที่เชื่อมระหว่างสองนคร  เยรูซาเลมแม้ไม่มีการคุ้มครองจากำแพงนครไดๆ มาตั้งแต่ปี 1219 ก็มีโครงการก่อสร้างใหม่ๆ ที่ตั้งออยู่รอบมัสยิดอัลอักศอบนเนินพระวิหาร ในปี 1266 สุลต่านไบมาส์แห่งมัมลุกเปลี่ยนสภาพถำ้อัครบิดร ในฮีบรอนเป็นสถาที่คุ้มภัยของอิลามโดยเฉพาะและห้ามคริสต์ศษสนิกชนและยิวเข้า ซึ่งเดิมสามารถเข้าไดด้โดยต้องจ่ายยค่าธรรมเนียม คำสั่งห้ามีผลจนอิสราเอลเข้าควบคุมอาคารในปี 1967

          ในปี 1516 ภูมภาคนี้ถูกจักรวรรดิออกโตมัน พิชิต และอยู่ในการควบคุมของออตโตมันจนสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1  เมื่อบริเตนพิชิตกำลังออกโตมันและตั้งรัฐบาลทหารขึ้นปกครองทั่วอดีตออตโตมันซีเรีย 

           ปี 1920 ดินแดนดังกล่าวถูกแบ่งระหว่างบริเตนและฝรั่งเสสภายใต้ระบบอาณัติ และพื่นที่ที่บริเตนบรหารราชการแผ่นดินซึ่งรวมอิราเอลสมัยใหม่ได้ชื่อว่า ปาเลสไตน์ในอาณัติ..

          

                                                        ข้อมูลจาก วิกิพิเดีย...

            

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

“rural resentment.”

         บางส่วนจากบทสัมภาษณ์  Jon K. Lauck  ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งมหา วิทยาลัยเซาท์ดาโกตา ซึ่งได้คิดค้นสาขาการศึกษาเก...