การเมืองพัฒนาแล้วอาชีพนี้มีบทบามสำคัญอย่างในการทำงานทางกรเมือง โดยเฉพาะ การวางกลยุทธ์เลือกตั้งในช่วงหาเสียง
หนึ่งในคนที่ฝันนและเลือกทำงานในสายอาชีพนี้ จากประสบบกาณ์การเมืองเร่ิมถุกปัหมุดมกาข้นในฐานะหัวหน้าทีมสื่อสารทางการเมืองซึ่งชนะเลือกตั้งแบบ "แลนด์สไลด์" ในนามเมืองหลวงแบบไม่เคยมีใครทำได้มาก่อน หลังเลือตตั้งผ่านไป เขาได้ทุนศึกษาดูงานการเมืองที่สหรัฐอเมริกา และได้รับข้อเสนอให้ทำงานในฐานะ "นักยุทธศาสตร์การเมือง" ขององค์กรภาคประชาสังคมฝ่ายก้าวหน้าแห่งหนึ่งที่นิวยอร์ก โดยมีความท้าทายสำคัญคือ การเลือกตัึ้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่จะมีขึ้น ได้วิเคราะห์กลยุทธของพรรคการเมืองต่างๆ และกล่าวถึงปรากฎการ์ใหม่ของการวางกลยุทธ์การเมืองทั้งในและต่างประเทศ
เขากล่าวว่า "...ในภาพใหญ่มีการทำงานทางเมืองสามรุปแบบเิดขึ้นพร้อมๆ กัน ซึ่งเป็นเรื่องที่น่า่ตื่นเต้นมา แบบที่หนึ่งคือ "การเมืองบ้านใหญ๋" ซึ่งยังสำคัีญในหลายพื้นที่ แบบที่สองคือ "การเมืองเชิงนโยบาย" และแบบที่สามคือ "การเมืองเชิงคุณค่า" การเมืองแต่ละรูปแบบมองความสัมพันธ์ระหว่างพรรคการเมืองนักการเมืองแต่ละรุปแบบมองความสัมพันธ์๋ระหว่างพรรคการเมืองนักการเมืองและผุ้มีสิทธิเลือกตั้งแตกต่างกัน ซึ่งส่งผลให้การทำแคมเปญหาเสียงต่างกันด้วย
"การเมืองบ้านใหญ่" มองผุ้มีสิทธิเลือกตั้งแบบเครือช่วยอุปถัมภ์ นักการเมืองมีหน้าทีที่ต้องดุแลประชาชนในพื้นที่เพื่อแลกกับคะแนนเสียง ความสัมพันะ์แบบนี้ไม่ใช้เรื่องถุกหรือผิด เพราะสังคมไทยมีปัญหาจำนวนมากที่คนประสบพบเจอ แต่รัฐกลับไม่ทำหน้าี่ได้อย่างที่ควรจะเป็น จึงเกิดข่องว่างให้คนที่มีทักษะ อำนาจ ลบารมีเข้าไปเป็นตัวกลางในการแก้ไขปัญหาให้ชาวบ้าน ส่วน "การเมืองเชิงนโยบาย" มองประชาชนเป็นลุกค้า จุดเดนของการเมืองเชิงนโยบายคือ การตีโจทย์ว่าประชานมีปัญหา แล้วคิดนดยบายไปนำเสนอให้ตรงใจที่สุดเพื่อให้ประชาชนเลือก และแบบที่สามคือ "การเมืองเชิงคุณค่า" ซึ่งไม่ใช่แค่เรื่องอุดมการณืเท่านั้น แต่ยังรวมไปึงคุณค่าใีความหมายกว้างด้วย เช่น ความตรงไปตรงมา ความมั่นคง ความโผงผาง ความสู้สุดทาง เป็นต้น จุดเด่นของการเมืองเชิงคุณค่าคือ การมทืองผุ้มีสิทธิเลือกตั้งเป็น "ผุ้สร้างความเปลี่ยนแปลง" คือ มองผุ้มีิสิทธิเลือกตั้งเหมือนคนมาม็อบ วิธีหาเสียงก็คือการส่งเสริม ให้คนมาช่วยเผยแพร่ชุดคุณค่าบางอย่างร่วมกัน
การเเมืองทั้งสามแบบไม่ได้แยกขาดจากกัน เพราะการเลือกตั้งเป็นเกมแบบมีคนได้ คนเสีย ถ้าพรรคไหนมีคะแนนเสียงเพิ่มขึ้น แดงว่าต้องมีพรรคที่เสียคะแนนไป ถ้าคุณทำแต่การเมืองเชิงนดยบาย หรือการเมืองเชบิงคุณค่าอย่างเดียว คุณก็ไม่มีทางชนะ ในบงพื้นที่ ผุ้สมัครฯ ก็ต้องหาวิะีการทำงานการเมืองที่มอบบริการให้เหมือนที่การเมืองบ้านใหญ่ให้บริการ การเลือกตั้งจึงไม่ใช้การเลือกเล่นเกมที่ตัวเองถนัดที่สุด แต่โครงสร้างเศราฐกิจและสังคมไทยบังคับให้แต่ละพรรคต้องเล่นการเมืองทุกรูปแบบ และไครเล่นการเมืองสามรูปแบบนีิ้รวมกันได้ผลลัพธ์ดีที่สุด คนน้นจะมีโอกาสชนะมากที่สุด...
... "เลี้ยงทหารพันวัน ใช้งานวันเดียว" การเลือกตั้งคือเรื่องนี้และเวทีหาเสียงค่ือการเอาทรัพยากรที่ตนเองสั่งสมมาประลองกัน เอาเข้าจติง ทางเลอืกหรืความได้เปรียบทากลยุทธใดๆ ในช่วงเลือกตั้งแทบไม่ได้เกิดจากการแก้เแมในช่วงเวลาเลือกตั้ง แต่คือการวัดกันว่าคุณมีของที่สะสมไว้ในมือมากน้อยแค่ไหน และคุณสามารรถเลือกใช้เพื่อตอบโจทยืสถานการณ์ได้ หรือ การทำงานยุทธศาสตร์การเมืองการออกแบบแคมเปยทางการเมืองท้งระบบ เืพ่อให้เมือถึงวันจริงแล้ว พรรคมีทางเลือกในการหาเสียงที่จะทำให้ได้เปรียบที่สุด คล้ายกับนักกีฬาที่เล่นในสนามแค่ไม่กี่ชั่วโมง แต่ใช้เวลาเป็นปีเพื่อสะสมแทกติกและฟิตสภาพ
ร่างกายให้พร้อมในการแข่งมากที่สุด
ทั้งนี้ได้กล่าวถึงแคมเปญที่น่าสนใจของพรรคการเมืองหนึ่ง ว่า "...เป็นแคมเปญที่ถุกออาเบบตั้งแต่ตั้นว่าอยากส่งเสริมให้คนมีส่วนร่วม ดยส่งสัญญาณให้ผุ้สนับสนุนพรรคกตาระหนักว่า เขาสามารถทำอะรบางอย่างงเพื่อช่วยเหลือพรรคได้ ตัีวอย่างรูปะรรมในกรณีนี้คือแคมเปญ 300 นโยบายที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ จุดเด่นของแคมเปญนี้คือ การนำเสนอ "แพลตฟอร์นดยบาย" ที่เปิดโอกาสในคนสามารถไปค้นหาสิ่งที่อยากเห็นและสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของตัวเองได้ ใครชอบอันไหนก็ึงไปต่อยอดในโซเชียลมีเดียส่วนตัวการทำแพลตฟอร์มนดยบายทำให้พรรคไม่ต้องเหนื่ยกับการคิดกลยุทธ์การสื่อสารในโซเซียลมีเดีย เพราะท้านทีุ่ดแล้วไม่มีกลยุทธ์ไหนสามารถสู้คอนเทนต์ที่ผุ้บริโภคเป็นคนสร้างได้ user-generated content..
ต่อคำถามที่ว่า - ในอดีตคุรเคยพูดถึงบทบาทของบิ๊กดาต้าและโซเซียลมีเดัยกับการเลือกตั้งไว้อย่างน่าสนใจ แต่ทุกวันนี้แพลตฟอร์มก้เปลี่ยนไปพอสมควร "เฟสบุ๊ค" ไม่ใช่ข่องทางหลัีกในการสื่อสารทางการเมืองอีกต่อไป ดีเบตทางการเมืองย้ายไปอยุ่ใน "ทวิตเตอร์" ในขณะที่ "ติก ตอก"ก็กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น ตอนนี้ภุมิทัศน์การสื่อสารการเมืทองในปัจจุบันเป็นอย่างไร..
เขาตอบว่า.." ในต่างประเทศ คำทำงานยุทธศาสตร์การเมืองให้ความสำคัญกับโซเชียลมีเดียน้อยลงมาก หัวใจของข้อถกเถียงในเรื่องนี้คือ เราความองว่าโซเชีลมีเดียเป็น "สารตั้งต้น (เป็นเหตุ) หรือ "ผลลัพธ์" ของกระแสทางการเมือง ในภุมิทัศน์ที่โซเซีลมีเดียมีความหลากหลายขึ้น แต่คนรับสื่อมีเวลาใช้ชีวิต 24 ชัวโมงเท่าเดิม สิ่งที่เกดขึ้คือคนต้องแบ่งเวลาในการรับสื่อจากแต่ละแพลตฟอร์ม ดังนั้น ต้นทุนในการทำให้ตัวเองถุกเห็นในทุกแพลตฟอร์มก็แพงขึ้นและยากขึ้น ดังนั้น การทำงานยุทะศาสตร์การเมืองจึงมีแรงจุงใจที่จะก้าวข้ามโซเซียลมีเดีย และมองหาวิธีการสื่อสารใหม่ๆ ที่ใครๆ ก็เข้าถึงได้ และให้โซเซียลมีเดียเป็นภาพสะท้อนของกระแสมากกว่า พุดง่ายๆ คือ คุณทำคอนเทนต์ที่เป็นสารตั้งต้นขึ้นมา ถ้าคนชอบเดี๋ยวเขาจะเอาไปลงต่อยอดในโซเซียลมีเดียของตัวเอง "นิวยอร์ก ไทม์ และ วอชิงตันโพสต์" เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องนี้สื่อสองเจ้านี้เน้นทำคอนเทนต์กลางในแพลตฟอร์มของตัวเอง และทำให้ตัวเองมีภูมิต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของโซเซียลมีเดีย ในอเมริกาคำทำงานยุทธศาสตร์ก็เร่ิมหันมาพัฒนาสิ่งทีต้องการจะสื่อสารให้ดีให้คนเข้าถึงได้ง่าย แล้วให้ผุ้สนับสนุนนำไปต่อยอดกันเอง
และยังกล่าวต่อว่า.."อัตราเข้าถึงอินเตอร์ของสังคมต้อนนี้ ที่ 85% และยังเพื่อมสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งหมายึความว่า กระแสที่เกิดขึ้นในโลกออนไลน์ส่งผลต่ออฟไลน์แน่นอน อย่างไรก็ตาม อย่างไรก็ตามการส่งผลไม่ได้เกิดแบบตรงไปตรงมา เช่น ในวันๆหนึ่ง อาจมีปฏิสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับข่าวการเมืองคิดเป็น 10% ของโซเชียลทั้งหมด นั่นหมายความว่า ต่อใไ้เกิดกระแสในสื่อการเมือง แต่จะมีอีก 90% ของโซเซียลที่ยังไม่เห็นส่ิงที่เกิดขึ้นในวันแรก ดังนั้น ปัจจัยสำคัญที่ทำให้กระแสในโลกออนไลน์เชื่อมกับโลกจริงคือ ความต่อเนื่องของกระแส เพราะกระแสออนไลน์จำเป็นที่จะต้องใช้เวลาในการกระจายไปให้ถึงคนในสัดส่วนที่มากขึ้น อีกประเด็นที่ควรระมัดระวังคือ ในโซเชียลมีเดียคนจำนวนน้อยสามารถสร้างกระแสที่มีขนาดใหญ่ได้ ถ้าเป็นกรณีนี้ก็ิย่งต้องการความต่อเนื่องของกระแสมากขึ้นไปอีก
และเขายังกล่าวถึงสิ่งที่น่าสนใจในวงการเมืองสหรัฐฯ ว่า "..ในตอนแรกมีคำถามในใจที่อยากรุู้คือ ระบบนิวเศ ของการทำงานทางการเมืองในสหรัฐฯเป็นแบบไหน ทำไม่กลุ่มภาคประชาสังคมในสหรัฐฯ จึงสามารถเร่มต้นและตเบดตกลายเป็นองค์กรที่ทำงานต่อเนืองยาวนาน หลายเป็นองค์กรระดับชาติได้ เพราะดดยส่วนตัวรุ้จักนักเคลื่อนไหวหลายคน ซึ่งมีความมุ่งมัี่นและมีความรู้ความสามารถไม่แพ้กัน แต่อะไรคือปัจจัยที่ทำให้การเคลื่อนไหวเติบโตกลายเป็นองค์กรได้ยาก อะไรคือสิ่งที่ขาดหายไป ซึ่งหนึ่งในคำตอบหลักคือ ในสหรัฐฯมีการพัฒนาสะสมองค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาองค์กร มาอย่างต่อเนื่องมาเป็น 100 ปี ซึ่งระบบนิวเศเราไม่สามารถทำได้ เพราะถูกปราบปรามมาโดยตลอด โจทย์นี้เลยกลายเป็นคำถามต่อว่า ถ้าไม่มีเวลา 100 ปี และไม่ได้มีขนาดการเมืองหใหญ่เหมือนที่สหรัฐฯ จะซับพอร์ตคนรุ่นใหม่ได้อย่างไร
โจทย์ที่ 2 คือทำมกลุ่มหัวก้าวหน้าในสหรัฐฯถึงเติบโตและมีอำนาจทางการเมืองได้ มีผุ้สมัครหน้าใหม่จำนวนมากที่สามารถเข้าสุ่การเมืองและชนะเลืกอตั้ง ชนะ establishment ของพรรคเดียวกันและเติบดตขึ้นมารได้ในช่วงที่ผ่านมาได้มีโอกาสเข้าไปศึกษาพูดคุยกับกลุ่มที่เป็นเบื้องหลังในการผลักดันนัการเมืองรุ่นใหม่ๆ พบว่าพวกเขามีกรถอดบทเรียนกันอย่างจิรงจังและเข้มข้นหลังจากที่ทรัมป์ชนะเลือกตั้ง คำถามเช่น หลังจากเกิด Occupy Wall Street ผุ้คมมีความหวังกันมาก ทำไมผ่านไป 5 ปี คนเลือกทรัมป์ เหล่าบรรดาองค์กรสิทธิต่างๆ ทำงานเคลื่อนไหวสุ้แทบตายสุดท้ายทำไมประชาชนคนอเมริกันเลือกทรัมป์ หลังจากโอบามาชนะเลือกตั้ง คนะชื่อว่าความขัดแย้งเรื่องสีผิวจะเบาบางลง แต่ทำไมกลับกลายเป็นรุนแรงยิ่งขึ้น ซึ่งสุดท้านยก็ถอดบทเรียนกันได้วาต้องมี ยุทธศาสตร์การเลือกตั้ง กล่วคื อภาคประชาสังคมต้องทำงานกับประชาชนกลุ่มต่างๆ เพื่อชี้เป็นชี้ตายนัการเมืองในช่วงเลือกตั้งให้ได้
สมมติว่า ผุ้สมัครทางการเมืองคนหนึ่งลงสมัครในพื้นที่จังหวัดของคุณ และ้วสมมติคุณถือเครือข่ายผุ้ประกอบการหรือเครือข่ายสหภาพแรงงานในพื้นที่นี้ ็เขาไปต่อร่องเลยว่าคุณยินดีสนับสนุนเขาหากเขาจะเขัาไปผลักดันนดยบายที่คุณต้องการ แต่หากเขาปฏิเสธ คุณก็ไปสนับสนุนผุ้สมัครคนอื่นที่รับปากเราว่าจะทำเรื่องนี้ กลุ่มต่างๆ ลักษณะนี้ีคือกลุ่มที่เติบดตมากในช่วงสิบปีที่ผ่านมา เช่น ในการเลือกตั้งของ Alexandria Ocasio-Cortez ถ้าเรามาองจากภายนอกก็จะนึกว่าเขามีทีมงวานสร้างแบรนดิ้งและบุคลิกภาพเฉพาะตัวขึ้นมา แต่ถ้าเข้าไปดูเว็บไซต์แคมเปยของเขามีองค์กรสนับสนุนเป็นร้อยเลย นี่คือปรากฎการณ์ใหม่ เพราะในอดีตนักการเมืองสหรัฐฯ จะลงเลือกตั้งก็ต้องไปของรับการสนับสุนจากชนชั้นนำในพรรค แต่ภายใต้ระบบนิเวศใหม่ที่องคก์กรภาคประชาสังคมเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งมากขึ้น หากองค์กรประกาศสนับสนุนผุ้สมัครแล้ว ก็จะส่งคนเข้าไปช่วยหาเสียงด้วย วิธีการนี้ทำให้ผุ้สมัครหน้าใหม่มีโอกาสในการเข้าสุ่การเมืองมากขึ้น ในแง่หนึ่ง องค์กรได้กลายมาเป็นตัวกลางระกวางการเมืองในสภากับประชาชน และช่วยให้ประชาชนรู้สึกสบายใจกว่าในการผุกยึดโยงตัวเองกับองค์กรภาคประชาสังคมแทนที่จะเป็นนักการเมืองหรือพรรคการเมือง ส่วนนี้คือระบบนิเวศที่เปลี่ยนไปมากในช่วง 10 ที่ผ่านมา.." อ่านฉบับเต็มได้ที่ https://www.the101.world/interview-prab-on-election/