วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

triangle

 
  ขณะที่จีนอยู่ในช่วงความแตกแยกนั่น ชาวซี่ตันซึ่งอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าแถบมองโกเลียใน รวมตัวดันเป็นอาณาจักรเหลียวและสภาปนาตนเป็นข่าน ก่อนยกตนเองเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน
    อาณาจักรเหลียวเิร่มรุกราภาคเหนือของจีน โดยบีบให้จักรพรรดิราชวงศ์สิ้นยุคหลังยกดินแดนสิบหกหัวเมืองแถบเยียนจิง ซึ่งอยู่ใต้แนวกำแพงเมืองจีนให้แก่อาณาจักรเหลียวได้สำเร็จ


อารยชนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อความมั่นคงของราชวงศ์ซ่งคือ อาณาจักซีเซี่ยของชาวตังกุต ซึ่งเป็นชนเชื้อสายทิเบตที่อาศัยอยู่ในแถบที่ปัจจุบันเรียกว่า มณฑลกานซู่ และเขตปกครองเซี่ยหุยพวกเขาสะสมความมั่นคั่งจากการเป็นคนกลางในเส้นทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางโดยในยุคราชวงศ์ถัง ผู้นำของชาวตังกุตได้รับแต่งตั้งจากจักรพรรดิจีนให้เป็นผู้เป็นผู้คุมเมืองหน้าด่าน ดูแลความสงบเรียบร้อยทางทิศตะวันตก และเมื่อถึงยุคราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถว่ายบรรณการต่อทั้งจักรพรรติราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถวายบรรณาการต่อทั้งจักรพรรดิราชวงศ์ซ่งและอาณาจักรเหลียว ปัญหาเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1038 เมื่อหยวนเฮ่า ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถวายบรรณาการต่อทั้งจักรพรรดิ์ราชวงศ์ต้นราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตประกาศสถาปนาอาฯาจักรต้าเซี่ย และตั้งตนเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซิงวิ๋งหรือ ในปัจจุบันคือหบินชวส รวมทั้งไม่ยอมรับความสัมพันธ์นระบบบรรณการกับราชวงศ์ซ่งอีกต่อไป ราชวงศ์ซ่งมีปฏิกิริยาต่อเรื่องนี้ในทันที่ เพราะลำพังการทำสมาธิสัญญาฉานยวนซึ่งยอมรับความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการกับราชวงศ์ซ่งอีกต่อไป  ราชวงศ์ซ่งมีปฏิกริริยาต่อเรื่องนี้ในทันที เพราะลำพังการทำสนธิสัญญาฉานยวนซึ่งยามรับว่าจกรพรรดิเหลียวเป็น "โอรสแห่งสวรรค์" อีกองค์หนึ่งเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ราชวงศ์ซ่งจึงส่งกำลังเข้าไปปราบปรามหยวนเฮ่าเมื่อ ค.ศ. 1040 แต่ไม่สำเร็จ
      เมื่อสถาปนาราชวงศ์ซ่งแล้ว ทางภาคเหนือของจีนมีภัยคุกคาม ภาคใต้ยังไม่มีเอกภาพ จึงทรงดำเนินนโยบาย(ตามคำแนะนำของอัครเสนาบดี) "ภาคใต้ก่อนภาคเหนือ"
      เมื่อราชวงศ์ซ่งสามรถปราบปรามราชวงศ์อั่นเหนือสำเร็จแล้วปิดฉากยุค"ห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร" อย่างถาวร ราชวงศ์ซ่งจึงเปลี่ยนนโยบายที่มีต่อเหลียวโดยพยายามใช้กำลังทหารยึดสิบหกหัวเมืองทางภาคเหนือคืนมา การทำสงครามยืดเยื้อ กระทั่งอาณาจักรเหลียวบุกเข้ามาเกือบประชิดราชธานีราชวงศ์ซ่ง จึงยอมทำข้อตกลงสันติภาพที่เรียกว่า "สนธิสัญญาฉานยวน"
      อนารชนอีกกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อความมั่นคงของราชวงศ์ซ่งคือ อาณาจักรซีเซี่ยของวาวตังกุด ซึ่่งเป็นชนเชื้อสายทิเบตที่อาศยอยู่ในแถบที่ปัจจุบันเรียกว่ามณฑลกานซู่ และเขตปกรองตนเองหนิงเซี่ยหุยโดยสะสมความมั่งคั่งจากากรเป็นคนกลางในเส้นทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางดดยในยุคราชวงศ์ถัง ผู้นำของชาวตังกุตได้รับแต่ตั้งจากจักรพรรดิจีนให้เป็นผู้คุมเมืองหน้าดาน...ผู้นำตังกุตประกาศสถาปนาอาณาจักรต้าเซี่ย และตั้งตนเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซิงชิ่ง

     ความพ่ายแพ้ของราชวงศ์ซ่งต่ออาณาจักรซีเซี่ยทำให้อาณาจักรเหลียวฉวยโอกาสเรียกร้องผลประโยชน์จากราชวงศ์ซ่งมากขึ้น โดยใน ค.ศ. 1042 จักพรรดิเหลียวซิงจง ส่งทูตมาเจรจา ของให้ราชวงศ์ซ่งยกดินแดนกวาน ซี่งเป็นพื้นที่ทางยุทธศาสตร์ตอนใต้ของปักกิ่งให้แก่อาณาจักรเหลียวซึ่งราชสำนักซ่งไม่ยินยอมยกให้ แต่ยินยอมส่งเงินรายปีให้แก่อาณาจักรเหลียวเพิ่ม..โดยแลกเปลี่ยนกับการที่อาณาจักรเหลียวจะช่วยบีบให้อาณาจักรซีเซี่ยยอมเป็นรัฐบรรณาการของราชวงศ์ซ่งต่อไป เมื่อได้ผลประโยชน์ดังกล่าวเพิ่มขึ้นในต้น ค.ศ. 1043 จักรพรรดิเหลียวชิงจงจึงส่งทูตไปของให้หยวนเฮ่ายอมอ่อนน้อมต่อราชวงศ์ซ่ง ซึ่งหยวนเฮ่ายื่นข้อเสนอว่าตนเองยินดีนับถือจักรพรรคิซ่งเหญินจง เป็นพระบิดา แต่จะไม่ยอมให้อาณาจักรซีเซี่ยเป็นรัฐบรรณาการของราชวงศ์ซ่ง...
   
   นักการทูตคนสำคํยของราชวงศ์ซ๋งเป็นผู้นำในการคัดค้านข้อเสนอของหยวนเฮ่าโดยให้เหตุผลว่า หากราชวงศ์ซ่งไม่สามารถบีบให้อาณาจักณซีเซี่ยยอมเป็นรัฐบรรณาการ อาณาจักรเหลี่ยวก็จะยิ่งตระหนักถึงความอ่อนแดของราชวงศ์ซ่งและฉวยโอการเรียกร้องผละประโยชน์ต่างๆ มากขึ้น และหากราชวงศ์ซ่งยอมรับว่าอาณาจักรซีเซี่ยเป็นรัฐที่มีสถานะเท่าเี่ยกับตน จักรพรรดิเหลียวก็อาจอ้างได้วาในเมืออาณาจักซีเซี่ยเป็นรัฐบรรณการของอาณาจักเหลียว ราชวงศ์ซ่งซึ่งมีสถานะเที่ยเท่ากับอาณาจักรซีเซี่ยก็ความเป็นรัฐบรรณการของอาณาจักรเหลียวเช่นกัน...
      การปฏิเสธของราชวงศ์ซ่งสร้างความไม่พอใจแก่หยวนเฮ่าเป็นอย่างมาก เขาได้พิจารณาแล้วเห็นว่าผู้ที่ได้ประโยชน์ที่แท้จากการนี้คือ อาณาจักรเหลียว ทั้่งนี้เพราะภัยคุกคามจากซีเซี่ยทำให้ซ่งจำต้องยอนยอมต่าข้อเรียกร้องต่าง ๆ ของเหลียว ขณะที่ซีเซี่ยไม่ได้อะไรเลย เขาจึงหันมาดำิเนินนธบายบั่นทอนอำนาจของอาณาจักเหลียว ..  จักรพรรดิเหลียวขิงจง ไม่พอพระทัยอยางยิ่งและได้แจ้งให้ราชสำนักซ่งทราบวว่าพระองค์จะใช้กำลังทหารเข้าจัดการกับซีเซี่ย และขอให้ราชวงศ์ซ่งงดเว้นการทำข้อตกลงสันติภาพใดๆ กับหยวนเฮ่า...

     ความสัมพันธ์ทากการเมืองและสงครามแบบสามเส้านี้จบลงด้วยการใช้เงินแลกกับสันติภาพ แต่หากพิจารณาความสัมพะนธ์ ซ่ง-เหลียว-ซีเซี่ย แล้วการทำข้อตกลงกับซีเซียส่งผลดีต่อราชวงศ์ซ่งเป็นอยางยิ่ง เพราะเท่ากับว่าราชวงศืซ่งมีข้อตกลงสันติภาพกับทั้งอาณาจักรเหลียวและอาณาจักรซีเซี่ย ขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรเป็นไปแบบไม่ราบรื่น มีการทำสงครามกันเป็นระยะโดยไม่ต้องกังวลเรื่องที่เหลียและซี่เซี่ยจะรวมตัวกันมาบุกซ่งจึงส่งผลให้เศษฐกิจราชวงศ์ซ่งได้ดุลทั้งสองอาณาจักร..



                                                  หากต้องการข้อมูลหรือรายละเอียดเพิ่มเติม    Kositthiphon.blogspot.com



Mongol Military

     กองทัพมองโกล เป็นกองกำลังทหารม้าเป็นส่วนใหญ่ โดยจำนวนทหารมองโกลมี สองในสามของกองทัพทั้งหมดทหารม้าแบ่งออกเป็น


dba-army-154-mongols
- ทหารม้าเบา คือทหารที่สวมเกราะเบาอย่างเช่นเกราะผ้าไหม เกราะหนังกวางหรือไม่สวมเกราะ ติดอาวุธเบาเช่นดาบโค้งและธนูguard
- ทหารม้าหนัก คือทหารสวมเกราะหนักทั้งคนและม้าศึก พวกเขาจะสวมเกราะที่ทำจากแผ่นเหล็กร้อยเข้าด้วยกันเหมือนเกราะจีนและติดอาวุธหนักเต็มอัตราคือ ดาบโค้ง ธนู ขวานน และทวนยาว ทหารม้าหนักมองโกลมักจะเป็นแนวหน้าในการบุกโจมตี 

       กองทัพม้ามองโกลจะแบ่งสายการบังคับบัญชาอย่างเป็นระบบ โดยไล่สายย่อยจากปมู่ กองร้อย กองพัน กองพล และกองทัพ โดยทหารม้าหมู่หนึ่งจะมีทหาร 10 นาย ผู้บังคับบัญชาหนึ่งนาย หนึ่งกองร้อยมีนายกองปกครอง  สิบกองร้อยรวมเป็นหนึ่งกองทัพ มีแม่ทัพปกครอง สิบกองทัพรวมเป็นหนึ่งกองพลมีจอมพลปกครอง นักรบมองโกลจะยึดถือเป็นกฎศึกเพียงอย่างเดียวคือห้ามถอยหากผู้บังคับบัญชาสูงสุดไม่สั่ง..

  ทหารราบมองโกล จากบันทึก บาทหลวงชาวเนเธอร์แลนด์ วิลเลี่ยม เดอ ลูบรัค “พระเท้าเปล่า” บันทึกว่า “พวกนักรบตาร์ต้าจะติดอาวุธหนักเท่ากับนักรบสามถึงห้าคน หากฆ่าพวกมันไปหนึ่งก็จะมีพวกมันอีกสิบคนโผล่พุ่งมาประหนึ่งจากขุมนรกโลกันต์ ข้าพเจ้าไม่เคยประจักษ์กองทัพใดที่จะมีระเบียบวินัยเช่นนี้นับแต่คของซีซาร์”
    ทหารราบมองโกลมีหน้าที่เป็นกองปีกคุ้มกันให้กองทหารม้ส ส่วนสายการบังคับบัฐชาก็เหมือนกับกองทหารม้าทั้งสิ้น
GenghisKhanExhibitMural2


ธนู กองทัพม้าธนู ของเจงกิสข่านหัวธนูใช้การแช่น้ำเกลือทำให้แข็งกว่าหัวธนูทั่วไปจึงสามารถรเจาะเกาะ
X9816425-13

  X9816425-6
คันธนูทำจากเขาสัตว์หรือกระดูกสัตว์ รวมถึงใช้อ็นสัตว์ นำมาเคี่ยวทำเป็นกาวและใช้เอ็นส่วนที่เหนี่ยวที่สุดมาทำคันธนู




 X9816425-42
    ธนูสมัยโบราณมีสองแบบคือยิงระยะไกลหรือ Long Bow ขนาดใหญ่พกพาลำบากและ
Composite bow ยิงระยะสั้นกว่าและพกพาสะดวกกว่า ธนูเขาสัตว์ของมองโกลและกระสุนที่หัวกระสุนมีความแข็งสามารถเจาะเกราะใหญ่และหนาได้ เป็นข้อได้เปรียบในหลายๆ สมรภูมิของมองโกล
 
   กองทัพเรือมองโกล มองโกลมีความมุ่งหมายที่จะครองอาณาจักรโพ้นทะเล อันประกอบด้วย ญี่ปุ่น เกาะกิวชิว เกาะชวา ซึ่งจำเป็นต้องใช้กองทัพเรือ แต่ชาวมองโกลไม่มีความรู้ในเรื่องนี้..
         
                                                             ทัพเรือมองโกลโจมตีญี่ปุ่นครั้งแรก โดยมองMokoshuraiekotobaโกลเกณฑ์กองเรือเกาหลี 900 ลำ นำทหารสองหมืนห้าพันคนขึ้นฝั่งที่ท่าเองฮากาตา เกาะกิวิว วันต่อมาเกิดการสู้รบอย่างดุเดือด แต่ไม่รู้แพ้รู้ชนะ คืนนั้นเกิดพายุใหญ่ทำลายเรือมองโกล พินาศกว่าครึ่ง มองโกลจึงต้องถอยกลับ
  เจ็ดปีต่อมามองโกลส่งกองทัพเรือมหึมามาทำสงครามกับญี่ปุ่นอีกครั้งและประวัติศาสตร์ก็ซ้ำรอย นั้นคือเกิดพายุใหญ่ โหมกระหน่ำ ทัพเรือมองโกล..
  ไม่มีการโจมตีญี่ปุ่นเป็นครั้งที่สาม..

       ทหารมองโกล…เป็นทหารที่มีความชำนาญในพื้นที่ราบอดทนต่อสภาพอากาศหนาวจัด ร้อนจัดแต่ไม่ชอบร้อนชื่น ไม่สันทัดทางทะเล มีระเบียบ วินัย ที่สำคัญเป็นทัพที่เดินทัพได้ไวมาก และมีความรวดเร็วในการจู่โจม  กล่าวกันหากม้ามองโกลเหยียบเข้าถึงที่ใดได้ทหารมองโกลก็สามารถยึดที่นั้นได้เช่นกัน ทหารมองโกลมีความเชียวชาญในการขี่ม้า และยิงธนูโดยกำเนิดเนืองจากเป็นสังคมปศุสัตว์ เมือเกิดมาเด็กชายทุกคนจะมีม้าหนึ่งตัวและธนูประจำกายเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต..ด้วยเหตุนี้ความสันทันและเจนจัดบนหลังม้าจึงไม่ชนชาติใดยิ่งไปกว่ามองโกล
 
      การทำศึกของเจกิสข่านไม่เหนือน จักรพรรดิองค์ใดในโลกจะโหดร้ายและกระหายในสงครามมากกว่าที่จะขยายดินแดน โดยปรกติหากเมืองคู่กรณี ยอมอ่อนน้อม ก็จะมีการกำหนดให้ส่งราชบรรณการทุกปี  แต่ เจงกิสข่านนั้นนอกจากเครื่องราชบรรณาการแล้ว ยังมีการเกณฑ์ไพร่พล เข้าร่วมในกองทัพด้วย…
      ปืนใหญ่มองโกล…มองโกลสร้างปืนใหญ่ขึ้นโดยวิศวกรผู้เชี่ยชาญระดับสูงจากจีน เปอร์เซียและยุโรป นำดินปืนจากจีนไปผสมผสามกับการปาลูกไฟของมุสลิม และประยุกต์กับเทคโนโลยีการหล่อระฆังของยุโรป ซึ่งเป็นนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีแบบใหม่หมดจด ซึ่งเทคโนโลยีก้าวกระโดดนี้ มีความสำคัญ  แต่ผลจากวิธีการที่เลือกนำมาผสมผสานซึ่งเทคโนโลยี เพื่อการสร้างสิ่งใหม่นั้นไม่ธรรมดา…

       การข่าว หน่วยข่าวม้าเร็ว
ชาวมองโกลเป็พวกเร่รอ่นบนหลังม้ามาแต่กำเนิด ดังนั้นแล้วการส่งสารระหว่างเมืองหรือกองทัพจึงเป็นระบบม้าเร็วเป็นสำคัญ และระบบม้เร็วของมองโกลนั้นนับเป็นหน่วยข่าวที่รวดเร็วและแม่นยำที่สุดในโลก ณ ขณะนั้น
         นายม้าเร็วของมองโกลนั้นจะสวมชุดเครื่องแบบชนิพิเศษคือเสื้อไหมติดตราอินทรีและมีกระิ่ดิ่งห้อยข้างเอวเพื่อเป็นการบอกเตือนผู้คนที่สัญจรไปมาและนายม้าเร็วนั้นยังจะได้รับอภิสทิธิ์ดังนี้
         นายม้าเร็วไม่ต้องเสียภาษี นายม้าเร็วสามารถสั่งในขบวนแม่ทัพหรือขุนนางระดับสูงหลีกให้หยุดหลีกให้พ้นทาง  หากม้าเร็วมีอาการบาเจ็บหรือตายลงระหว่างทาง นายม้าเร็วสามารถยึดม้าจากใครก็ได้ทั้งสิ้น ด้วยความสำเร็จของหน่วยม้าเร็วคือการวางจุดส่งข่าวตามเส้นทางต่าง ๆ  โดยจะมีการตั้งกระโจมรับรองทุก ๆ 80 ไมล์ ในหนึึ่งกระโจมรับรองจะมีเหล่านาม้าเร็วเตรียมพร้อมคอยท่าอยู่พร้อมม้าเร็วสำรองอีกนับร้อยตัวประจำการอยู่ การส่งสารของนายม้าเร็วนั้นจะดำเนินไปตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน 24 ชั่วโมง มีบันทึกว่าข่าวจากกรุงคาราโครัมสามารถแผ่กระจายไปทั่วจักรวรรดิภายในเวลาไม่กี่เดือน

วันพุธที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555

Temujin



 กาบุลข่าน ผู้ยิ่งใหญ่ เผ่ามองโกลได้รับความร่มเย็นเป็นสุขในฐานะชาติผู้นำในเขตทะเลทรายโกบีทางเหนือ กาบุลข่านเดินทางไปขอบุตรสาวที่เผ่าทะทาเอยเพื่อเจริญสัมพันธไมตรี แต่หัวหน้าเผ่าทะทาเอยกลับส่งตัวกาบุลข่านไปให้เมืองกิม หรือ อาณาจักรจิน ประหาร ตั้งแต่นั้นมามองโกลและทะทาเอยจึงเริ่มทำสงครามกัน
   เยซูไก ห้วหน้าเผ่าคนใหม่ รวบรวมคนที่ไร้เผ่าต่าง ๆ เข้าด้วยกันทำให้เป่ามองโกลมีจำนวนประชากรหลายหมื่นคนและได้เป็นเผ่าที่ใหญ่เผ่าหนึ่ง ซึ่งต่อมาเยซูไกได้ทำการ “ออกล่าหาภรรยา”ตามประเพณีมองโกลซึ่งได้แย่งภรรยาของหัวหน้าเผ่าเบี้ยฉี คือ ฮูหลั่น และด้วยเหตุนี้เมืองเผ่าทะทาเอยทราบข่าวจึงร่วมกับทัพกับเผ่าเบี้ยฉีโจมตีเผ่ามองโกล ซึ่งได้รับความเสียหายอย่างหนัก
   ต่อมาเยซูไกนำทัพไปปราบเผ่าทาทาร์ ซึ่งสามารถจับหัวหน้าเผ่าทาทาร์ที่ชื่อเตมูจินได้ นำมาประหาร แล้วนำชื่อเตมูจินนี้มาตั้งให้กับบุตรชายของตน เมืองเตมูจิน 9 ขวบ ต้องเดินทางไปยังเผ่าหนจิลาเพื่อหมั้นกับสาวของเผ่านหนจิลาที่ชื่อว่า บูร์ไต ซึ่งตามประเพณีของชนเผ่า เตมูจิน เจ้าบ่าวจะต้องอยู่ที่เผ่าหนจิลา เป็นเวลา 2 ปี ระหว่างทางกลับของหัวหน้าเยซูไก เยซูไกถูกลอบสังหาร เชื่อว่าเป็นการแก้แค้นของเผ่าทาทาร์ จึงรีบนำตัวเตมูจินกลับโดยไม่ได้บอกเรื่อเยซูไกถูกสังหารให้เผ่าหนจิลาทราบ
    เมื่อกลับมาถึงเผ่าปรากฎว่า โดนยึดอำนาจโดยตระกูลไฮซูอู้ ซึ่งทำให้เผ่ามองโกลสลายตัวไป หลายปีต่อมาตระกูล”ซูอู้รู้ข่าวว่า เตมูจินยังไม่ตาย จึงออกตามล่า ซึ่งในช่วงนี้มีข่าวลือต่างๆ การจับตัวและหลบหนีของเตมูจินตลอด..
  
    การก่อร่างสร้างตัวหรือการสร้างวีรกรรมของเตมูจินกับน้อง เช่นการเข้าช่วยคนที่ถูกพวกทหารกิมจับ เนื่องจากถ้าใครอยู่แบบตัวคนเดียวไม่มีเผ่าอาจมีภัยได้ทุกเมือง เตมูจินเลือกเผ่าที่มีการรวมตังหรือสร้างเผ่าใหม่ และการที่ชาวมองโกลสังเกตเห็นลูกอดีตหัวหน้าเติบใหญ่ขึ้นกลับมาอยู่ และด้วยไม่ว่าเหตุผลใด เตมูจินได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้าเผ่า และตั้งเป็นเผ่ามองโกลเผ่าใหม่ จากประชากรมองโกลที่เริ่มจากหลายๆ สิบขยายเป็นหลายๆ ร้อย
    ต่อนั้น เตมูจินไปขอคู่มั่นที่เคยหมั้นไว้ที่เผ่าหนจินดาและนำกลับมายังเผ่ามองโกล ในขณะเดียวกันเผ่าเบี้ยฉีรู้การตั้งเผ่ามองโกลใหม่ได้นำทัพโจมตีเผ่ามองโกลขณะที่เตมูจินอยู่ทีเผ่าอื่นประชาชนส่วนใหญ่ของมองโกลหนีทัน แต่ว่าบูร์ไต ภรรยาเตมูจิหนีไม่รอดถูกเผ่าเบี้ยฉีจับได้และถูกเผ่าเบี้ยฉีย่ำยี
   เมื่อเตมูจินทราบข่าว จึงนำทัพบุเผ่าเบี้ยฉีทันที.. ทัพของเตมูจินมีไม่ถึงพันนาย ในขณะที่นักรบเผ่าเบี้ยฉีมีมากว่า 20,000 นาย เตมูจินหนีฝ่าวงล้อมออกมา..ซึ่งทำให้เตมูจินได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ มากขึ้นจากเหตุการณ์ครั้งนี้
  ต่อมาเตมูจินของความช่วยเหลือจากเผ่าเคอเรอิตและจาลา ทั้งสองเผ่าจึงร่วมมือกับเตมูจินโจมตีเผ่าเบี้ยฉี
    ซึ่งสามารถขับไล่เผ่าเบี้ยฉีและช่วยภรรยาออกมาซึ่งในขณะนั้นบรูไต ตั้งท้อง และกระทั่งปัจจุบันไม่มีใครทราบว่าเป็นลูกเตมูจินหรือเผ่าเบี้ยฉี เมือคลอดออกมาตั้งชื่อว่า โจชิ
   ชื่อเสียงของสามเผ่าที่ชนะสงครามกระจายออกไป เผ่าเล็กๆ ต่างเข้ามาร่วมอาศัยอยู่ด้วยเพื่อให้เผ่าขอตนปลอดภัยจากสงครามต่าง ๆ
    เหตุการณ์ที่คาดไม่ถึงก็เกิดขึ้น เนื่องจากปัญหาแย่งฝูงม้า ชนเผ่าและข่านส่วนหนึ่งได้สังหารน้องชายจาบูลฮา หัวหน้าเผ่าจาลา สงครามระหว่างเผ่าจึงเกิดขึ้น
    พ.ศ.1734 เผ่ามองโกลถูกล้อมโดย 13 ทัพของจาลาเป็นที่รู้จักกันในนาม "สงคราม 13 ทัพ" มองโกลส่วนหนึ่งหนีได้ด้วยการเปิดทางให้จากคนในของเผ่าจาลา ส่วนที่ถูกจับได้ ทหารจาลาโยงคนพวกนั้นลงหม้อทีน้ำกำลังเดือด คือต้มคนเป็นๆ และแจกจ่ายให้ทหารในทัพกิน…
   พ.ศ. 1739(ค.ศ.1196)เมืองกิม ส่งทูตมายังมองโกล ให้เตมูจิช่วยปราบเผ่าทาทาร์เนื่องจากก่อเหตุปล้นชิงปศุสัตว์อยู่เสมอ และอาณาจักรก็ไม่คุ้นเคยสภาพอากาศทะเลทรายโกบี ฮ่องเต้เมืองกิมจึงขอให้เตมูจินข่านเป็นแม่ทพเมืองกิมและนำทหารไปปราบเผ่าทาทาร์(เนื่องจากมีชื่อเสียงเมื่อครั้งที่ปราบเผ่าเบี้ยฉี) เตมูจินตกลง จึงส่งทูตไปเผ่าเคอเรอิตเพื่อให้ร่วมทำสงคราม ฤดูร้อนปีเดียวกัน กองทัพเตมูจินและกองทัพโตกรุลข่านเข้าปราบเผ่าทาทาร์ คนของเผ่าทาทาร์บางส่วนหนีรอดไปได้

Borte-03    เมืองกิมส่งทูตมาให้ตำแหน่งเตมูจินให้เป็นผู้ปกครองทุกเผ่า ให้โตกรุลข่านเป็นอ๋องข่าน เตมูจินไม่สนในอำนาจที่เมืองกิมมอบให้ เขาไม่วางใจเมืองกิม ด้วยเหตุนี้เขาจึงพาชาวเผ่ามองโกลอพยพห่างออกจากอาณาจักรกิม แต่การย้ายเผ่า ทำให้เผ่าจาลารู้ที่ตั้งเผ่ามองโกล จาบูฉาจึงรวบรวมกำลังพลได้ 12 เผ่า อาทิ เผ่าเบี้ยฉี เผ่าทาทาร์ เผ่าหนจิลา เผ่าจาลา เผ่าไนแมนศ์ เป็นต้น
   ถึงอย่างไรเผ่ามองโกลก็เป็นฝ่ายชนะ เตมูจินได้เริ่มทำการปราบเผ่าต่างๆ เริ่มจากเผ่าของตระกูลไฮซูอู้ และในปี พ.ศ. 1745 เตมูจินได้ยกทัพไปปราบเผ่าทาทาร์ซึ่งเขาได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาดเตมูจินยกเลิกกฎบรรพบุรุษ ที่ว่าเมืองใดที่ชนะเผ่าทาทาร์ให้ประหารคนในเผ่าทั้งหมด ด้วยเหตุนี้เผ่าที่เป็นศัตรูของมองโกลก็ได้ริ่มยอมจำนนและร่วมกับเผ่ามองโกล

   เผ่านมองโกลและเผาเคอเรอิตเข้าโจมตีไนแมนส์ แต่โดยการยุยงของจาบูฮาเผ่าเคอเรดอิตจึงนำทัพกลับสุดท้ายก็หันมาทำศึกกันเอง ในที่สุดมองโกลเป็นฝ่ายชนะ เผ่าเคอเรอิตที่เหลือบางส่วนหนีไปอยู่กับเผ่าไนแมนส์
   เตมูจินทำศึกกับเผ่าไนแมนส์ ในขณะที่อายุ 42 ปี และได้รับชัยชนะ    
   ปี พ.ศ.1749 (ค.ศ. 1206) เตมูจินข่านได้รับชื่อใหม่เป็น เจงกิสข่าน และเปลี่ยนจากเผ่ามองโกลเป็นอาณาจักรมองโกล

วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555

i hate him

     ในสงครามไม่ว่าเป็นสงครามที่เกิดผลกระทบต่อโลกมากหรือน้อยย่อมมีผู้ที่เป็นวีรบุรุษและผู้ที่เป็นผู้ที่ถูกประนาม หรือหวาดกลัว ต่างๆ นาๆ แล้วแต่ว่าอำนาจการทำลายล้างของสงครามจะมีผลกว้างขว้างและลึกซึ้งเพียงใด ยิ่งผลกระทบมาก ผู้คนย่อมเกลียดชังมาก ยิ่งเป็นผลที่ผลกระทบที่ลึกซึ้งมากเท่าใดผู้คนย่อมเกลียดนานเท่านั้น


 
  ในประวัติศาสตร์มีผู้ที่ได้ชื่อว่าจอมคนแต่ก็ต้องเป็นทรราชในสายตาหลายคน หรือเป็นผู้ที่โหดร้ายผิดมนุษย์ เป็นต้น การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ การเผาทำลายบ้านเมือง การเข่นฆ่าผู้คนเป็นผักปลา แต่ถึงอย่างไร สงครามก็คือสงคราม
    ประเด็นที่นักประวัติศาสตร์โจมตีชนเผ่าองโกลในสมัยเจงกิสข่านและลูกหลานอย่างถึงที่สุดคือ การทำลายล้างประชากรในคินแดนศัตรูอย่างโหดเหี้ยม



ในครั้งรวบรวมดินแดนมองโกล การต่อสู้ระหว่างเผ่าบนดินแดนมองโกลเลียเมืองครั้งอดีต เต็มไปด้วยเลือด การเผาทำลาย ซากศพ ความพลัิดพราก และคราบน้ำตา การจะรวบรวมชาวเผ่าต่างๆ ซึ่งมีกว่า ยี่สิบเผ่านั้นเป็นเรื่องอุดมการณ์ และเป้าหมายของบรรพบุรุษ โดยไม่มีใครคิดว่าจะเป็นจริงได้ ไม่เพียงเท่านั้น ไม่เพียงแต่รวบรวมดินแดนในเขตทะเลทรายโกบี และทุ่งหญ้าสเตปป์ไว้ได้เท่านั้น หากแต่ยังทำได้ดีกว่านั้นมากมายนัก… การรวบรวมดินแดนใช้ทั้งการทหารและการทูตหากพิจารณาตามประวัติศาสตร์แล้วคล้ายกับว่า ใช้การทูตร่วมมือกันกับเผ่าพันธมิตร ร่วมกันทำสงครามกับเผ่าต่างๆ ทีมีอยู่นับสิบเผ่ากระทั้งในที่สุดเมือเหลือเพียงไม่กี่เผ่าที่จะยืนหยัดได้...แดนดินถิ่นนี้ย่อมมีได้เพียงหนึ่งเดียวเท่านั้นและก็เป็นแบบฉบับของชนเผ่าที่เมื่อมีชัยชนะเหนือเผ่าใดแล้วย่อมกลืนหรือรวมเผ่าที่แพ้เข้าเป็นเผ่าเดียวกันกับเผ่าที่ชนะ หรือไม่ก็ฆ่าทั้งหมด ซึ่งนำมาสู่การรวมกันหรือผสมผสานระหว่างเผ่า และเมื่อที่สุดแล้วชนชาติในแต่ละชนเผ่าจึงรวมกันเป็นเผ่าชนเดียวในอาณาจักรเดียวกันก่อเกิดเป็นเผ่านักรับผู้มีความชำนาญและเชียวชาญเกรียงไกรและแข็งแกร่งในการสงคราม...มองโกล

วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

Mongol

ชาวมองโกล



        “เอเซียกลาง” ซึ่งเข้าใจว่าเป็นอาณาบริเวณซึ่งเป็นที่ตั้งของ 5 ประเทศที่แตกออกมาจากอดีตสาธารณรัฐเอเซียกลางของสหภาพโซเวตในอดีต ซึ่งนอกจากห้าประเทศดังกล่าวแล้วยังมีดินแดในส่วนที่เป็นอัฟกานิสถาน เปอร์เซียและอาณาจักรเตอร์กิสถานตะวันออกหรือดินแดนส่วนที่เป็นมณฑลตะวันตกของจีนในปัจจุบันด้วย

   ผู้คนทีอาศัยอยู่ในอาณาเขตเตอร์กิสถานนี้เป็นชนเผ่าเร่รอ่นชาวเติร์กและชาวตาตาร์ในปัจจุบันซึ่งชาวจีนในสมัยนั้นเรียกว่า ชาวฮวนหรือพวกฮวน-นั้ง คือพวกเร่ร่อนไม่สร้างอาณาจักรเป็นหลักแหล่ง ดำรงชีวติด้วยการเลี้ยงสัตว์



2

   ชาวฮวนในเอเชียกลางมีรากเหง้าจากชาวซินเธียนส์ ซึ่งเป็นเชื่อชาติอารยันเร่ร่อนในดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลจากที่ราบลุ่มแม่น้ำดานูบมาถึงทุ่งหญ้าเสตปป์ในรัสเวียและเอเซียกลาง ต่อมาผสมผสามกับชาวฮวนหรือฮวน-นั้งที่ถูกขับมาจากดินแดนตอนเหนือของจีน ในสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ส่วนหนึ่งเข้ายึดครองอาณาจักรบักเครียและเมือพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชเข้ายึดครองเอเชียกลาง ผุ้คนในเอเซียกลางจึงมีบรรพบุรุษที่มีที่มาจากการปสมปสามระหวางซินเธียส์จากยุโรปกับพวกฮวน-นั้งจากตะวันออกซึ่งต่อมาเรียกพวกนี้ว่าอินโด-ซินเธียนส์ หรืออินโด-อารยัน

  

    ตามตำนานเล่าขานกันว่าบรรพบุรุษมองโกลนั้นคือ เจ้าชายหมาป่าสีนำเงิน และได้ครองคู่กับนางกวางสีขาว ซึ่งเอาจป็นการกล่าวเชิงเปรียบเทียบถึงชาติพันธุ์ โดยหมาป่าสีนำเงินนั้นอาจเปรียบคือชาวยุโรปที่อาศัยอยู่ในทุ่งราบสเตปป์ของไซบีเรีย ส่วนนางกวางสีขาวคือ ชาวเอเซียหรือพวกมองโกลลอยด์จึงทำให้เกิดต้นตระกูลมองโกล โดยมีหลักฐานทางชาติพันธ์ยืนยันว่าชาวมองโกลต่างจากชาวจีน..และเกาหลีตรงที่พวกเขามีผมสีโทนอ่อนเช่นนำตาลหรือแดง นัยน์ตาเป็นสีน้ำตาบอ่อนไปจนถึงสีเทา สีเขียน แม้แต่สีน้ำเงิน
          ชนเผ่ามองโกล ในคริสตศตวรรษที่ 11 ยังเป็นเพียงเผ่าเล็กๆ มีประชากรไม่กี่หมือนคน ซึ่งส่วนมากอาศัยอยู่บนทะเลทรายโกบี และบริเวณประเทศมองโกเลีย ในปัจจุบันในบริเวณทะเลทรายโกบีนี้มีชนเผ่าอื่นอีกนอกจากชนเผ่ามองโกลซึ่งมีชนเผ่าอาศัอยูนับร้อยเผ่าต่างภาษาต่างศาสนา วิธีการอยู่อาศัยของพวกเขาคือเลี้ยงสัตว์เพื่อให้เป็นอาหารหรือไม่ก็ล่าสัตว์เป็นอาหาร และมีกระโจมเป็นที่พัก
        ชาวมองโกลเป็นนักขี่ม้าที่ชำนาญ สิงที่นับถือตอนนั้นคือ ท้องฟ้าที่ให้แสงสว่างแม้น้ำที่ใช้เลี้ยงสัตว์ ภูเขาที่ให้ที่หลบภัยเมือมีเหตุไม่ดีก็อ้างถึงท้องฟ้าทำการบูชาท้องฟ้า ชาวมองโกลเป็นชนเผ่าแปลกหน้าร่อนเร่ใช้ชีวิตบนหลังม้าตะเวนหาทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ในดินแดนต่าง ๆ ทำให้กระทบกระทั่งกับเผ่าอื่นกระทั้งต้องรบกัน  สงครามจึงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตชาวมองโกล
       มองโกลอยด์ เป็นเผ่าพันธุ์ของคนผิวเหลือง  ผสมดำเล็กน้อย ส่วนใหญ๋อาศัยในเอเชียตะวันออก คำว่า มองโกลอยด์ มาจาคำว่า มองโกล ซึ่งมีความหมาย่าเหมือนชาวมองโกล โดยฝรั่งหรือชนผิวขาวคอเคซอยด์ พบเห็นชาวมองโกลเป็นครั้งแรกเมื่อครั้ง จักวรรดิมองโกลขยายมายังดินแดนยุโรป ก่อนหน้นนั้น มีการแบ่งกลุ่มคนเป็น 2 กลุ่มคือ ผิวขาวกับผิวดำ เมืองเห็นชนชาตมองโกลรุกรานยังดินแดนของตน จึงตั้งชื่อพวนี้ว่า มองโกลอยด์ ตามชื่อจักรวรรดิ เนื่องจากเป็นชาติเดียที่รุกมายังดินแดนชนผิวขาวได้



fda1cb9df676b71
       ชนชาติมองโกล อาศัยอยู่รวม ๆ กันที่เขตปกครองตนเองในมองโกเลียตลอด ชนชาติมองโกลใช้ภาษามองโกลที่สังกัดตระกูลภาษาอัลไต คำว่ามองโกลมีขึ้นก่อนสิ้นสุดราชวงศ์ถัง เวลานั้นเป็นเพียงชื่อเผ่าชนหนึ่งในบรรดาเผ่าต่าง ๆ ซึ่งมีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เขตฝั่งตะวันออกแม่น้ำเออร์กูนา ต่อมาค่อยๆ ย้อยไปสู่ทางตะวันตกระหว่างเป่าชนต่าง ๆ พากันปล้นสะดมประชากร สัตว์เลี้ยงและสินทรัพย์จนได้เกิดสงครามระหว่างเผ่า อย่างไม่มีที่สิ้นสุด กระทั้ง เถี่ยมูเจิน หรือเตมูจิน ได้รับการสนับสนุนให้เป็นมหาราชชาวมองโกล ชือเจงกิสข่านได้สถาปนาประเทศมองโกเลียขึ้น ซึ่งเป็นต้นกำเนิชนชาติอันเข้ามแข็งเกรีงไกร มีความานคงและได้รับการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ปรากฎเป็นครั้งแรกนั้นคือชาวมองโกล …


     
     เตมูจิน เป็นลุกชายคนแรกของ เยซูไก และเฮ่อหลุน โดยชื่อ เตมูจินนั้นพ่อของเขาตั้งให้ตามชื่อของหัวหน้าเผ่า ที่เป็นอริ โดยวันที่เตมูจินเกิดเยซูไกสามารถปราบเตมูจิน อูกุร์ได้ และนำชื่อมาตั้งให้ลูกชาย เตมูจินมีพื่น้องร่วมมารดาเดียวกัน 4 คนและต่างแม่อีก 2 คน
    เจงกิสข่านสามารถรวมเผ่ามองโกล ที่มีอยู่มากมายหลายเผ่าเป็นสมาพันธ์ชาวเผ่าน..และต่อมารวมเป็นอาณาจักร โดยมีเตมูจิน หรือ เจงกีสข่านเป็นกษัตริย์องค์แรก
   โดยปกติชาวมองโกนับถือศษสนาพทธ และลัทธิ “เต็งกรี” หรือลัทธิบูชาเทพ ชาวมองโกเลีย นับถือเจงกิสข่า เป็นเทพองค์หนึ่ง..พระองค์ไม่ทรงขัดขวาง หรือกดขค่ศาสนาอื่ ในอมงโกเลียจึงมีทุกศานา แม้แต่ในพระบรมราชวงศ์ ก็มีผู้นับถือศาสนาเกือบทุกศาสนา

       “ คนแพ้ต้องตาย เพื่อที่คนชนะจะได้ความสุข” คือคำพูดอมตะจากนักรบบนหลังม้า ที่กล่าวกับกษัตริย์และเจ้ามือง ผู้ต่อต้านการบุกของเขา..
      ผู้ที่ต่อต้านหรือศัตรูของเขาแม้สถานที่ศักดิ์สิทธิเขาก็ไม่ปล่อย เจงกิสข่านสั่งเผ่าโบสถ์ด้วยเจ้าผู้ครองนครหนีเข้าไปหลบในโบสถ์ “ที่เผาโบสถ์ไม่ใช่เพราะลบหลู่พระเจ้า แต่เพราะคนเลวไปทำให้โบสถ์มัวหมองจึงต้องทำลายทิ้ง”
     การจัดขบวนทัพของเตมูจิน เป็นแบบเดินทัพไปเลี้ยงสัตว์…ไปด้วย เมื่อสั่งบุกโจมตีก็สามารถรวมพลได้เร็ว และสามารถเข้าตีได้อย่างรวดเร็ว
    เตมูจินยังเป็นผู้ที่บำรุงนักปราชญ์กล่าวคือ หากเข้าตีเมืองใดได้แล้วจะรวบรวมผู้มีความรู้ความสามารถและส่งกลับไปยังมองโกเพื่อเป็นทรัพยากรบุคคล..


 

Historical Approach

     การคิดวิเคราะห์  หมายถึง การคิดอย่างใคร่ครวญไตร่ตรอง โดยอธิบายขอบเขตของการคิดวิเคราะห์ว่าเป็นการคิดที่เริ่มต้นจากสถ านการณ์ที่มีความยุ่งยาก และสิ้นสุดลงด้วยสถานการณ์ที่มีความชัดเจน    
   (ดิวอี้  Dewery ๑๙๓๓)

    การคิดวิเคราะห์เป็นพื้นฐานของการคิดลักษณะอื่น ๆ เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเพื่อตัดสินใจ การคิดแก้ปัญหา และกาคิดเพื่อสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์เป็นประเด็นหนึงของการแสวงหาข้อเท็จจริง เป็นการตรวจสอบข้อมูลและบอกความสัมพันธ์ บอกเหตุผลของข้อมูล ในสถานการณ์นั้นได้การคิดวิเคราะห์เป็นการจัดการกับข้อมูลในสถานการณ์ แล้วนำปสู่การคิดระดับสูง เช่น การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดเพื่อตัดสินใจ การคิดแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งได้มาจากพื้อนฐานการคิดสังเคราะห์( เป็นการสร้างสิ้งใหม่ ๆ จาข้อมูลที่มีอยู่แล้วจนนำไปสู่การสร้างสิ่งแปลกใหม่สู การคิดสร้างสรรค์)

     การคิดวิเคราะห์ คือความสามรถในการจำแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งหนึ่ง สถานการณ์หนึ่ง วัตถุ สิ่งของ หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นการสารภาพวามเป็นจริง หรือสิ่งสำคัญ
  คำถามที่มักใช้กับการคิดวิเคราะห์คือ What?  Where?  When? Why?  Who?  How? แล้วรวบรวมขอ้มูลทั้งหมดมาจัดระบบหรือเรียบเรียงให้ง่ายแก่การทำความเข้าใจซึ่งเป็นการค้นหาความจริงรหรือความสำคัญ  เทคนิคการคิดวิเคราะห์ เป็นการคิดโดยคิดเชิงลึก คิดอย่างละเอียด จากเหตุไปสู่ผล ตลอดจนการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล

       แนวการวิเคราะก์การเมืองโดยอาศัยประวัติศาสตร์ ซึ่งเราจะพบว่าคำว่าประวัติศาสตร์นั้นถูกนำมาใช้ในหลายแง่มุม เช่น เหตุการณ์ทีเป็นความจริง
       ประวัติศาสตร์หมายถึงสิ่งที่ได้มีการบันทึกไว้ ประัวัติศาสตร์คือข้อเขียนของมนุษย์ และประวัติศาสตร์คือสาขาวิชาหนึ่งของสังคม...
       'ในฐานะที่เป็นความจริงที่เกิดขึ้น หมายถึงสิ่งใดๆ ทีเรารู้สักนึกคิด จินตนาการพูดหรือได้กระทำไว้ ตลอดจนความสัมพันธ์ของสิ่งเหล่านี้ที่มีต่อกันและกันสภาพแวดล้อมตั้งแต่ดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา
       'ในฐานะที่เป็นสิ่งทีได้บันทุกไว้ จะประกอบไปด้วยเอกสารและหลักฐานปฐมภูมิต่าง ๆ ของประสัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นความเป็นจริงที่เกิดขึ้น
        'ในฐานะทีเป็นข้อเขียนนั้น กล่าวว่าเป็นเรื่องราวที่ต้องอาศัยประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นสิ่งทีได้บันทึกไว้ และจะประกอบไปด้วยการแปลความในรูปแบบที่แตกต่างกันหรือเป็นการนำบางส่วนในประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงมาพิจารณา
   ในความเป็นจริงนั้น ประวัติศาสตร์ในฐานะของสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ นั้นจะประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลายแง่ปลายมุมมองด้วยกัน ประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นข้อเขียนก็อาจจะแปรผันไปมากตามเนื้อหาสาระที่เป็นใจความสำคัญ เช่น อาจมีประวัติศาสตร์ศิลปะ ประวัิติศาสตร์วิทยาศาสตร์ ปรวัติศาสนา เป็นต้น
      แม้ว่าสาระของประวัติศาสตร์จะหลากหลาย แต่ลักษณะเด่นที่สำคัญของประวัติศาสตร์ก็คือจะเน้นความสำคัญกับอดีต เช่น ช่วงระยะเวลใดเวลาหนึ่ง ปละยังมีแนวโน้มว่าจะใช้วิธีการลำดับเหตุกาณ์ในการอธิบายด้วย
     นักประวัติศาสตร์ไม่เพียงแต่จะถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน และอย่างไรเท่านั้น แต่ยังถามต่อไปว่าทำไม่จึงต้องทำเหตุการณ์ใดๆ เกิดขึ้นมารได้อยางไรและผลที่ได้ในรูปของการกระทำหรือสภานการณ์เป็นอยางไร...

     Gottschalk  อ้างว่า สังคมคาดหวังจากนักประวัติศาสตร์ไว้ว่า "เป็นผู้ที่พยายามหาความแตกต่างหรือเปรียบเทียบช่วงหรือเหตุการณ์และสถาบันในประวัติศาสตร์ เพื่อที่จะผูกสาระเรื่องราวของประสบการณ์ที่เกิดขึ้นของมนุษย์เข้าไว้ด้วยกัน และเป็นผู้ที่นำเสนอข้อสรุปทั่วไปที่มีความเที่ยงตรงสำหรับเหตุการณ์ของประสบการณ์ในอดีต" และสรุปว่า "นักประวัติศาสตร์ต่างไปจากนักวิชากรสาขาอื่น  ๆ ในประเด็นสำคัญที่ว่า นักประวัติศาสตร์จะให้ความสำคัญกับบทบาทของแรง จูงใจ การกระทำ ความสัมฤทธิ์ผละ ความล้าเหลว และสิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ในการเปลี่ยนแปลงและความต่อเนื่องของประวัติศาสตร์"

      ในทางการเมืองนักรัฐศาสตร์จำนวนมากที่เป็นผู้เขียนประวัติศาสตร์โดยเฉพาะในสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะมีขอ้เขียนที่เกดี่ยกับประวัติศาสตร์การทูตของประเทศต่าง ๆ มากมาย ในสาขาทฤษฏีการเมือง ส่วนใหญ๋มัจะใช้แนวการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์เช่นกัน เช่น การศึกษาประวัติความคิดทางการเมืองของนักปรัชญาการเมืองตะวันตก


                                                                 จงสรุปบทเรียน
                                                    จากความผิดพลาดของคนอื่น
                                                        เพราะเราไม่มีเวลามากพอ
                                                         ที่จะผิดพลาดได้ทุกเรื่อง
                                                       และความผิดพลาดซ้ำซาก
                                                          จะนำมาซึ่งความหายนะ




วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555

Rus'



   เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่าคริสต์ทศวรรษที่ 880 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่ก่อตั้งโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย(วานับเจียน) ทีเรียกว่า “ชาวรุส” มีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ รัฐรุสเป็นต้นตอของชาติพันธุสลาฟตะวัออก ในปัจจุบันสามชาติพันธ์ได้แก่ ชาวเบลารุส รัสเซีย และยูเครน
   รัชสมัยของ วลาดิเมียร์มหาราช (ค.ศ. 980-1015)
   พะราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019-1054) เป็นยุคทองของคิเอฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิเคียฟรุสยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า “ประมวลกฎหมายรุสสคายา” Russakaya Pravda
   สันนิษฐานกันว่าเคียฟ เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 5 โดยมีตำนานในพงศาวดารรัสเซียกล่าวไว้ว่า 3 พี่นอ้งจากชนเผ่าสลาฟ คือ คยี เชค โคริฟและลีบิค เป็นผู้สร้างเมืองนี้ โดชื่อเมืองว่าเคียฟ คือมาจากชื่อ “คยี”พี่ชายคนโต ทั้งนี้ยังมีอีกลายตำนานเกี่ยวกับก่อตั้งเมืองเคียฟ แต่ตำนาน สื่พี่น้องเป็นที่นิยมมากที่สุด
IMG_6088_SM-640x426   นักประวัติศาสตร์ระบุว่าช่วงเวลาที่เคียฟก่อตัวขึ้น น่าจะประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 5-9 โดยมีชาวสลาฟเป็นพวกแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ รูปแบบของเมืองในช่วงแรกน่าจะเป็นการรวมตัวกันแบบเมือง ป้อมปราการ ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 จักรวรรดิคาซาร์ของชาวเติร์ก ได้ขยายอำนาจเข้ามายังบริเวณนี้ พวกเขาเริ่มสร้างเคียฟให้เป็นเมืองมากขึ้นกว่าเอิม ..ในช่วงปลายศตวรรษ เคียฟตกอยู่กับพวกวารันเจียน (มีชาวรุสเป็นผู้นำ) และกลายเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรเคียฟรุส..

   จากการเป็นเมืองสำคัญทำให้เคียฟผ่านที่การเมืองหลวงที่สำคัญ และการเป็นเมืองร้างที่โดนเผาทำลาย สลับกันไปมานับครั้งไม่ถ้วน ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้จะอยู่ใจนช่วง การรวมชาติของชาวรุส
   กระทั่งการขยายอำนาจของมองโกลอาณาจักเคียฟรุสก็เสื่อมอำนาจลง โดยมีอาณาจักรแกรนด์ดัชชีแห่งลิธัวเนีย ก้าวขึ้นมาแทน ด้วยความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ของเคียฟ ทำให้สองอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ในขณะนั้นแย่งชิงเคียฟ ท้ายสุด ลิธัวเนียเป็นฝ่ายครอบครองเคียฟ และผนวกดินแดนเดิมของอาณาจักรเคียฟรุสเป็นของตน พัฒนาต่อมาจนเป็นมณฑลเคียฟ…
   ชาวรุสกับเขามามีอำนาจในเคียฟและดินแดนโดยรอบอีกครั้ง โดยอาณาจักซาร์แห่งรัสเซีย ได้ผนวกเคียฟเข้าอยู่ในอำนาจ ต่กเนื่องไปจนกระทั้งอาณาจักรซาร์พัฒนาเป็นจักวรรดิรัสเซีย เคียฟก็ยงคงมีความสำคัญอยู่เช่นเดิม แต่ผันจากศูนย์กลางการปกครองมาเป็นศูนย์กลางทางศาสนา(คริสต์) และการค้า

Renewed Trump era ( Again )

                        ไม่กี่ชั่วโมงข้างหน้า โดนัลด์ ทรัปม์ จะหลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาอีกครั้ง โดยเขาจะเข้าพิธีสาบานตนเืพ่...