ยุคเมจิ: เป็นยุคสมัยที่โดดเด่นอีกสมัยของญี่ปุ่น ภายใต้การปกครองของสมเด็จจักรพรรดิเมจิ ญี่ปุ่นบรรลุความสำเร็จในการพัฒนาประเทศโดยใช้เวลาเพียงไม่กี่ทศวรรษ การสร้างสรรค์ประเทศให้เข้าสู่ยุคใหม่ด้วยอุตสาหกรรม พัฒนาสถาบันทางการเมืองและรูปแบบของสังคมแบบใหม่ โดยที่ประเทศตะวันตกต้องใช้เวลานานนับศตวรรษ
สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิทรงย้ายเมืองหลวงจากกรุงเกี่ยวโตไปอยู่ทที่ เอโดะ และเปลี่ยนชื่อเมืองหลวงเป็นโตเกียว “เมืองหลวงตะวันออก” มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ จัดตั้งคณะรัฐมนตรี และสถาบันนิติบัญญัติระบบสองสภา ยกเลิกการแบ่งชนชั้นแบบเก่าของสมัยศักดินา ญี่ปุ่นทั้งประเทศทุ่มเทพลังงานและความกรตือรือร้นในการศึกษาและรับยอารยธรรมตะวันตกมาใช้
การปฏิรูปเมจิเป็นการทลายของเขื่นที่กอปรด้วยพลังและแรงผลักดันที่สะสมมานับศตวรรษต่างชาติรู้สึกถึงความรุนแรงและความตื่นตัวที่เกิดจาการปลดปล่อยที่ออกมาอย่างฉับพลัน
จุดเริ่มต้นของการปฏิรูป คือย้อนไปถึงกลุ่มนับเขียนที่เป็นซามูไรดั้งเดิมกลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งมีความรักชาติมากและสื่อความหมายรักชาติน้นไปสู่ชนชั้นของตน “ความรักชาติ” (aikok)กลายเป็นสิ่งที่มีตัวตนอยู่ เป็นสัญลักาณ์ที่น่ายำเกรง ความรักชาติเป็นหนึ่งในอาวุธไม่กี่อย่างที่สามารถหยิบขึ้นมาใช้ได้อย่างปลอดภัยในการต่อต้านระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยม
ปัจจัยต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการแพร่กระจายความรู้สึกรักชาติสู่ประชาชนและได้จัดตั้งพื้นฐานเพื่อลัทธิชาตินิยมในความหมายสมัยใหม่ ความพยายามของรัฐบาลที่จะให้มีการรวมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางการเมือง ความพยายามที่จะหาความสนับสนุนโดยสร้างคณะกรรมการและสภาโดยการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น การพัฒนาระบบการสื่อสารคมนาคมที่มีประสิทธิภาพ ล้วนช่วยหนุนทางอ้อมให้เกิดความรู้สึกสำนึกในเชื่อชาติของตน
แผนการปลูกฝังลัทธิทางการเมอืงโดยมุ่งให้องค์พระจักรพรรดิทรงเป็นแกนแลงของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศ ทางการต้องการค้ำจุนลัทธิชินโต ซึ่งให้เหตุผลความชอบธรรมของพระราชอำนาจว่ามาจาพระบุรพเทพ จึงมีหน้าที่กึ่งทางธรรม ชินโตเป็นที่ยกย่องในสมัยที่การร่างรัฐธรรมนูญและกลายเป็นศาสนาประชาติอยู่ระยะหนึ่ง
ต่อมากองทัพบกมีบทบาทโดยเน้นหนักในการฝึกให้มีความจงรักภักดีต่อผุ้เป็นผู้ปกครองและจอมทัพ ด้านการศึกษาหลักสูตรภาคบังคับในด้าน “จริยศาสตร์”โดยเน้นอัตรส่วสเท่ากันด้านความผูกพันตามคติขงจื้อที่เคร่งครัดในหลักการเคารพกตัญูกตเวที และความจงรักภักดีต่อชาติ ให้ดำเนินไปพร้อมๆ กัน ทั้งในการฝึกทหารและยังถือเป็นเครื่องกำหนดทรรศนะของพลเมืองในอนาคต และหน้าที่พลเมืองด้วย
ในสมัยดังกล่าวการยังไม่มีความสามารถทางด้านการทูต ในทรรศนะที่มีต่อการแก้ไขสนธิสัญญานักการทูตญี่ปุ่นได้เริ่มด้วยจุดประสงค์หลักสองประการ ประการแรกการยกเลิกหรือดังแปลงระบบของสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซึ่งชาวต่างชาติผุ้อยู่อาศัยในญี่ปุ่นอยู่ภายใต้อำนาจการศาลของประเทศของตนคือกงสุล ประการที่สองได้แก่ สิทธิในการปรับปรุงดัดแปลงภาษีศุลกากร ในทรรศนะที่เห็นความไม่ทัดเทียมของทั้งสองฝ่าย
นักการทูตญี่ปุ่นต้องเจรจาด้วยความอดทนเพื่อบรรลุผลตามประสงค์ ประสบการณ์ทางการทูตหลายปีแสดงให้เห็นบทเรียนเมืองครั้งสหรัฐอเมริกาตกลงให้ญี่ปุ่นมำอำนาจอิสระในการภาษีศุลกากร อังกฤษปฏิเสธทันทีอย่างเปิดเผย อีกครั้งที่อังกฤษยืนกรานเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ญีป่นเห็นความจำเป็นที่ต้องประนีประนอมแต่ความพยายามประการแรกคือเรื่องเกี่ยวกับข้อเสนอให้มีศาลผสมภายใต้ผุ้พิพากษาญี่ปุ่นและผู้พิพากษาต่างชาตินั้นถูกประชนวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก โอคูมาซึ่งเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศขณะนั้น เขายกเลกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตกเว้นกรณีฎีกาเท่านั้นที่ต้องให้ศาลผสมพิจารณา ข่าวเกิดรั่วไหล เกิดเสียงต่อต้านอย่างหนักในโตเกี่ยว ความรู้สึกเรื่ออธิปไตยของประเทศกำลังพลุ่งพล่านถึงขีดสุด โอคูมาได้รับบาดเจ็บจากระเบิดที่คนคลั่งชาตินิยมปาใส่รถม้าของเขา การเจรจาระงับไปและรัฐบาลนายคูโรดา ลาออก
ความสัมพันธ์กับเพื่อบ้านแผนดินใหญ่เป็นเรื่องที่ญี่ปุ่นสนใจมาตลอดศตวรรษ นักเขียนมองที่จีน แมนจูเลีย และเกาหลีว่าเป็นทางออกโดยธรรมชาติสกไรบความทะเยอทะยานของญี่ปุ่น โยชิดา โชอิน คิดว่า ความอยู่รอดย่อมจะเป็นไปไม่ได้ ถ้าปราศจากการเหยียบผืนแผ่นดินใหญ่กลุ่มผู้นำเมจิหลายคนซึ่งเป็นสานุศิษย์ของโยชิดา มีทรรศนะร่วมกันดังกล่าว และมีทรรศนะแรงกล้า เมื่อซาอิโก ทาคาโมริถึงแก่อสัญกรรมและมีการตั้งสมาคมรักชาติขึ้น โดยมุ่งที่จะส่งเสริมความคิดที่จะขยายอำนจญี่ปุ่น สมาคมนี้จะใช้ทุกโอกาสในการใช้แรงกดดันรัฐบลและกระตุ้นความเห็นในเรื่อรักชาติ
ความขัดแย้งเกิดขึ้นด้วยเรื่องนโยบายยับยั้งชั่งใจ Policy of restaint ม้จะเป้ฯนโยบายป้องกันการก้าวรุดหน้าในการขยายดินแดน เป็นนโยบลายที่ใช้เป็นข้อยุติที่ควารเจริญรอยตามบนบาทวิถีทางแห่งการประรีประนอม และการเรจา แต่ในกรณีเกาหลี วิธีการนั้นยกาที่จะปฏิบัติ สนธิสัญญาระหว่างญี่ปุ่นกับเกาหลีที่เปิดความสัมพันธ์ต่อกันอย่างเป็นางการและเกาหลีเปิดเมืองท่าสองเมืองให้ค้าขายได้ นั้นก็เป็นสัญญาที่เกิดจากการขู่ใช้กำลัง เมื่อเกิดกรณีนี้ จีนจึงท้าทายญี่ปุ่นโดยระบุว่า เกาหลีเป็นประทเศราชของจีน จะทำข้อตกลงใด ๆ กับประเทศใดมิได้ การแอบอ้างสิทธิเป็นจุเริ่มต้นสมัยแห่งการใช้เลห์เพทุบายของทั่งสองฝ่ายในการถือฝ่ายถือฝ่ายในเกาหลีที่ต่สู้ชิงอำนาจในราชสำนัก ความเป็นคู่แข่งนำสู่การปะทะกันในเมืองโซล การเจรจาระหว่างจีนกับญี่ปุ่นในฤดูใบไม้ผลิวาระนั้น ทั่สองฝ่ายตกลงถอนทหาร แต่มิได้หมายความว่า ฝ่ายใดจะยอมลดฐานะของฝ่ายตน จึงเกิดเหตุการณ์ตามมามากมาย เกิดกบฎย่ายครั้งในเกาหลี ซึ่งเป็นกบฎต่ต้านตะวันตก ในฐานะเจ้าประเทศราช จึงของให้จีนช่วยเหลือ อย่างไรก็ตาม จีนก็ได้ช่วยเหลือในทันที่ทันใด ญี่ปุ่นถือว่า การกระทำของจีนเป้นตรงกันข้ามกับข้อตกลง ญี่ปุ่นจึงส่งกำลังไปเกาหลี กฐฎจึงกลายเป็นเรื่องรองลงมา เรื่องใหญ่คือเรื่องความขัดแย้งระหว่างจีนกับญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับจีนและได้รับชัยชนะอย่างอัศจรรย์ กองทัพบกญี่ปุ่นได้เข้าควบคุมเกาหลีเกือบทั้งหมดและกองทัพเรือได้คุมทะเลเหลือง จีนยอมจำนน สนธิสัญญายอมรับรองเอกราชเกาหลี สิ้นสุดข้อแอบอ้างสิทธิของจีนด้านอำนาจอธิปไตยเหนือเกาหลี จีนต้องยกหมู่เกาะฟอร์โมซา(ไต้หวัน)และคาบสมุทรเลียวตุง รวมทั้งเมือปร์อาเธอร์ให้แก่ญี่ปุ่น เป็นเมืองท่าเพิ่มเติมอีก4 เมือง และจีนต้องชดใช้ค่าเสียหายเป็นเงินสด
จากชัยชนะดังกล่าวญี่ปุ่นจึงเป็นปัจจัยที่ต้องพิจารณาในกิจการตะวันออกไกล ญี่ปุ่นพัวพันเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดในแวดวงการแข่งขันของเหล่ามหาอำนาจ โดยไม่ให้ประโยชน์แก่ญี่ปุ่น
หนึ่งสัปดาห์แห่งการลงนาม ผู้แทนรุสเซีย ฝรั่งเศสและเยอรมันได้แจ้งโตเกียวว่ารัฐบาลของตนมีความเห็นเกี่ยวกับการที่คาบสมุทรเลียวตุงจะถูกโอนเป็นของญี่ปุ่น ผุ้แทนทั้งสามประเทศได้แนะให้โตเกียวคืนคาบสมุทรให้แก่จีน รุสเซียมุ่งหมายที่จะรักษาโอกาสของตนในการขยายอาณาเขต ฝรั่งเศสผู้เป็นพันธมิตรหวังที่จะให้รุสเซียสนับสนุนความทะยายอยากของฝรั่งเศสในจีภาคใต เยอรมันพยายามจะกีดกันรุสเซียให้ตกบอบเวทีการเมืองยุโรป ซึ่งเป็นเหตุผลที่ไม่เกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น แต่ความสัมพันธ์ของจีนกับญี่ปุ่นในรูปแบบใหม่เปิดช่องให้สามประเทศเข้ามาแทรกแซง
รุสเซียมีโครงการจะสร้างทางรถไฟในจีนซึ่งเต็มใจที่จะใช้กำลังหนุนหลังข้อเรียกร้องของตน แม้หลายประเทศจะเห็นใจญี่ปุ่นแต่ไม่มีคำมั่นว่าจะสนับสนุนญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเองก็อ่อนเปลี่ยจาการสงครามรัฐบาลจึงไม่มีทางเลือกเพียงสามวันหลังการแลกเปลี่ยนการให้สัตยาบันในสนธิสัญญาชิโมโนเซกิ สิ่งที่ญี่ปุ่นจะทำได้เพื่อรักษาเกียรติภูมิของตนคือการเพ่มจำนวนค่าชดใช้ค่าเสียหายจากสงคราม ผลพวงดังกล่าวกลับทำให้ชาวญี่ปุ่นรวมกันในการก้าวไปข้าหน้า ปฏิกริยาในทันที่ของฝายรัฐบาลคือปฏิกิริยาทางการทหาร ด้วยการเพิ่มกำลังพลอีก 6 กองพล ความพยายามในการปรับปรุงอาวุธยุทโธปกรณ์
ความสัมพันธ์ของจีนกับยุโรป สามมหาอำนาจได้สิทธิในการเข้ามาลงทุนในจีน รุสเซียได้สิทธิสร้างทางรถไฟสายจีนตะวันออกข้ามแมนจูเรียเชื่อวาลดิวอสต็อค กับดินแดนรุสเซียตะวันตกไกล การฆาตกรรมพระนิกายโรมันคาธอลิค เปิดโอกาสแก่เยอรมนีใน้ตั้งข้อรเยกร้อง ผลคือจีนให้เยอรมนีตั้งฐานทัพเรือในเมืองเกียวเจา และให้สิทธิทางเศรษฐกิจในมณฑลชานตุง ซึ่งทำให้บรรดามหาอำนาจเกิดแก่งแย่งของสัมปทาน ต่อมาฝรั่งเศสได้ตั้งฐานทัพเรือที่กวางเจา-วัน
เหตุการณ์ที่ทำให้ญี่ปุ่นเข้ามามีสิทธิมีเสียงในการเจรจาคือการเข้าช่วยกู้สถานทูตคืนจากพวกที่เรียกตัวเองว่าพวกนักมาว Boxer ซึ่งไม่พอใจต่อชาวต่างชาติ เนื่องจากญี่ปุ่นเป็นชาติเดียวที่อยู่ในฐานะที่จะส่งกองกำลังได้เร็วที่สุดและญี่ปุ่นกระทำการโดยถูกต้องตามครรลองมารยาทอันดีงามของการทหารและการทูต ซึ่งต่อมาได้มีการทำข้อตกลงและญี่ปุ่นได้ส่วนแบ่งในค่าชดใช้ค่าเสียหายจากจีนด้วย
รุสเซียฉวยโอกาสจากบฏนักมวยเข้ายึดครองแมนจูเรียทั้งหมด รุสเซียจะไม่ถอนทหารจนกว่จีนจะยอมตกลงด้วย เงื่อนไขที่รุสเซียระบุในเดือนกุมภาพันธ์นั้นย่อมทำให้แมนจูเรียกลายเป็นรัฐภายมต้การอารัขาของรุสเซีย ซึ่งทำให้เหล่ามหาอำนาจประท้วง โดยเฉพาะญี่ปุ่น
ผลจากการใช้เล่ห์เพทุบายนี้ทำให้อังกฤษและญ่ปุ่นมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน อังกฤษเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นในการยื่นข้อเสนอต่อรุสเซียสุดท้ายรุสเซียยอมถอนทหาร แต่กลับแสดงท่าทีในทางตรงกันข้าม
ญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะเสนอคำแถลงทั่วไปแก่รุสเซีย โดยระบุการร่วมกันเป็นเบื้องต้นในการเคารพบูรณภาพทางดินแดนจีนและเกหลี รวมทั้งการรับรองสิทธิทางรถไฟของรุสเซียในแมนจูเยและผลประโยชน์ญี่ปุ่นทางกาเมืองและเศรษฐกิจในเกาหลีด้วย รุสเซียได้ให้คำตอบด้วยข้อเสนอที่ตอบโต้ที่รุแรง โดยตั้งข้อเรียร้องให้คำประกันบูรณภาพทางดินแดนเกาหลีเท่านั้น ไม่รวมจีน(และแมนจูเรีย)ขอคำมั่นจากญี่ป่นที่จะไม่สร้างป้อมปราการตามชายฝั่งเกาหลี และขอคำรับรองว่า แมนจูเรียอยู่นอกเหนือเขตอิทธิพลญี่ปุ่น … ญี่ปุ่นให้คำตอบโดยระบุเงื่อนไขกลางๆ ในรูปของคำขาด เมือ่รุสเซียเพิกเฉย ญี่ปุ่นจึงประกาศสงคราม
เหตุการณ์ที่ทั้งสองฝ่ายต่างมีเหตุผลที่จะต้องสู้รบกัน แม้รุสเซียจะไม่ยอมรับว่ากำลังแสนยานุภาพของตนกำลังจะมาถึงจุดจบ ก็ประสบความยากลำบากกับความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ ญี่ปุ่นเองก็กำลังจะสิ้นเนือ้ประดาตัวทางการคลัง ญี่ปุ่นจึงขอให้สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ไกล่เกลี่ย ค่าเสียหายไม่ว่าจำนวนเท่าไรรุสเซียจะไม่ยอมชำระให้ ซึ่งสร้างความผิดหวังแต่ไม่สามารถจะเผลิญการสู้รบต่อไปได้อีก รัฐบาลญี่ปุ่นจำต้องยินยอม ผุ้แทนได้ลงนามในสนธิสัญญา
มติมหาชนญี่ปุ่นไม่พอใจในสนธิสัญญามีการประกาศกฎอัยการศึกเป็นครั้งคราว อยางไรก็ตาม สนธิสัญญานั้นเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งประเทศในเอเชียมีชัยชนะเหนือมหาอำนาจหนึ่งในการสงครามเต็มรูปแบบ โดยัยชนะนั้นทำให้ผุ้ชนะได้ทั้งผลประโยชน์และสัญลักษณ์แห่งเกียรติภูมิ มีฐานะสูงสุดในเกาหลี มีสิทธิอันมีค่ายิ่งในแมนจูเรีย
หากพันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่นจะมีความสำคัญต้องการทำให้ญี่ปุ่นมีฐานะเท่าเทียมกับบรรดามหาอำนาจ สงครามรุสเซีย-ญี่ปุ่นได้สร้างฐานะญี่ปุ่นมากว่านั้น
วันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2556
ปาเลสไตน์:โดยการปกครองของอังกฤษ
ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองออตโตมัน
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน
ซึ่งมีดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลมาก รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นชาวเติร์กปกครองคนส่วนใหญ่ที่เป็นอาหรับมุสลิมนั้น ขาดประสิทธิภาพ อ่อนแอ กระทั้งยุโรปเรียกจักวรรดินี้ว่าเป็น "คนป่วยของยุโรป" แม้เศรษฐกิจจะอยู่ในขั้นใกล้ล้มละลาย การถูกกดดันจากศัตรูภายนอก แต่รฐบาลยังสามารถควบคุ
มดินเแดนต่าง ๆ ของจักรวรรดิที่กว้างใหญ่และแตกแยก ตลอดจนยังได้รับความจงรักภักดีของชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นประเทศใต้บังคับของรัฐบาลออตโตมัน เหตุผลสำคัญคือความอดทนของชนชาติต่างๆ ที่อยู่ใต้ปกครองนั้นเอง
การที่จักรวรรดิถูกแบ่งการปกครองออกเป็นท้องถ่ินนั้น มิได้ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกแบ่งแยกหรือมีความจงรักภักดีเฉพาะท้องถิ่นด ทั้งนี้เพราะแต่ละท้องถิ่นมิไ/ด้มีการแยกออกจากกันโดยพรมแดน ภาษาหรือระเบียบข้อบังคับ ประเทศอาหรับทั้งหลายมีความรู้สึกเป็นชาติเดียวกันโดยมีศูนย์รวมใหญ่ทางจิตใจอยู่บนศาสนา ระบบการปกครองมิได้แบ่งปยกชาวเติร์กออกาจากชาวอาหรับและชาวเคิร์ดส์ ทั้งนี้เพราะแต่ละกลุ่มนับถือศาสนาเดียวกัน หรืออาจหล่าวได้ว่าจักวรรดิออตโตมันก็คือมุสลิม ทั้งนี้เพราะจักรวรรดิออตโตมันเป็นผุ้สืบทอดจักวรรดิอาหรับอิสลามนั้นเอง
กว่า 4 ศตวรรษ ออตโตมันปกครองดินแดนต่าง ๆ ในตะวันออกกลางอยู่นั้นได้ทำให้อารยธรรมอาหรับและตุรกีผสมผสานกันในหลาย ๆ ด้านแม้การปกครองจะอยู่าภายใต้การปกครองของเติร์ก แต่วัฒนธรรมอาหรับและภาษาอารบิกก็ยังคงเข้มแข็งอยุ่ ชาวอาหรับและภาษาอารบิกมีบทบาทสำคัญในระบบงานด้านการปกครองขอออตโตมัน ภาษาอารบัิกเป็นภาษของคัมภรีกุรอ่านและภาษาในสุเหร่า ส่วนสำคัญของรัฐบาลออกโตมันก็คือกฎมหายชาเรียอันศัดิ์สิทธิ์ ซึ่งจะไม่สามารถเรียรู้ได้ โดยปราศจากความรู้ในภาษาอารบิก
รัฐบาลออตโตมันมิได้มีอิทธิพลอย่างเข้มแข็งในการปกครองเหนือดินแดนต่าง ๆ ของอาหรับ เมื่อหัวหน้าเผ่าตามท้องถ่ิน รหือเจ้าแขกมีอำนาจมากขึ้นก็จะไใ้ความเคารพนับถือเฉพาะตัวเจ้าเมือง โดยมิได้เห็นความสำคัญฐของสุลต่านซึ่งเป็นเจ้าแผ่นดินเลย ดังในเลบานอน ปาเลสไตน์ และอิรัก เจ้าผุ้ปกครองท้องถ่ินหรือหัวหน้าเผ่าซึงเป็นอาหรับมีความเป็ฯอิสระจารัฐบาลกลาง ในอียิปต์เจ้าผู้ปกครอง คือ อิบราฮิม ซึ่งเป็ฯโอรสของมูฮัมหมัน อาลี แนะนำในมีการปฏิรูปการปกครองประเทศซึ่งเท่ากับเป็ฯการเริ่มต้นยุคสมัยใหม่ของอิยิปต์
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสัญญาหลายฉบับที่ยกปาเลสไตน์ให้กับฝ่ายต่าง ๆ
ตามข้อตกลง ซิกเคส-พิคอท Sykes-Picot Agreement เป็นสัญญาร่วมระหว่างอังกฤษ ผรั่งเศส และรัสเซีย มีใจความสำคัญคือปาเลสไตน์จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสเมื่อสิ้นสงคราม
ประกาศบัลฟอร์ Balfour Declaration ปาเลสไตน์จะถูกสร้างเป็นบ้านเกิดเมืองนอนสำหรับชาวยิว
จดหมายแลกเปลี่ยนระหว่างฮุสเซน และแมคมาฮอน Husain-McMahon Correspondence ซึ่งเป็นจดหมายะรหว่างอังกฤษกับผู้แทนอาหรับระบุข้อความว่า ปาเลสไตน์จะตกเป็นของชาวอาหรับ
ครั้งสงครามยุติลงอังกฤษก็พยายามจะควบคุมดินแดนนี้ ส่วยฝ่ายอื่นๆ ตามสัญญาดังกล่าวก็พยายามที่จะรักษาสิทธิของตน มีการปะทะกันทางการทูตระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ฝรั่งเศสกล่าวหาว่าอังกฤษไม่ซื่อสัตย์ในประเด็นปาเลสไตน์ ซีเรีย และโมซุล ปัญหาดังกล่าวยุติในกรประชุมสันติภาพที่ปารี Paris peace Conference ในเดื่อนเมษายน ปี 1920 โดยที่ประชุมมีมติให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติของอังกฤษภายมต้สันิบาตชาติ จึงมีอีก 2 พวกที่ไม่พอใจคำอนุมัติดังกล่าว คือ ไซออนิสต์และอาหรับ
การปกครองของอังกฤษในปาเลสไตน์ยากลำบากมาก อังกฤษปกครองนานถึง 30 ปี แต่ไม่สามารถแก้ไปญหาปาเลสไตน์ได้
ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ
- 1 กรกฎาคม 1920 อังกฤษส่ง เซอร์ เฮอร์เบิร์ต แซมวล ในฐานะข้าหลวงใหญ่คนแรกของรัฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่ายพลเรื่อรัฐบาลพลเรือนได้เปิดให้มีการซื้้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกรทำโดยมูลนิธิยิวและบริษทัทพัฒนาที่ดินปาเลสไตน์ เซอร์ เฮอร์เิบิร์ด แซมวล ผุ้กลายเป็นผุ้สนัลสนุนลัทธิไซออนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างสงครา ได้จัดโควต้าสำหรับการอพยพของชาวยิว 16,500 คนในปีแรก แต่ก่อนจะมีการประกาศโควต้าดังกล่าวก็มีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรับในปากเลสไตน์ การอพยพดังกล่วหยุดชะงัก ประชาชอาหรับเกรงว่าจำนวนชาวยิวอพยพเข้าสู่ปากเลสไตน์เพ่ิมมากขึ้น และไม่ช้าประเทศยิวจะถูกก่อตั้งขึ้น
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์อย่งถูกต้งอตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยู่ในประกาศบัลฟอร์ และยิวไม่มีสิทธิซื้อที่ดินด้วย ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้ทั้งฝ่ายยิวและอาหรับ
- การพยายามจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ โดยให้สภาประกอบด้วยสมาชิก 23 คน รวมทั้งข้าหลวงใหญ่ด้วย สามชิก 10 คนมาจากการแต่งตั้ง และ12 คนมาจากการเลือกตั้ง ซึงแบ่งเป็นยิว 2 คริสเตียน 2 และอิสลาม 8 คน แต่ฝ่ายอาหรับเชื่อว่าแม้สมาิชิกที่มาจากการเลือกตั้งเป็นชาวยิว 2 คนแต่จะต้องสามาชิกที่เป็นชาวยิวที่ได้รับการแต่งตั้งเข้ามา ความพยายามดังกล่าวจึงล้มเหลว
- ยิวแตกเป็นสองกลุ่ม คือไซออนนิสต์ คือพวกที่ต้องการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์ และพวกที่ไม่ใช้ไซออนนิสต์คือพวกที่ไม่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ การอพยพของยิวจึงมีทั้งเข้าและออกจากปาเลสไตในระยะแรกอาหรับเบาใจด้วยเห็นว่ายิวอพยพออกจากปาเลสไตน์จึงเกิดความสงบในดินแดนปาเลสไตน์ช่วงเวลาหนึ่งแต่เมือความจริงปรากฎว่ายิวที่อพยพเข้าปาเลสไตน์มีจำนวนมากขึ้นและมีโครงข่ายเกี่ยวเนื่องกับพวกยิวที่ไม่ต้องการกลับมายังปาเลสไตน์ความสงบจึงหยุดลง ความสงบสิ้นสุดลงโดยฝ่ายอาหรับไม่พใจการกระทำของยิวที่ชาวยิวจำนวนหนึ่งเดินขบวนไปที่เวลิ่ง วอลล์ ในเยรูซาเลมและชักธงไซออนนิสต์ และร้องเพลงขาติไซออนนิสต์ ความรุนแรงปะทะนานเป็นเวลา 2 สัปดาห์ มีผุ้เสียชีวิตทั้งสองฝ่ายร่วม800 คน
คณะกรรมการสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "พวกอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ชีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต..สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย ..พวกยิวจะต้องถูกขับไล่.."
ภายหลังคณะกรรมการองค์การสันนิบาตชาตอภิปรายในปัญหาปาเลสไตน์ รัฐบาลอังกฤษจึงจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษภายใต้การนำของเซอร์ จอห์ โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุ รายงานดังกล่าวอ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกันการอพยพในปีต่อๆ มา
บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ปี 1930 มีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพของยิว และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอกาสจับจองที่ดอนของรัฐบาลมากว่ายิว ปฏิกิริยารุนแรงจากผู้นำไซออนนิสต์ทั่งโลกตามมาทันที่ เชมไวซืแมน ประธานองค์การยิวลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษในสมัยนั้นพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความ เขาปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่จะพัฒนาบ้านเกิดเมือนอนของยิวแลสัญญาว่าการอพยพของยิวจะัยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับต้องยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะไ้ด้รับที่ดินของรัฐบาล ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับชาวอาหรับเรียกบันทึกนี้ว่าเอกสารสีดำเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศึตรูโดยตรงต่อรัฐบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ในทันที่ อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจังหวัด
อาหรับไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงในรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สำคัญ และยังแตกแยกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ที่เป็นศัตรูกัน การเรียร้องต่อรัฐบาลในปัญหาต่าง ๆ เช่นเรื่องเอกราช การยุติการอพยพของชาวยิวรวมถึงการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับไม่สามารถที่จะกระตุ้นรัฐบาลให้กระทำการใดๆ เพื่อจุดมุ่งหมายของตน
การประหัตประหารยิวโดยนาซีเยอรมัน ปี 1932 นาซีเยอรมันขึ้นมามีอำนาจและทำการประหัตประหารชาวยิวในเยอรมนี ผลที่ตามมาคือ จำนวนผุ้อพยพเพ่ิมเป็น 3 เท่าโดยมาจากเยอรนีความเกลียดกลัวของอาหรับที่มีต่อยิวเพิ่มมากขึ้น ท่าที่ผุ้นำอาหรับแสดงความเป็นศัตรูกับรัฐบาลและกดดันรัฐบาล
13 เมษา 1936 ชุมชนอาหรับเริ่มใช้ความรุนแรงและโหดร้าย การโจมตีเกิดขึ้นระหว่างชุมชนยิวและชุมชนอาหรับ
รายงานผลการสำรวจสาเหตุของความยุ่งยาก " ความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างชุมชนแห่งชาติ 2 กลุ่ม ภายใจพรมแดนแคบ ๆ ของประเทศเล็ก ๆ ชาวอาหรับประมาณ แสนคน อยู่ในความมอลหม่านต่อสู้กับชาวยิว 400,000 คน กลุ่มคนทั้งสองมีความแตกต่างกัน อาหรับเป็นเอเซีย ยิวแม้จะเป็นเซมิติกเหมือนอาหรับแต่ไ้รับอิทธิพลจากยุโรป ทั้งสองต่างกันทั้งในด้าน ศาสนา ภาษา วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนแนวความคิดและการปฏิบัติตนก็ต่างกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น เป็นอุปสรรคต่อขบวนการสันติภาพ.."
- เมื่อมีการเสนอให้แบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน และทันที่ที่มีอังกฤษออกประกาศแผนการณ์ มีปฏิกิรยิาต่อต้านจากทุกฝ่าย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแบ่งแยกก็จะเดินทางมาเพื่อพิจารณาดูพื้นที่ในการแบ่งการความยุ่งยากในแผนการณ์ โดยเฉพาะเรื่องการเงินจึงยังไม่สามารถดปฏิบัิติตามแผนได้
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเสนอนโยบายใหม่ คือแผนการณ์ 10 ปี ในการจัดให้ปาเลสไตน์มีสภาบันที่เป้ฯตัวแทนของประชาชน ให้มีรัฐธรรมนูญ การพอพยของยิวจะสิ้นสุด ภายใน 5 ปี การขายที่ดินของอาหรับจะได้รับอนุญาตเพียงภายในพื้นที่ที่ถูกเลือกเท่านั้น.. รัฐาลพบว่าตัวเองอยู่ภายมจ้การโจมตีจากทั้งชุมชนยิวและชุมชนอาหรับในทันที
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน
ซึ่งมีดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลมาก รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นชาวเติร์กปกครองคนส่วนใหญ่ที่เป็นอาหรับมุสลิมนั้น ขาดประสิทธิภาพ อ่อนแอ กระทั้งยุโรปเรียกจักวรรดินี้ว่าเป็น "คนป่วยของยุโรป" แม้เศรษฐกิจจะอยู่ในขั้นใกล้ล้มละลาย การถูกกดดันจากศัตรูภายนอก แต่รฐบาลยังสามารถควบคุ
มดินเแดนต่าง ๆ ของจักรวรรดิที่กว้างใหญ่และแตกแยก ตลอดจนยังได้รับความจงรักภักดีของชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นประเทศใต้บังคับของรัฐบาลออตโตมัน เหตุผลสำคัญคือความอดทนของชนชาติต่างๆ ที่อยู่ใต้ปกครองนั้นเอง
การที่จักรวรรดิถูกแบ่งการปกครองออกเป็นท้องถ่ินนั้น มิได้ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกแบ่งแยกหรือมีความจงรักภักดีเฉพาะท้องถิ่นด ทั้งนี้เพราะแต่ละท้องถิ่นมิไ/ด้มีการแยกออกจากกันโดยพรมแดน ภาษาหรือระเบียบข้อบังคับ ประเทศอาหรับทั้งหลายมีความรู้สึกเป็นชาติเดียวกันโดยมีศูนย์รวมใหญ่ทางจิตใจอยู่บนศาสนา ระบบการปกครองมิได้แบ่งปยกชาวเติร์กออกาจากชาวอาหรับและชาวเคิร์ดส์ ทั้งนี้เพราะแต่ละกลุ่มนับถือศาสนาเดียวกัน หรืออาจหล่าวได้ว่าจักวรรดิออตโตมันก็คือมุสลิม ทั้งนี้เพราะจักรวรรดิออตโตมันเป็นผุ้สืบทอดจักวรรดิอาหรับอิสลามนั้นเอง
กว่า 4 ศตวรรษ ออตโตมันปกครองดินแดนต่าง ๆ ในตะวันออกกลางอยู่นั้นได้ทำให้อารยธรรมอาหรับและตุรกีผสมผสานกันในหลาย ๆ ด้านแม้การปกครองจะอยู่าภายใต้การปกครองของเติร์ก แต่วัฒนธรรมอาหรับและภาษาอารบิกก็ยังคงเข้มแข็งอยุ่ ชาวอาหรับและภาษาอารบิกมีบทบาทสำคัญในระบบงานด้านการปกครองขอออตโตมัน ภาษาอารบัิกเป็นภาษของคัมภรีกุรอ่านและภาษาในสุเหร่า ส่วนสำคัญของรัฐบาลออกโตมันก็คือกฎมหายชาเรียอันศัดิ์สิทธิ์ ซึ่งจะไม่สามารถเรียรู้ได้ โดยปราศจากความรู้ในภาษาอารบิก
รัฐบาลออตโตมันมิได้มีอิทธิพลอย่างเข้มแข็งในการปกครองเหนือดินแดนต่าง ๆ ของอาหรับ เมื่อหัวหน้าเผ่าตามท้องถ่ิน รหือเจ้าแขกมีอำนาจมากขึ้นก็จะไใ้ความเคารพนับถือเฉพาะตัวเจ้าเมือง โดยมิได้เห็นความสำคัญฐของสุลต่านซึ่งเป็นเจ้าแผ่นดินเลย ดังในเลบานอน ปาเลสไตน์ และอิรัก เจ้าผุ้ปกครองท้องถ่ินหรือหัวหน้าเผ่าซึงเป็นอาหรับมีความเป็ฯอิสระจารัฐบาลกลาง ในอียิปต์เจ้าผู้ปกครอง คือ อิบราฮิม ซึ่งเป็ฯโอรสของมูฮัมหมัน อาลี แนะนำในมีการปฏิรูปการปกครองประเทศซึ่งเท่ากับเป็ฯการเริ่มต้นยุคสมัยใหม่ของอิยิปต์
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสัญญาหลายฉบับที่ยกปาเลสไตน์ให้กับฝ่ายต่าง ๆ
ตามข้อตกลง ซิกเคส-พิคอท Sykes-Picot Agreement เป็นสัญญาร่วมระหว่างอังกฤษ ผรั่งเศส และรัสเซีย มีใจความสำคัญคือปาเลสไตน์จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสเมื่อสิ้นสงคราม
ประกาศบัลฟอร์ Balfour Declaration ปาเลสไตน์จะถูกสร้างเป็นบ้านเกิดเมืองนอนสำหรับชาวยิว
จดหมายแลกเปลี่ยนระหว่างฮุสเซน และแมคมาฮอน Husain-McMahon Correspondence ซึ่งเป็นจดหมายะรหว่างอังกฤษกับผู้แทนอาหรับระบุข้อความว่า ปาเลสไตน์จะตกเป็นของชาวอาหรับ
ครั้งสงครามยุติลงอังกฤษก็พยายามจะควบคุมดินแดนนี้ ส่วยฝ่ายอื่นๆ ตามสัญญาดังกล่าวก็พยายามที่จะรักษาสิทธิของตน มีการปะทะกันทางการทูตระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ฝรั่งเศสกล่าวหาว่าอังกฤษไม่ซื่อสัตย์ในประเด็นปาเลสไตน์ ซีเรีย และโมซุล ปัญหาดังกล่าวยุติในกรประชุมสันติภาพที่ปารี Paris peace Conference ในเดื่อนเมษายน ปี 1920 โดยที่ประชุมมีมติให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติของอังกฤษภายมต้สันิบาตชาติ จึงมีอีก 2 พวกที่ไม่พอใจคำอนุมัติดังกล่าว คือ ไซออนิสต์และอาหรับ
การปกครองของอังกฤษในปาเลสไตน์ยากลำบากมาก อังกฤษปกครองนานถึง 30 ปี แต่ไม่สามารถแก้ไปญหาปาเลสไตน์ได้
ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ
- 1 กรกฎาคม 1920 อังกฤษส่ง เซอร์ เฮอร์เบิร์ต แซมวล ในฐานะข้าหลวงใหญ่คนแรกของรัฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่ายพลเรื่อรัฐบาลพลเรือนได้เปิดให้มีการซื้้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกรทำโดยมูลนิธิยิวและบริษทัทพัฒนาที่ดินปาเลสไตน์ เซอร์ เฮอร์เิบิร์ด แซมวล ผุ้กลายเป็นผุ้สนัลสนุนลัทธิไซออนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างสงครา ได้จัดโควต้าสำหรับการอพยพของชาวยิว 16,500 คนในปีแรก แต่ก่อนจะมีการประกาศโควต้าดังกล่าวก็มีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรับในปากเลสไตน์ การอพยพดังกล่วหยุดชะงัก ประชาชอาหรับเกรงว่าจำนวนชาวยิวอพยพเข้าสู่ปากเลสไตน์เพ่ิมมากขึ้น และไม่ช้าประเทศยิวจะถูกก่อตั้งขึ้น
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์อย่งถูกต้งอตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยู่ในประกาศบัลฟอร์ และยิวไม่มีสิทธิซื้อที่ดินด้วย ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้ทั้งฝ่ายยิวและอาหรับ
- การพยายามจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ โดยให้สภาประกอบด้วยสมาชิก 23 คน รวมทั้งข้าหลวงใหญ่ด้วย สามชิก 10 คนมาจากการแต่งตั้ง และ12 คนมาจากการเลือกตั้ง ซึงแบ่งเป็นยิว 2 คริสเตียน 2 และอิสลาม 8 คน แต่ฝ่ายอาหรับเชื่อว่าแม้สมาิชิกที่มาจากการเลือกตั้งเป็นชาวยิว 2 คนแต่จะต้องสามาชิกที่เป็นชาวยิวที่ได้รับการแต่งตั้งเข้ามา ความพยายามดังกล่าวจึงล้มเหลว
- ยิวแตกเป็นสองกลุ่ม คือไซออนนิสต์ คือพวกที่ต้องการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์ และพวกที่ไม่ใช้ไซออนนิสต์คือพวกที่ไม่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ การอพยพของยิวจึงมีทั้งเข้าและออกจากปาเลสไตในระยะแรกอาหรับเบาใจด้วยเห็นว่ายิวอพยพออกจากปาเลสไตน์จึงเกิดความสงบในดินแดนปาเลสไตน์ช่วงเวลาหนึ่งแต่เมือความจริงปรากฎว่ายิวที่อพยพเข้าปาเลสไตน์มีจำนวนมากขึ้นและมีโครงข่ายเกี่ยวเนื่องกับพวกยิวที่ไม่ต้องการกลับมายังปาเลสไตน์ความสงบจึงหยุดลง ความสงบสิ้นสุดลงโดยฝ่ายอาหรับไม่พใจการกระทำของยิวที่ชาวยิวจำนวนหนึ่งเดินขบวนไปที่เวลิ่ง วอลล์ ในเยรูซาเลมและชักธงไซออนนิสต์ และร้องเพลงขาติไซออนนิสต์ ความรุนแรงปะทะนานเป็นเวลา 2 สัปดาห์ มีผุ้เสียชีวิตทั้งสองฝ่ายร่วม800 คน
คณะกรรมการสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "พวกอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ชีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต..สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย ..พวกยิวจะต้องถูกขับไล่.."
ภายหลังคณะกรรมการองค์การสันนิบาตชาตอภิปรายในปัญหาปาเลสไตน์ รัฐบาลอังกฤษจึงจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษภายใต้การนำของเซอร์ จอห์ โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุ รายงานดังกล่าวอ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกันการอพยพในปีต่อๆ มา
บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ปี 1930 มีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพของยิว และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอกาสจับจองที่ดอนของรัฐบาลมากว่ายิว ปฏิกิริยารุนแรงจากผู้นำไซออนนิสต์ทั่งโลกตามมาทันที่ เชมไวซืแมน ประธานองค์การยิวลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษในสมัยนั้นพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความ เขาปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่จะพัฒนาบ้านเกิดเมือนอนของยิวแลสัญญาว่าการอพยพของยิวจะัยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับต้องยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะไ้ด้รับที่ดินของรัฐบาล ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับชาวอาหรับเรียกบันทึกนี้ว่าเอกสารสีดำเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศึตรูโดยตรงต่อรัฐบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ในทันที่ อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจังหวัด
อาหรับไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงในรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สำคัญ และยังแตกแยกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ที่เป็นศัตรูกัน การเรียร้องต่อรัฐบาลในปัญหาต่าง ๆ เช่นเรื่องเอกราช การยุติการอพยพของชาวยิวรวมถึงการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับไม่สามารถที่จะกระตุ้นรัฐบาลให้กระทำการใดๆ เพื่อจุดมุ่งหมายของตน
การประหัตประหารยิวโดยนาซีเยอรมัน ปี 1932 นาซีเยอรมันขึ้นมามีอำนาจและทำการประหัตประหารชาวยิวในเยอรมนี ผลที่ตามมาคือ จำนวนผุ้อพยพเพ่ิมเป็น 3 เท่าโดยมาจากเยอรนีความเกลียดกลัวของอาหรับที่มีต่อยิวเพิ่มมากขึ้น ท่าที่ผุ้นำอาหรับแสดงความเป็นศัตรูกับรัฐบาลและกดดันรัฐบาล
13 เมษา 1936 ชุมชนอาหรับเริ่มใช้ความรุนแรงและโหดร้าย การโจมตีเกิดขึ้นระหว่างชุมชนยิวและชุมชนอาหรับ
รายงานผลการสำรวจสาเหตุของความยุ่งยาก " ความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างชุมชนแห่งชาติ 2 กลุ่ม ภายใจพรมแดนแคบ ๆ ของประเทศเล็ก ๆ ชาวอาหรับประมาณ แสนคน อยู่ในความมอลหม่านต่อสู้กับชาวยิว 400,000 คน กลุ่มคนทั้งสองมีความแตกต่างกัน อาหรับเป็นเอเซีย ยิวแม้จะเป็นเซมิติกเหมือนอาหรับแต่ไ้รับอิทธิพลจากยุโรป ทั้งสองต่างกันทั้งในด้าน ศาสนา ภาษา วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนแนวความคิดและการปฏิบัติตนก็ต่างกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น เป็นอุปสรรคต่อขบวนการสันติภาพ.."
- เมื่อมีการเสนอให้แบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน และทันที่ที่มีอังกฤษออกประกาศแผนการณ์ มีปฏิกิรยิาต่อต้านจากทุกฝ่าย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแบ่งแยกก็จะเดินทางมาเพื่อพิจารณาดูพื้นที่ในการแบ่งการความยุ่งยากในแผนการณ์ โดยเฉพาะเรื่องการเงินจึงยังไม่สามารถดปฏิบัิติตามแผนได้
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเสนอนโยบายใหม่ คือแผนการณ์ 10 ปี ในการจัดให้ปาเลสไตน์มีสภาบันที่เป้ฯตัวแทนของประชาชน ให้มีรัฐธรรมนูญ การพอพยของยิวจะสิ้นสุด ภายใน 5 ปี การขายที่ดินของอาหรับจะได้รับอนุญาตเพียงภายในพื้นที่ที่ถูกเลือกเท่านั้น.. รัฐาลพบว่าตัวเองอยู่ภายมจ้การโจมตีจากทั้งชุมชนยิวและชุมชนอาหรับในทันที
วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2556
WWI:Win-Lost
ความทารุณของสงครามโลกครั้งที่ 1 ก่อให้เกิดความเกลียดชังและอาฆาตกันอย่างรุนแรงระหว่างประเทศคู่สงคราม เมื่อสงครามสิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายมหาอำนาจกลาง ฝ่ายชนะบีบบังคับฝ่่า่ยแพ้ให้ยอมรับเงื่อนไขในสนธิสัญญาสันติภาพที่รุนแรง โดยเฉพาะสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซาย Treaty of Versailles ที่เยอรมันถูกบับบังคับให้ลงนาม มีผลให้เยอรมนีสูญเสียดินแดนในแก่ประเทศรอบข้าง สูญเสียพลเมืองคิดเป็นร้อยละ 10 ของจำนวนพลเมืองเยอรมันก่อนสงคราม กองทัพบกเยอรมันถูกจำกัดกำลัง ห้ามสร้างอาวุธ ยกเลิกกองเสนาธิการ รวมทั้งส่งมอบเรือรบและอาวูยุทธภันฑ์ทั้งหมดให้แก่ผู้ชนะ
ประเด็นที่ทำให้ชาวเยอรมันไม่พอใจมากที่สุดคือ สนธิสัญญาแวร์ซายข้อที่ 231 ซึ่งระบุว่าสงครามเกิดจากเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน ซึ่งการยกความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมนีฝ่ายเดียวนั้น ทำให้เยอรมนีต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายทั้งหมดที่เกิดในการสงคราม การบีบบังคับให้เยอรมนีจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามในอัตราปีละห้าพันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ นอกจากจะเกินกำลังที่จะจ่ายแล้วผู้ชนะนังใช้มาตรการที่ทำให้เศรษฐกิจฝ่ายตรงข้ามต้องทรุดอีก เช่น ต้องส่งมอบเรือพาณิชย์ทั้งหมดและหนึ่งในสี่ของกองเรือประมงและรางรถไฟสำรองทั้งหมดให้แก่ผู้ชนะ ต้องสร้างเรือที่มีระวางบรรทุกสองแสดนตันทุกปี เพื่อชดใช้เรือฝ่ายพันธมิตรที่ถูกจม ต้องส่งถ่านหินจำนวนมหาศาลให้แก่ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยียมเป็นรายปี ฝรั่งเศสยังมีอำนาจควบคุมเศรษฐกิจในแคว้นซาร์ ของเยอรมนีซึ่งมั่งคั่งด้วยถ่านหินและเหล็ก ิยอรมนีต้องรับภาระค่าใ้ช้จ่ายของกองทัพฝ่ายพันธมิตรที่ยึดครองแควนไรน์ ..
การระบุความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมัน นั้นทำให้ถูกกีดดันจากสันนิบาติชาติ (ุ้นำทั้งทางการเมืองและการทหารถูกกล่าวหาว่าเป็นอาชญากรสงคราม และถูกส่งตัวให้ศาลระวห่างประเทศ พิจารณาความผิด ห้ามการรวมตัวทางการเมืองระหว่างออสเตรียและเยอรมนี
การปฏิบัติอันเลวร้ายที่ผุ้แทนเยอรมนีได้รับระหว่างการเจรจาขอลดหย่อนมาตรการที่รุนแรง ทำให้คนเยอมันรู้สึกแค้นเคืองอย่างยิ่ง และเชื่อว่าเยอรมนีถูกหักหลัง เพราะบัญญัติ 14 ประการของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน ซึ่งเสมือนคำสัญญาว่าเยอรมนีจะได้รับการปฏิบัติอย่างดีในการยอมแพ้สงคราม
ประเทศผู้แพ้สงครามอื่นๆ ก็ได้รับการปฏิบัติที่รุนแรง ออสเตรีย-ฮังการี จักวรรดิของราชวงศ์ฮับส์บวร์กถูกแบ่งออกเป็นประเทศเล็กๆ ที่ได้รับการสถาปนาขึ้นภายหลังสงคราม ออสเตรียและฮังการีถูกแยกออกโดยเด็ดขาด บัลแกแรียและตุรกีได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง โดยเฉพาะตุรกี มุสตาฟา อคมาล ทำากรปฏิบัติและเรียร้องให้มีการเจรจาทำในธิสัญญาฉบับใหม่
ประเด็นที่ทำให้ชาวเยอรมันไม่พอใจมากที่สุดคือ สนธิสัญญาแวร์ซายข้อที่ 231 ซึ่งระบุว่าสงครามเกิดจากเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน ซึ่งการยกความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมนีฝ่ายเดียวนั้น ทำให้เยอรมนีต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายทั้งหมดที่เกิดในการสงคราม การบีบบังคับให้เยอรมนีจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามในอัตราปีละห้าพันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ นอกจากจะเกินกำลังที่จะจ่ายแล้วผู้ชนะนังใช้มาตรการที่ทำให้เศรษฐกิจฝ่ายตรงข้ามต้องทรุดอีก เช่น ต้องส่งมอบเรือพาณิชย์ทั้งหมดและหนึ่งในสี่ของกองเรือประมงและรางรถไฟสำรองทั้งหมดให้แก่ผู้ชนะ ต้องสร้างเรือที่มีระวางบรรทุกสองแสดนตันทุกปี เพื่อชดใช้เรือฝ่ายพันธมิตรที่ถูกจม ต้องส่งถ่านหินจำนวนมหาศาลให้แก่ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยียมเป็นรายปี ฝรั่งเศสยังมีอำนาจควบคุมเศรษฐกิจในแคว้นซาร์ ของเยอรมนีซึ่งมั่งคั่งด้วยถ่านหินและเหล็ก ิยอรมนีต้องรับภาระค่าใ้ช้จ่ายของกองทัพฝ่ายพันธมิตรที่ยึดครองแควนไรน์ ..
การระบุความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมัน นั้นทำให้ถูกกีดดันจากสันนิบาติชาติ (ุ้นำทั้งทางการเมืองและการทหารถูกกล่าวหาว่าเป็นอาชญากรสงคราม และถูกส่งตัวให้ศาลระวห่างประเทศ พิจารณาความผิด ห้ามการรวมตัวทางการเมืองระหว่างออสเตรียและเยอรมนี
การปฏิบัติอันเลวร้ายที่ผุ้แทนเยอรมนีได้รับระหว่างการเจรจาขอลดหย่อนมาตรการที่รุนแรง ทำให้คนเยอมันรู้สึกแค้นเคืองอย่างยิ่ง และเชื่อว่าเยอรมนีถูกหักหลัง เพราะบัญญัติ 14 ประการของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน ซึ่งเสมือนคำสัญญาว่าเยอรมนีจะได้รับการปฏิบัติอย่างดีในการยอมแพ้สงคราม
ประเทศผู้แพ้สงครามอื่นๆ ก็ได้รับการปฏิบัติที่รุนแรง ออสเตรีย-ฮังการี จักวรรดิของราชวงศ์ฮับส์บวร์กถูกแบ่งออกเป็นประเทศเล็กๆ ที่ได้รับการสถาปนาขึ้นภายหลังสงคราม ออสเตรียและฮังการีถูกแยกออกโดยเด็ดขาด บัลแกแรียและตุรกีได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง โดยเฉพาะตุรกี มุสตาฟา อคมาล ทำากรปฏิบัติและเรียร้องให้มีการเจรจาทำในธิสัญญาฉบับใหม่
วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:11/11 /1918
บัลแกเรียเป็นประเทศของฝ่ายมหาอำนาจกลางที่เจรจาสงบศึกในวันที่ 29กันยายน 1918 และตามมาด้วยจักรวรรดิออตโตมันเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 1918
หลังจากยุทธการวิตโตริโอ เวเนโต ของอิตาลีก็ทำให้ออสเตรีย-ฮังการีถึงจุดจบ การสลายตัวของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี กรุงบูดาเปสต์ ปราก และแซกเกร็บประกาศเอกราช การสงบศึกจัดการโดยทางโทรเลขกับฝ่า่ยสัมพันธมิตรในกรุงปารีส มีการลงนามในวิลลา กิอุสติ เมื่อวันที่่ 3 พฤศจิกายน 1918 ออสเตรียและฮังการีแยกกันลงนามสงบศึกหลังล้มล้างราชวงศ์ฮัมส์บูร์ก
ต้นปี 1917 เยอรมนีประสบปัญหาและความยุ่งยากหลายประการ เนื่องจากประเทศเยรมนีใช้เงินที่มีอยุ่ในการทำสงครามจนหมด เกิดการปั่นป่วนทางภาวะการเงินและเศรฐกิจของประเทศ เสบียงอาหารและวัตถุดิบที่ผลิตในประเทศไม่พอเลี้ยงทหารและประชาชน การติดต่อกับประเทศที่เป้นกลาง และพันธมิตรของตนถูกขัดขวางจากฝ่ายตรงข้าม โดยอังกฤษทำการปิดล้อมและขัดขวางการติดต่อของเยอรมนีกับโลกภายนอก ในขณะที่ฝ่ายพันธมิตรได้รับความช่วยเหลือจากอาณานิคมของตน และได้รับการสนับสนุนทางการเงินและอาวุธจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
แม้ในช่วงต้นเยอรมนีจะได้เปรียบคู่ต่อสู้ในหลายด้านแต่เมื่ออเมริกาประกาศสงครามกับเยอรมนีเนื่องจากสงครามเรือดำน้ำแบบไร้ขอบเขตของเยอรมนีสถานะการณ์จึงเปลี่ยนไป ปลายปี 1917 พันธมิตรของเยรมนีต่างพ่ายแพ้และเรียกร้องความช่วยเหลือจากเยอรมนี ทหารเยอรมันส่วนหญ่ทราบสถานการณ์ประเทศของตนเป็นอย่างดี
แม้ว่ารัสเซียจะออกจากสงครามและเยอรมนีถอนกำลังพลจากทางตะวันออกมาเสริมทางตะวันตกและทำการรุกครั้งใหญ่แต่เมื่อไม่ประสบความผลใดๆ เยรมนีจึงเริ่มถอย
8 สิงหาคม 1918 นายพล ฮินเดนบาร์ก และนายพล ลูเดนดอร์ฟแนะนำในห้รัฐบาลเยอรมันหาทางทำสัญญาสงบศึก
3 ตุลาคม 1918 เจ้าชาย แ็ม็กส์ ฟอน บาเดน Max von Baden ไดัรับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ของจักรวรรดิเยอรมนี และติดต่อของทำสัญญาสงบศึกกับประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา วูดโร วิลสันในวันรุ่งขึ้น
เหตุการณ์ภายในประเทศเยอรมนี
8 สิงหาคม 1918 ทหารเยอมันไม่ยอมปฏิบัติตามคำสั่งของกองบัญชาการทหารสูงสุด ที่สั่งทหารว่างอาวุธ โดยเฉพาะทหารเรือไม่พอใจที่จะให้ทหารอังกฤษเข้ายึดเรือรบเยอรมัน
29 ตุลาคม 1918 ทหารเรือทำการจมเรือทั้งหมดของเยอรมันที่อยู่ ในฐานทัพ
4 พฤศจิกายน 1918 ทหารเรือและประชาชนในเมืองคีล Kiel ก่อความวุ่นวายและสามารถยึดครองเมืองคีลได้ ซึ่งเป็นเหตุให้ทหารและประชาชนในเมืองต่าง ๆ เอาเป็ยเยี่ยงอย่าง เกิดความวุ่นวายขึ้นในหลายเมือง นายพลฮินเดนบวร์ก โทรเลขติดต่อและทูลแนะนำให้จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ขณะนั้นทรงบัฐชาการรบอยู่ที่เมือสปา ในเบลเยี่ยม ให้ทรงสละราชสมบัติ พระองค์ทรงลังเล เจ้าชาย แม็ก วอน บาร์เดน ซึ่งเกรงจะเกิดจราจลเเละเป็นอันตรายต่อเชื้อพระวงศ์และพระมหากษัตริย์เองจึงประกาศการสละราชสมบัติของจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 และมกุฎราชกุมารเจ้าชายวิลเฮล์ม
ฟิลลิปป์ ชเดมันน์ Philipp Scheidemann ผู้นำสำคัญพรรคสังคมประชาธิปไตรเยอรมัน เรียร้องให้เยอรมนีมีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐ Republik ในวันต่อมาเจ้าชาย Max von Baden จึงมอบตำแหน่างนายกรัฐมนตรีห้กับหัวหน้าพรรคสังคมประชาธิไตยเยอรมนี นายฟริคริคช์ เอเบอร์ท ในวันเดียวกันจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 เสด็จจากเมืองสปา ลี้ภัยทางการเมืองไปที่ประเทศฮอลแลนด์
11 พฤศจิกายน 1918 เวลา 11:00น. บนตู้รถไฟในคองเปียญ นายทัททิอัส แอสแบร์เกอร์ Matthias Erzberger ผู้แทนของประเทศเยอรมนีได้ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับผู้แทนของฝ่ายสัมพันธมิตร นายพลชาวฝรั่งเศส เฟอร์ดินานด์ ฟอค จึงเป็นอันยุติสงครามโลกครั้งที่ 1...
หลังจากยุทธการวิตโตริโอ เวเนโต ของอิตาลีก็ทำให้ออสเตรีย-ฮังการีถึงจุดจบ การสลายตัวของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี กรุงบูดาเปสต์ ปราก และแซกเกร็บประกาศเอกราช การสงบศึกจัดการโดยทางโทรเลขกับฝ่า่ยสัมพันธมิตรในกรุงปารีส มีการลงนามในวิลลา กิอุสติ เมื่อวันที่่ 3 พฤศจิกายน 1918 ออสเตรียและฮังการีแยกกันลงนามสงบศึกหลังล้มล้างราชวงศ์ฮัมส์บูร์ก
ต้นปี 1917 เยอรมนีประสบปัญหาและความยุ่งยากหลายประการ เนื่องจากประเทศเยรมนีใช้เงินที่มีอยุ่ในการทำสงครามจนหมด เกิดการปั่นป่วนทางภาวะการเงินและเศรฐกิจของประเทศ เสบียงอาหารและวัตถุดิบที่ผลิตในประเทศไม่พอเลี้ยงทหารและประชาชน การติดต่อกับประเทศที่เป้นกลาง และพันธมิตรของตนถูกขัดขวางจากฝ่ายตรงข้าม โดยอังกฤษทำการปิดล้อมและขัดขวางการติดต่อของเยอรมนีกับโลกภายนอก ในขณะที่ฝ่ายพันธมิตรได้รับความช่วยเหลือจากอาณานิคมของตน และได้รับการสนับสนุนทางการเงินและอาวุธจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
แม้ในช่วงต้นเยอรมนีจะได้เปรียบคู่ต่อสู้ในหลายด้านแต่เมื่ออเมริกาประกาศสงครามกับเยอรมนีเนื่องจากสงครามเรือดำน้ำแบบไร้ขอบเขตของเยอรมนีสถานะการณ์จึงเปลี่ยนไป ปลายปี 1917 พันธมิตรของเยรมนีต่างพ่ายแพ้และเรียกร้องความช่วยเหลือจากเยอรมนี ทหารเยอรมันส่วนหญ่ทราบสถานการณ์ประเทศของตนเป็นอย่างดี
แม้ว่ารัสเซียจะออกจากสงครามและเยอรมนีถอนกำลังพลจากทางตะวันออกมาเสริมทางตะวันตกและทำการรุกครั้งใหญ่แต่เมื่อไม่ประสบความผลใดๆ เยรมนีจึงเริ่มถอย
8 สิงหาคม 1918 นายพล ฮินเดนบาร์ก และนายพล ลูเดนดอร์ฟแนะนำในห้รัฐบาลเยอรมันหาทางทำสัญญาสงบศึก
3 ตุลาคม 1918 เจ้าชาย แ็ม็กส์ ฟอน บาเดน Max von Baden ไดัรับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ของจักรวรรดิเยอรมนี และติดต่อของทำสัญญาสงบศึกกับประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา วูดโร วิลสันในวันรุ่งขึ้น
เหตุการณ์ภายในประเทศเยอรมนี
8 สิงหาคม 1918 ทหารเยอมันไม่ยอมปฏิบัติตามคำสั่งของกองบัญชาการทหารสูงสุด ที่สั่งทหารว่างอาวุธ โดยเฉพาะทหารเรือไม่พอใจที่จะให้ทหารอังกฤษเข้ายึดเรือรบเยอรมัน
29 ตุลาคม 1918 ทหารเรือทำการจมเรือทั้งหมดของเยอรมันที่อยู่ ในฐานทัพ
4 พฤศจิกายน 1918 ทหารเรือและประชาชนในเมืองคีล Kiel ก่อความวุ่นวายและสามารถยึดครองเมืองคีลได้ ซึ่งเป็นเหตุให้ทหารและประชาชนในเมืองต่าง ๆ เอาเป็ยเยี่ยงอย่าง เกิดความวุ่นวายขึ้นในหลายเมือง นายพลฮินเดนบวร์ก โทรเลขติดต่อและทูลแนะนำให้จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ขณะนั้นทรงบัฐชาการรบอยู่ที่เมือสปา ในเบลเยี่ยม ให้ทรงสละราชสมบัติ พระองค์ทรงลังเล เจ้าชาย แม็ก วอน บาร์เดน ซึ่งเกรงจะเกิดจราจลเเละเป็นอันตรายต่อเชื้อพระวงศ์และพระมหากษัตริย์เองจึงประกาศการสละราชสมบัติของจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 และมกุฎราชกุมารเจ้าชายวิลเฮล์ม
ฟิลลิปป์ ชเดมันน์ Philipp Scheidemann ผู้นำสำคัญพรรคสังคมประชาธิปไตรเยอรมัน เรียร้องให้เยอรมนีมีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐ Republik ในวันต่อมาเจ้าชาย Max von Baden จึงมอบตำแหน่างนายกรัฐมนตรีห้กับหัวหน้าพรรคสังคมประชาธิไตยเยอรมนี นายฟริคริคช์ เอเบอร์ท ในวันเดียวกันจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 เสด็จจากเมืองสปา ลี้ภัยทางการเมืองไปที่ประเทศฮอลแลนด์
11 พฤศจิกายน 1918 เวลา 11:00น. บนตู้รถไฟในคองเปียญ นายทัททิอัส แอสแบร์เกอร์ Matthias Erzberger ผู้แทนของประเทศเยอรมนีได้ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับผู้แทนของฝ่ายสัมพันธมิตร นายพลชาวฝรั่งเศส เฟอร์ดินานด์ ฟอค จึงเป็นอันยุติสงครามโลกครั้งที่ 1...
วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:การตอบโต้
เยอรมนีเริ่มปฏิบัติการเกอเก็ทเธอร์ ที่เมืองท่าช่องแคบอังกฤษทางหนือ ทางใต้เริ่มปฏิบัติกรบบลอแชร์และยอร์ค ซึ่งเป้าหมายคือกรุงปารีส ปฏิบัติการมาร์นเริ่มภายหลังต่อมาโดยพยายามจะล้อมแรมส์และเร่ิมต้นยุทธการแม่น้ำมาร์นครั้งที่ 2
การตีตอบโต้ของสัมพันธมิตรได้ผลและกลายเป็นจุดเริ่มต้นของการรุกร้อยวันในเวลาถัดมา
20 กรกฏา 1918 กองทัพเยอรมนีถูกผลักดันข้ามแม่น้ำมาร์นโดยไม่บรรลุวัตถุประสงค์ใดๆ
การรุกร้อยวันโดยฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มในวันที่ 8 สิงหารคม 1918 ในยุทธการอาเมียง ทัพอังกฤษ อยู่ทางปีกซ้าย ทัพฝรั่งเศสอยู่ทางปีกขวา โดยมีกองทัพน้อยออสเตรเลียและแคนาดาเป็นหัวหอกในการโจมตีตรงกลาง สามารถรุเข้าไป12 กิโลเมตรในดินแดนที่เยอรมนถือครองเพียงเจ็ดชัวโมง
20 สิงหา 1918 ฝรั่งเศสทางปีกขวาจับกุมเชลยศึก 8,000 คนปืนใหญ่ร้อยกระบอก และยึดครองที่ราบสูง Aisne ซื่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ได้เปรียบและสามารถมองเห็นที่ต้องของเยรมนีทางเหนือ
ในขณะที่กองทัพอังกฤษทางปีกซ้ายรายงานว่าข้าศึกบนแนวรบลดจำนวนลงจากความสูญเสียและล่าถอย คำสังโจมตีด้วยรถถัง 200 คนเพื่อเปิดฉากยุทธการอัลแบ โดยมีจุดมุ่งหมายเจาะแนวรบข้าศึก เพื่อที่จะตีโอบปีกข้าศึกที่อยู่บนแนวรบ
แนวรบยาว 24 กิโลเมตรของทัพอังกฤษ สามารถสู้รบต่อไปทางปีกซ้ายและส่งผลให้ยึดอัลแบร์กลับคืนได้ในขณะเดียวกัน กองพลนิวซีแลนด์แห่งกองทัพที่ 3 และกองทัพออสเตรเลียนสามารถเจาะแนวและยึด Bapanme ได้จากเยอรมนี แลยังนำการรุกของกองทัพที่ 4 สามารถผลักดันแนวรบไปข้าหน้าและยึดเปรอนน์และมงแซ็ง-เกียงแต็ง ห่างไปทางใต้
สัปดาห์สุดท้ายของเดือนสิงหาคม แรงกดดัน ที่มีต่อข้าศึกนั้นหนักหน่วงและต่อเนื่อง บนแนวรบยาว 113 กิโลเมตร
2 กันยายน 1918 แคนาดาโอบล้อมแนวฮินเดนแบร์กด้านข้างโดยการเจาะที่ โวทัน Wotan ซึ่งส่งผลสะท้อนกลับตลอดแนวรบดานตะวันตก 6 กองทัพเยอรมนีต้องล่าถอย
เกือบสี่สัปดาห์หลัการสู้เร่ิมในวันที่ 8 สิงหาคม เชลยศึกเยรมนีถูจับกุมเกิน แสนนาย กองบัญชาการทหารสูงสุดเยรมนีตระหนักว่าพ่ายสงครามแล้วและพยายามบรรลุจุดจบอันน่าพอใจ ลูเดอร์ดอร์ฟฟ์ เสนอลาออกต่อไกเซอร์ แต่ทรงปฏิเสธ โดยทรงตอบว่า "ฉันเห็นว่าเราต้องทำให้เกิดสมดุล เราเกือบถึงขีดจำกัดอำนาจการต้านทานของเรา สงครามต้องยุติ"
สภาราชสำนักเยอรมันตัดสิใจว่า ชัยชนะในสนามรบไม่อาจจะเกิดขึ้นแล้ว ออสเตรีย-ฮังการีเตือนว่า สามารถทำสงครามได้ถึงเดือนธันวาคมเท่านั้น
การตีตอบโต้ของสัมพันธมิตรได้ผลและกลายเป็นจุดเริ่มต้นของการรุกร้อยวันในเวลาถัดมา
20 กรกฏา 1918 กองทัพเยอรมนีถูกผลักดันข้ามแม่น้ำมาร์นโดยไม่บรรลุวัตถุประสงค์ใดๆ
การรุกร้อยวันโดยฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มในวันที่ 8 สิงหารคม 1918 ในยุทธการอาเมียง ทัพอังกฤษ อยู่ทางปีกซ้าย ทัพฝรั่งเศสอยู่ทางปีกขวา โดยมีกองทัพน้อยออสเตรเลียและแคนาดาเป็นหัวหอกในการโจมตีตรงกลาง สามารถรุเข้าไป12 กิโลเมตรในดินแดนที่เยอรมนถือครองเพียงเจ็ดชัวโมง
20 สิงหา 1918 ฝรั่งเศสทางปีกขวาจับกุมเชลยศึก 8,000 คนปืนใหญ่ร้อยกระบอก และยึดครองที่ราบสูง Aisne ซื่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ได้เปรียบและสามารถมองเห็นที่ต้องของเยรมนีทางเหนือ
ในขณะที่กองทัพอังกฤษทางปีกซ้ายรายงานว่าข้าศึกบนแนวรบลดจำนวนลงจากความสูญเสียและล่าถอย คำสังโจมตีด้วยรถถัง 200 คนเพื่อเปิดฉากยุทธการอัลแบ โดยมีจุดมุ่งหมายเจาะแนวรบข้าศึก เพื่อที่จะตีโอบปีกข้าศึกที่อยู่บนแนวรบ
แนวรบยาว 24 กิโลเมตรของทัพอังกฤษ สามารถสู้รบต่อไปทางปีกซ้ายและส่งผลให้ยึดอัลแบร์กลับคืนได้ในขณะเดียวกัน กองพลนิวซีแลนด์แห่งกองทัพที่ 3 และกองทัพออสเตรเลียนสามารถเจาะแนวและยึด Bapanme ได้จากเยอรมนี แลยังนำการรุกของกองทัพที่ 4 สามารถผลักดันแนวรบไปข้าหน้าและยึดเปรอนน์และมงแซ็ง-เกียงแต็ง ห่างไปทางใต้
สัปดาห์สุดท้ายของเดือนสิงหาคม แรงกดดัน ที่มีต่อข้าศึกนั้นหนักหน่วงและต่อเนื่อง บนแนวรบยาว 113 กิโลเมตร
2 กันยายน 1918 แคนาดาโอบล้อมแนวฮินเดนแบร์กด้านข้างโดยการเจาะที่ โวทัน Wotan ซึ่งส่งผลสะท้อนกลับตลอดแนวรบดานตะวันตก 6 กองทัพเยอรมนีต้องล่าถอย
เกือบสี่สัปดาห์หลัการสู้เร่ิมในวันที่ 8 สิงหาคม เชลยศึกเยรมนีถูจับกุมเกิน แสนนาย กองบัญชาการทหารสูงสุดเยรมนีตระหนักว่าพ่ายสงครามแล้วและพยายามบรรลุจุดจบอันน่าพอใจ ลูเดอร์ดอร์ฟฟ์ เสนอลาออกต่อไกเซอร์ แต่ทรงปฏิเสธ โดยทรงตอบว่า "ฉันเห็นว่าเราต้องทำให้เกิดสมดุล เราเกือบถึงขีดจำกัดอำนาจการต้านทานของเรา สงครามต้องยุติ"
สภาราชสำนักเยอรมันตัดสิใจว่า ชัยชนะในสนามรบไม่อาจจะเกิดขึ้นแล้ว ออสเตรีย-ฮังการีเตือนว่า สามารถทำสงครามได้ถึงเดือนธันวาคมเท่านั้น
วันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:Hutier tactics
ปี 1918 แนวรบด้ารตะวันตก การรุกฤดูใบไม้ผลิมีจุดประสงค์เพื่อแยกกองัพอังกฤษและฝรั่งเศสออกจากกันด้วยการหลอกและการรุกหลายครั้ง โดยต้องการโจมตีอย่างเด็ดขาดก่อนที่กองกำลังสหรัฐขนาดใหญ่จะมาถึง เริ่มปฏิบัติการในวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1918 โดยโจมตีกองทัพอังกฤษที่อเมนส์และสารารถรุกเข้าไปได้ถึง 60 กิโลเมตรนับเป็นความสำเร็จที่ไม่เคยปรากฎมาก่อน
การนำรูปแบบการรบเข้ามาใช้ในสงครามและเพื่อเจาะผ่านแนวสนามเพลาะของผรั่งเศสและัอังกฤษและประสบความสำเร็จ โดยตั้งชื่อยุทธวิธีนี้ตามชื่อพลเอกชาวเยรมนีคนหนึ่ง
โดยเป็นการแทรกซึมทหารราบขนาดเล็ก เข้าโจมตีจุดที่อ่อนแอ จุดสั่งการและพื้นที่ขนส่ง หลีกเลี่ยงการปะทะหนัก และเมื่อโดดเดียวพื้นที่เป้าหมายได้แล้วจึงส่งทหารราบเข้าบดขยี้ภายหลัง
แนวหน้าเคลื่อนตัวห่างจากกรุงปารีส 120 กิโลเมตรปืนใหญ่รถไฟยิงกระสุนเข้าใส่กรุงปารีส ชาวปารีสจำนวนมากต้องหลบหนี ความสำเร็จในครั้งจักพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ทรงประกาศให้วันที่ 24 มีนาคมเป็นวันหยุดราชการ เยอรมันจำนวนมากคิดว่าชัยชนะของสงครามอยู่แค่เอื้อม..แต่การหาเป็นเช่นนั้นไม่ หลายคนกล่าวว่าการหยุด 1 วันดังกล่าวเป็นจุดหักเหของสงคราม แต่อย่างไรก็ดีหลังจากหยุดราชการหนึ่งวันดังกล่าว การรุกของเยอรมนีหยุดชะงัก การขาดแคลนรถถัง ปืนใหญ่ ฝ่ายเยอรมนีจึงรุกต่อไม่ได้ ประกอบกับเส้นทางส่งกำลังบำรุงถูกยืออกไปอนเป็นผลจากการรุก
และยังมีผลมาจากการรบไล่ทหารจากออสเตรเลียซึ่งในขณะนั้นเป็นประเทศอาณานิคมของอังกฤษจำนวนสีกองพลที่ถูกไล่บดขยี้แต่สามารถหยุดยั้งการบดขยี้ของเยอรมันได้ กองพลออสเตรียเรียที่ 1 จึงถูกส่งเพื่อหยุดหยั่งยุทธวิธีของเยอรมนี
อเมริการมาถึงในช่วงที่ทหารของฝรั่งเศสและจักวรรดิอังกฟษร่อยหรอ สภาสงครามสูงสุดของกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรถูกจัดตั้งขึ้นที่การประชุมดูล็อง พลเอกฟอค ถูกแต่งตั้งเป็นผูบัญชาการกองกำลัง
ูฝ่ายสัมพันธมิตรสูงสุด มีบทบาทประสานงาน มากกว่าบัญชาการ เฮก เปแตง และเพร์รี้ยังคงควบคุมยุทธวิธีในส่วนของตน
กองบัญชาอังกฤษผรังเศสและสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่เป็นอิสระต่อกัน
การนำรูปแบบการรบเข้ามาใช้ในสงครามและเพื่อเจาะผ่านแนวสนามเพลาะของผรั่งเศสและัอังกฤษและประสบความสำเร็จ โดยตั้งชื่อยุทธวิธีนี้ตามชื่อพลเอกชาวเยรมนีคนหนึ่ง
โดยเป็นการแทรกซึมทหารราบขนาดเล็ก เข้าโจมตีจุดที่อ่อนแอ จุดสั่งการและพื้นที่ขนส่ง หลีกเลี่ยงการปะทะหนัก และเมื่อโดดเดียวพื้นที่เป้าหมายได้แล้วจึงส่งทหารราบเข้าบดขยี้ภายหลัง
แนวหน้าเคลื่อนตัวห่างจากกรุงปารีส 120 กิโลเมตรปืนใหญ่รถไฟยิงกระสุนเข้าใส่กรุงปารีส ชาวปารีสจำนวนมากต้องหลบหนี ความสำเร็จในครั้งจักพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ทรงประกาศให้วันที่ 24 มีนาคมเป็นวันหยุดราชการ เยอรมันจำนวนมากคิดว่าชัยชนะของสงครามอยู่แค่เอื้อม..แต่การหาเป็นเช่นนั้นไม่ หลายคนกล่าวว่าการหยุด 1 วันดังกล่าวเป็นจุดหักเหของสงคราม แต่อย่างไรก็ดีหลังจากหยุดราชการหนึ่งวันดังกล่าว การรุกของเยอรมนีหยุดชะงัก การขาดแคลนรถถัง ปืนใหญ่ ฝ่ายเยอรมนีจึงรุกต่อไม่ได้ ประกอบกับเส้นทางส่งกำลังบำรุงถูกยืออกไปอนเป็นผลจากการรุก
และยังมีผลมาจากการรบไล่ทหารจากออสเตรเลียซึ่งในขณะนั้นเป็นประเทศอาณานิคมของอังกฤษจำนวนสีกองพลที่ถูกไล่บดขยี้แต่สามารถหยุดยั้งการบดขยี้ของเยอรมันได้ กองพลออสเตรียเรียที่ 1 จึงถูกส่งเพื่อหยุดหยั่งยุทธวิธีของเยอรมนี
อเมริการมาถึงในช่วงที่ทหารของฝรั่งเศสและจักวรรดิอังกฟษร่อยหรอ สภาสงครามสูงสุดของกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรถูกจัดตั้งขึ้นที่การประชุมดูล็อง พลเอกฟอค ถูกแต่งตั้งเป็นผูบัญชาการกองกำลัง
ูฝ่ายสัมพันธมิตรสูงสุด มีบทบาทประสานงาน มากกว่าบัญชาการ เฮก เปแตง และเพร์รี้ยังคงควบคุมยุทธวิธีในส่วนของตน
กองบัญชาอังกฤษผรังเศสและสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่เป็นอิสระต่อกัน
วันอังคารที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:การเข้าร่วมสงครามของประเทศต่าง ๆ
นอกจากกลุ่มไตรภาคี และกลุ่มไตรสัมพันธมิตร ซึ่งเป็นมหาอำนาจในยุโรปที่แบ่งเป็นสองขั้วอำนาจเพื่อทำสงครามซึ่ง
กลุ่มไตรภาคีหรือ มหาอำนาจกลางได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน จักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน
กลุ่มไตรสัมพันธมิตรได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
แล้วยังมีประเทศต่าง ๆ ที่ทยอยเข้าร่วมสงครามด้วยเหตุผลและแรงจูงใจที่ต่างกัน
อิตาลี เป็นพันธมิตรกับบเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี อิตาลีมีเจตนาของตนบนพื้นที่ออสเตีย จึงทำสัญญาอย่างลับ ๆ กับฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการลบล้างพันธมิตรเก่าอย่างส้นเชิง อิตาลีปฏิเสธการเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางโดยอ้างว่าฝ่ายตนเป็นผู้กระทำผิด
ออสเตรีย-ฮังการี ได้เสนอในหอิตาลีวางตัวเป็นกลางโดยยื่นข้อเสนออาณานิคมตูนิเซียเป็นการตอบแทนแต่ทางสัมพันธมิตก็ยืนข้อเสนอเพื่อดึงอิตาลีมาเป็นพวกตนเช่นกัน จึงเป็นการนำมาซึ่งสนธิสัญญาลอนดอน หลังการรุกรานตุรกี อิตาลีจึงเข้าร่วมสงคราม โดยประกาศสงครามต่อออสเตรีย-ฮังการีในวันที่ 23 พฤษภาคม 1915 และอีก15 เดือนให้หลังจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี
โรมาเนียเป็นอีกประเทศที่ประกาศตนเป็นกลางและให้เหตุผลว่าฝ่ายมหาอำนาจกลางเป็นผู้รุกรานและโรมาเนียไม่มีข้อผูกมัดที่เข้าสู่สงคราม
เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรสัญญาว่าจะยกดิอแนดขนาดใหญทางตะวันออกของฮังการี(ทรานซิลเวเนียและบานัท)ซึ่งมีประชากรโรมาเนียจำนวนมากอาศัยอยู่ใหแก่โรมานเนีย แลกเปลี่ยนกับกับการที่โรมาเนียต้องประกาศสงครามต่อฝ่ายมหาอำนาจกลาง..รัฐบาลโรมาเนียจึงสละความเป็นกลาง และเปิดฉากโจมตี ในวันที่ 27 สิงหาคม 1916 โดยได้รับความสนับสนุนส่วนหนึงจากรัสเซีย
โรมาเนียถูกบีบให้ลงนามสงบศึกหลังจากรัสเซียถอนตัวจาสงครามเนื่องจากการปฏิวัติเดือนตุลาคม เมือ วันที่ 9 ธันวาคม 1917
กองทัพโรมานเนียสถาปนาการควบคุมเหนือเบสซาราเบีย เมือกองทัพรัสเซียละทิ้งดินแดนดังกล่าว แม้การลงนามในสนธิสัญญาโดยรัฐบาลโรมาเนียและบอลเซวิค ให้กองทัพโรมาเนียถอนกำลังออกจากเบสซาราเบียภายในสองเดิน แต่โรมาเนียผนวกเบสซาราเบียเข้าเป็นดินแดนของตนโดยอาศัยอำนาจอยางเป็นทางการของมติที่ฝ่านโดยสภานิติบัญญัติท้องถิ่นของดินแดนในการรวมเข้ากับโรมาเนีย
โรมาเนียยุติสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางอยางเป็นทางการโดยการลงนามในสนธิสัญญาบูคาเรศต์ ภายใต้สนธิสัญญากับกล่าว โรมาเนียมีข้อผูกมัดที่จะยุติสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางและยกอินแดนบางส่วนให้แก่ ออสเตรีย-ฮังการี ยุตกิรควบคุมช่องเขาบางแห่ง และยกสัมปทานน้ำมันแก่เยอรมนี เพื่อแลกเปลี่ยนกับฝ่ายมหาอำนาจกลางจะรับรองเอกราชของโรมาเนียเหนือเบสซาราเบีย สนธิสัญญาดังกล่าวถูกทำลายลงในเดือนตุลา และโรมาเนียเข้าสู่สงครามอีกครั้งเมือวันที่ 10 พฤศจิกายน 1918 สนธิสัญญาจึงเป้นโมฆะตามเงื่อนไขของการสงบศึกที่คองเปียญ..
สหรัฐอเมริกา เดิมดำเนินนโยบายไม่แทรกแซง เพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความขัดแย้งระหว่างประเทศและเป็นนายหน้าสันติภาพ เมื่อเรืออูเยอรมนีจมเรือโดยสารลูซิทาเนียของอังกฤษ ซึ่งมีชาวอเมริกันบนเรือ128 คน อเมริกาแสดงความอดกลั้น โดยประธานาธิบดีวิลสันได้สาบานว่า “อเมริกามีทิฐิมากเกินกว่าจะสู้” และเรียร้องให้ยกเลิการโจมตีเรือพลเรือน ซึ่งเยอรมันยอมตาม วิลสันพยายามเป็ฯไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทแต่ล้มเหลว เขาเตือนย้ำว่าอเมริกาจะไม่ทนต่อสงครามเรื่อดำน้ำไม่จำกัดขอบเขต.. อเมริกาประสบเหตุวินาศกรรมและสงสัยว่าเยอรมันอยู่เบื้องหลัง
มกราคม 1917 เยรอมนีทำสงครามเรือดำน้ำไม่จำกัดขอบเขตอีกครั้งรัฐมนตรีต่างประเทศ บอกแก่เม็กซิโก ผ่านโทรเลข..ว่า อเมริกมีแนวโน้มเข้าสู่สงครามหลังสงครามเรือดำน้ำไม่จำกัดขอบเขตเริ่มขึ้น และเชิญเม็กซิฏกเข้าสู่สงครามเป็นพันธมิตรของเยอรมนีต่อสหรัฐอเมริกา เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน เยอรมนีจะส่งเงินให้เม็กซิโกและช่วยให้เม็กซิโกได้รับดินแดนเท็กซัส นิวเม็กซิโกและอริโซนาที่เม็กซิโกเสียไประหว่างสงครามเม็กซิฏ-อเมริกา สาธราณชนชาวอเมริกันมองว่าเป็นเหตุแห่งสงคราม
อินเดีย.. สหราชอาณาจักรได้รับความจงรักภักดีอย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อนจากภายในเหล่าผู้นำทางการเมืองกระแสหลัง ตรงข้ามกับอังกฤษซึ่งหวาดกลัวการปฏิวัติชาวอินเดีย ในความเป็นจริงกองทัพอินเดียมีกำลังพลเหนือกว่ากองทัพอังกกฤษเมือสงครามเริ่มต้นใหม่ ๆ อินเดียภายใต้การปกครองของอังกฤสนับสนุนความพยายามของสงครามของอังกฤษอย่างมากโดยการจัดหากำลังคนและทรัพยากร รัฐสภาอินเดียปฏิบัติเช่นนั้นด้วยหวังว่าจะได้รับสิทธิปกครองตนเอง อังฏฟษสรความผิดหวังให้แก่อินเดียกระทั่งนำไปสู่ยุคของมหาตมะคานธี..
กลุ่มไตรภาคีหรือ มหาอำนาจกลางได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน จักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน
กลุ่มไตรสัมพันธมิตรได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
แล้วยังมีประเทศต่าง ๆ ที่ทยอยเข้าร่วมสงครามด้วยเหตุผลและแรงจูงใจที่ต่างกัน
อิตาลี เป็นพันธมิตรกับบเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี อิตาลีมีเจตนาของตนบนพื้นที่ออสเตีย จึงทำสัญญาอย่างลับ ๆ กับฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการลบล้างพันธมิตรเก่าอย่างส้นเชิง อิตาลีปฏิเสธการเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางโดยอ้างว่าฝ่ายตนเป็นผู้กระทำผิด
ออสเตรีย-ฮังการี ได้เสนอในหอิตาลีวางตัวเป็นกลางโดยยื่นข้อเสนออาณานิคมตูนิเซียเป็นการตอบแทนแต่ทางสัมพันธมิตก็ยืนข้อเสนอเพื่อดึงอิตาลีมาเป็นพวกตนเช่นกัน จึงเป็นการนำมาซึ่งสนธิสัญญาลอนดอน หลังการรุกรานตุรกี อิตาลีจึงเข้าร่วมสงคราม โดยประกาศสงครามต่อออสเตรีย-ฮังการีในวันที่ 23 พฤษภาคม 1915 และอีก15 เดือนให้หลังจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี
โรมาเนียเป็นอีกประเทศที่ประกาศตนเป็นกลางและให้เหตุผลว่าฝ่ายมหาอำนาจกลางเป็นผู้รุกรานและโรมาเนียไม่มีข้อผูกมัดที่เข้าสู่สงคราม
เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรสัญญาว่าจะยกดิอแนดขนาดใหญทางตะวันออกของฮังการี(ทรานซิลเวเนียและบานัท)ซึ่งมีประชากรโรมาเนียจำนวนมากอาศัยอยู่ใหแก่โรมานเนีย แลกเปลี่ยนกับกับการที่โรมาเนียต้องประกาศสงครามต่อฝ่ายมหาอำนาจกลาง..รัฐบาลโรมาเนียจึงสละความเป็นกลาง และเปิดฉากโจมตี ในวันที่ 27 สิงหาคม 1916 โดยได้รับความสนับสนุนส่วนหนึงจากรัสเซีย
โรมาเนียถูกบีบให้ลงนามสงบศึกหลังจากรัสเซียถอนตัวจาสงครามเนื่องจากการปฏิวัติเดือนตุลาคม เมือ วันที่ 9 ธันวาคม 1917
กองทัพโรมานเนียสถาปนาการควบคุมเหนือเบสซาราเบีย เมือกองทัพรัสเซียละทิ้งดินแดนดังกล่าว แม้การลงนามในสนธิสัญญาโดยรัฐบาลโรมาเนียและบอลเซวิค ให้กองทัพโรมาเนียถอนกำลังออกจากเบสซาราเบียภายในสองเดิน แต่โรมาเนียผนวกเบสซาราเบียเข้าเป็นดินแดนของตนโดยอาศัยอำนาจอยางเป็นทางการของมติที่ฝ่านโดยสภานิติบัญญัติท้องถิ่นของดินแดนในการรวมเข้ากับโรมาเนีย
โรมาเนียยุติสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางอยางเป็นทางการโดยการลงนามในสนธิสัญญาบูคาเรศต์ ภายใต้สนธิสัญญากับกล่าว โรมาเนียมีข้อผูกมัดที่จะยุติสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางและยกอินแดนบางส่วนให้แก่ ออสเตรีย-ฮังการี ยุตกิรควบคุมช่องเขาบางแห่ง และยกสัมปทานน้ำมันแก่เยอรมนี เพื่อแลกเปลี่ยนกับฝ่ายมหาอำนาจกลางจะรับรองเอกราชของโรมาเนียเหนือเบสซาราเบีย สนธิสัญญาดังกล่าวถูกทำลายลงในเดือนตุลา และโรมาเนียเข้าสู่สงครามอีกครั้งเมือวันที่ 10 พฤศจิกายน 1918 สนธิสัญญาจึงเป้นโมฆะตามเงื่อนไขของการสงบศึกที่คองเปียญ..
สหรัฐอเมริกา เดิมดำเนินนโยบายไม่แทรกแซง เพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความขัดแย้งระหว่างประเทศและเป็นนายหน้าสันติภาพ เมื่อเรืออูเยอรมนีจมเรือโดยสารลูซิทาเนียของอังกฤษ ซึ่งมีชาวอเมริกันบนเรือ128 คน อเมริกาแสดงความอดกลั้น โดยประธานาธิบดีวิลสันได้สาบานว่า “อเมริกามีทิฐิมากเกินกว่าจะสู้” และเรียร้องให้ยกเลิการโจมตีเรือพลเรือน ซึ่งเยอรมันยอมตาม วิลสันพยายามเป็ฯไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทแต่ล้มเหลว เขาเตือนย้ำว่าอเมริกาจะไม่ทนต่อสงครามเรื่อดำน้ำไม่จำกัดขอบเขต.. อเมริกาประสบเหตุวินาศกรรมและสงสัยว่าเยอรมันอยู่เบื้องหลัง
มกราคม 1917 เยรอมนีทำสงครามเรือดำน้ำไม่จำกัดขอบเขตอีกครั้งรัฐมนตรีต่างประเทศ บอกแก่เม็กซิโก ผ่านโทรเลข..ว่า อเมริกมีแนวโน้มเข้าสู่สงครามหลังสงครามเรือดำน้ำไม่จำกัดขอบเขตเริ่มขึ้น และเชิญเม็กซิฏกเข้าสู่สงครามเป็นพันธมิตรของเยอรมนีต่อสหรัฐอเมริกา เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน เยอรมนีจะส่งเงินให้เม็กซิโกและช่วยให้เม็กซิโกได้รับดินแดนเท็กซัส นิวเม็กซิโกและอริโซนาที่เม็กซิโกเสียไประหว่างสงครามเม็กซิฏ-อเมริกา สาธราณชนชาวอเมริกันมองว่าเป็นเหตุแห่งสงคราม
อินเดีย.. สหราชอาณาจักรได้รับความจงรักภักดีอย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อนจากภายในเหล่าผู้นำทางการเมืองกระแสหลัง ตรงข้ามกับอังกฤษซึ่งหวาดกลัวการปฏิวัติชาวอินเดีย ในความเป็นจริงกองทัพอินเดียมีกำลังพลเหนือกว่ากองทัพอังกกฤษเมือสงครามเริ่มต้นใหม่ ๆ อินเดียภายใต้การปกครองของอังกฤสนับสนุนความพยายามของสงครามของอังกฤษอย่างมากโดยการจัดหากำลังคนและทรัพยากร รัฐสภาอินเดียปฏิบัติเช่นนั้นด้วยหวังว่าจะได้รับสิทธิปกครองตนเอง อังฏฟษสรความผิดหวังให้แก่อินเดียกระทั่งนำไปสู่ยุคของมหาตมะคานธี..
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...