ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน
ซึ่งมีดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลมาก รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นชาวเติร์กปกครองคนส่วนใหญ่ที่เป็นอาหรับมุสลิมนั้น ขาดประสิทธิภาพ อ่อนแอ กระทั้งยุโรปเรียกจักวรรดินี้ว่าเป็น "คนป่วยของยุโรป" แม้เศรษฐกิจจะอยู่ในขั้นใกล้ล้มละลาย การถูกกดดันจากศัตรูภายนอก แต่รฐบาลยังสามารถควบคุ
มดินเแดนต่าง ๆ ของจักรวรรดิที่กว้างใหญ่และแตกแยก ตลอดจนยังได้รับความจงรักภักดีของชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นประเทศใต้บังคับของรัฐบาลออตโตมัน เหตุผลสำคัญคือความอดทนของชนชาติต่างๆ ที่อยู่ใต้ปกครองนั้นเอง
การที่จักรวรรดิถูกแบ่งการปกครองออกเป็นท้องถ่ินนั้น มิได้ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกแบ่งแยกหรือมีความจงรักภักดีเฉพาะท้องถิ่นด ทั้งนี้เพราะแต่ละท้องถิ่นมิไ/ด้มีการแยกออกจากกันโดยพรมแดน ภาษาหรือระเบียบข้อบังคับ ประเทศอาหรับทั้งหลายมีความรู้สึกเป็นชาติเดียวกันโดยมีศูนย์รวมใหญ่ทางจิตใจอยู่บนศาสนา ระบบการปกครองมิได้แบ่งปยกชาวเติร์กออกาจากชาวอาหรับและชาวเคิร์ดส์ ทั้งนี้เพราะแต่ละกลุ่มนับถือศาสนาเดียวกัน หรืออาจหล่าวได้ว่าจักวรรดิออตโตมันก็คือมุสลิม ทั้งนี้เพราะจักรวรรดิออตโตมันเป็นผุ้สืบทอดจักวรรดิอาหรับอิสลามนั้นเอง
กว่า 4 ศตวรรษ ออตโตมันปกครองดินแดนต่าง ๆ ในตะวันออกกลางอยู่นั้นได้ทำให้อารยธรรมอาหรับและตุรกีผสมผสานกันในหลาย ๆ ด้านแม้การปกครองจะอยู่าภายใต้การปกครองของเติร์ก แต่วัฒนธรรมอาหรับและภาษาอารบิกก็ยังคงเข้มแข็งอยุ่ ชาวอาหรับและภาษาอารบิกมีบทบาทสำคัญในระบบงานด้านการปกครองขอออตโตมัน ภาษาอารบัิกเป็นภาษของคัมภรีกุรอ่านและภาษาในสุเหร่า ส่วนสำคัญของรัฐบาลออกโตมันก็คือกฎมหายชาเรียอันศัดิ์สิทธิ์ ซึ่งจะไม่สามารถเรียรู้ได้ โดยปราศจากความรู้ในภาษาอารบิก
รัฐบาลออตโตมันมิได้มีอิทธิพลอย่างเข้มแข็งในการปกครองเหนือดินแดนต่าง ๆ ของอาหรับ เมื่อหัวหน้าเผ่าตามท้องถ่ิน รหือเจ้าแขกมีอำนาจมากขึ้นก็จะไใ้ความเคารพนับถือเฉพาะตัวเจ้าเมือง โดยมิได้เห็นความสำคัญฐของสุลต่านซึ่งเป็นเจ้าแผ่นดินเลย ดังในเลบานอน ปาเลสไตน์ และอิรัก เจ้าผุ้ปกครองท้องถ่ินหรือหัวหน้าเผ่าซึงเป็นอาหรับมีความเป็ฯอิสระจารัฐบาลกลาง ในอียิปต์เจ้าผู้ปกครอง คือ อิบราฮิม ซึ่งเป็ฯโอรสของมูฮัมหมัน อาลี แนะนำในมีการปฏิรูปการปกครองประเทศซึ่งเท่ากับเป็ฯการเริ่มต้นยุคสมัยใหม่ของอิยิปต์
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสัญญาหลายฉบับที่ยกปาเลสไตน์ให้กับฝ่ายต่าง ๆ
ตามข้อตกลง ซิกเคส-พิคอท Sykes-Picot Agreement เป็นสัญญาร่วมระหว่างอังกฤษ ผรั่งเศส และรัสเซีย มีใจความสำคัญคือปาเลสไตน์จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสเมื่อสิ้นสงคราม
ประกาศบัลฟอร์ Balfour Declaration ปาเลสไตน์จะถูกสร้างเป็นบ้านเกิดเมืองนอนสำหรับชาวยิว
จดหมายแลกเปลี่ยนระหว่างฮุสเซน และแมคมาฮอน Husain-McMahon Correspondence ซึ่งเป็นจดหมายะรหว่างอังกฤษกับผู้แทนอาหรับระบุข้อความว่า ปาเลสไตน์จะตกเป็นของชาวอาหรับ
ครั้งสงครามยุติลงอังกฤษก็พยายามจะควบคุมดินแดนนี้ ส่วยฝ่ายอื่นๆ ตามสัญญาดังกล่าวก็พยายามที่จะรักษาสิทธิของตน มีการปะทะกันทางการทูตระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ฝรั่งเศสกล่าวหาว่าอังกฤษไม่ซื่อสัตย์ในประเด็นปาเลสไตน์ ซีเรีย และโมซุล ปัญหาดังกล่าวยุติในกรประชุมสันติภาพที่ปารี Paris peace Conference ในเดื่อนเมษายน ปี 1920 โดยที่ประชุมมีมติให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติของอังกฤษภายมต้สันิบาตชาติ จึงมีอีก 2 พวกที่ไม่พอใจคำอนุมัติดังกล่าว คือ ไซออนิสต์และอาหรับ
การปกครองของอังกฤษในปาเลสไตน์ยากลำบากมาก อังกฤษปกครองนานถึง 30 ปี แต่ไม่สามารถแก้ไปญหาปาเลสไตน์ได้
ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ
- 1 กรกฎาคม 1920 อังกฤษส่ง เซอร์ เฮอร์เบิร์ต แซมวล ในฐานะข้าหลวงใหญ่คนแรกของรัฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่ายพลเรื่อรัฐบาลพลเรือนได้เปิดให้มีการซื้้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกรทำโดยมูลนิธิยิวและบริษทัทพัฒนาที่ดินปาเลสไตน์ เซอร์ เฮอร์เิบิร์ด แซมวล ผุ้กลายเป็นผุ้สนัลสนุนลัทธิไซออนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างสงครา ได้จัดโควต้าสำหรับการอพยพของชาวยิว 16,500 คนในปีแรก แต่ก่อนจะมีการประกาศโควต้าดังกล่าวก็มีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรับในปากเลสไตน์ การอพยพดังกล่วหยุดชะงัก ประชาชอาหรับเกรงว่าจำนวนชาวยิวอพยพเข้าสู่ปากเลสไตน์เพ่ิมมากขึ้น และไม่ช้าประเทศยิวจะถูกก่อตั้งขึ้น
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์อย่งถูกต้งอตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยู่ในประกาศบัลฟอร์ และยิวไม่มีสิทธิซื้อที่ดินด้วย ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้ทั้งฝ่ายยิวและอาหรับ
- การพยายามจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ โดยให้สภาประกอบด้วยสมาชิก 23 คน รวมทั้งข้าหลวงใหญ่ด้วย สามชิก 10 คนมาจากการแต่งตั้ง และ12 คนมาจากการเลือกตั้ง ซึงแบ่งเป็นยิว 2 คริสเตียน 2 และอิสลาม 8 คน แต่ฝ่ายอาหรับเชื่อว่าแม้สมาิชิกที่มาจากการเลือกตั้งเป็นชาวยิว 2 คนแต่จะต้องสามาชิกที่เป็นชาวยิวที่ได้รับการแต่งตั้งเข้ามา ความพยายามดังกล่าวจึงล้มเหลว
- ยิวแตกเป็นสองกลุ่ม คือไซออนนิสต์ คือพวกที่ต้องการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์ และพวกที่ไม่ใช้ไซออนนิสต์คือพวกที่ไม่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ การอพยพของยิวจึงมีทั้งเข้าและออกจากปาเลสไตในระยะแรกอาหรับเบาใจด้วยเห็นว่ายิวอพยพออกจากปาเลสไตน์จึงเกิดความสงบในดินแดนปาเลสไตน์ช่วงเวลาหนึ่งแต่เมือความจริงปรากฎว่ายิวที่อพยพเข้าปาเลสไตน์มีจำนวนมากขึ้นและมีโครงข่ายเกี่ยวเนื่องกับพวกยิวที่ไม่ต้องการกลับมายังปาเลสไตน์ความสงบจึงหยุดลง ความสงบสิ้นสุดลงโดยฝ่ายอาหรับไม่พใจการกระทำของยิวที่ชาวยิวจำนวนหนึ่งเดินขบวนไปที่เวลิ่ง วอลล์ ในเยรูซาเลมและชักธงไซออนนิสต์ และร้องเพลงขาติไซออนนิสต์ ความรุนแรงปะทะนานเป็นเวลา 2 สัปดาห์ มีผุ้เสียชีวิตทั้งสองฝ่ายร่วม800 คน
คณะกรรมการสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "พวกอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ชีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต..สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย ..พวกยิวจะต้องถูกขับไล่.."
ภายหลังคณะกรรมการองค์การสันนิบาตชาตอภิปรายในปัญหาปาเลสไตน์ รัฐบาลอังกฤษจึงจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษภายใต้การนำของเซอร์ จอห์ โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุ รายงานดังกล่าวอ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกันการอพยพในปีต่อๆ มา
บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ปี 1930 มีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพของยิว และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอกาสจับจองที่ดอนของรัฐบาลมากว่ายิว ปฏิกิริยารุนแรงจากผู้นำไซออนนิสต์ทั่งโลกตามมาทันที่ เชมไวซืแมน ประธานองค์การยิวลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษในสมัยนั้นพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความ เขาปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่จะพัฒนาบ้านเกิดเมือนอนของยิวแลสัญญาว่าการอพยพของยิวจะัยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับต้องยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะไ้ด้รับที่ดินของรัฐบาล ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับชาวอาหรับเรียกบันทึกนี้ว่าเอกสารสีดำเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศึตรูโดยตรงต่อรัฐบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ในทันที่ อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจังหวัด
อาหรับไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงในรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สำคัญ และยังแตกแยกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ที่เป็นศัตรูกัน การเรียร้องต่อรัฐบาลในปัญหาต่าง ๆ เช่นเรื่องเอกราช การยุติการอพยพของชาวยิวรวมถึงการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับไม่สามารถที่จะกระตุ้นรัฐบาลให้กระทำการใดๆ เพื่อจุดมุ่งหมายของตน
การประหัตประหารยิวโดยนาซีเยอรมัน ปี 1932 นาซีเยอรมันขึ้นมามีอำนาจและทำการประหัตประหารชาวยิวในเยอรมนี ผลที่ตามมาคือ จำนวนผุ้อพยพเพ่ิมเป็น 3 เท่าโดยมาจากเยอรนีความเกลียดกลัวของอาหรับที่มีต่อยิวเพิ่มมากขึ้น ท่าที่ผุ้นำอาหรับแสดงความเป็นศัตรูกับรัฐบาลและกดดันรัฐบาล
13 เมษา 1936 ชุมชนอาหรับเริ่มใช้ความรุนแรงและโหดร้าย การโจมตีเกิดขึ้นระหว่างชุมชนยิวและชุมชนอาหรับ
รายงานผลการสำรวจสาเหตุของความยุ่งยาก " ความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างชุมชนแห่งชาติ 2 กลุ่ม ภายใจพรมแดนแคบ ๆ ของประเทศเล็ก ๆ ชาวอาหรับประมาณ แสนคน อยู่ในความมอลหม่านต่อสู้กับชาวยิว 400,000 คน กลุ่มคนทั้งสองมีความแตกต่างกัน อาหรับเป็นเอเซีย ยิวแม้จะเป็นเซมิติกเหมือนอาหรับแต่ไ้รับอิทธิพลจากยุโรป ทั้งสองต่างกันทั้งในด้าน ศาสนา ภาษา วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนแนวความคิดและการปฏิบัติตนก็ต่างกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น เป็นอุปสรรคต่อขบวนการสันติภาพ.."
- เมื่อมีการเสนอให้แบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน และทันที่ที่มีอังกฤษออกประกาศแผนการณ์ มีปฏิกิรยิาต่อต้านจากทุกฝ่าย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแบ่งแยกก็จะเดินทางมาเพื่อพิจารณาดูพื้นที่ในการแบ่งการความยุ่งยากในแผนการณ์ โดยเฉพาะเรื่องการเงินจึงยังไม่สามารถดปฏิบัิติตามแผนได้
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเสนอนโยบายใหม่ คือแผนการณ์ 10 ปี ในการจัดให้ปาเลสไตน์มีสภาบันที่เป้ฯตัวแทนของประชาชน ให้มีรัฐธรรมนูญ การพอพยของยิวจะสิ้นสุด ภายใน 5 ปี การขายที่ดินของอาหรับจะได้รับอนุญาตเพียงภายในพื้นที่ที่ถูกเลือกเท่านั้น.. รัฐาลพบว่าตัวเองอยู่ภายมจ้การโจมตีจากทั้งชุมชนยิวและชุมชนอาหรับในทันที
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น