การบุกเกาะชิชิลีภายใต้การปฏิบัติการฮัสกี้ เป็นหนึ่งในปฏิบัติการหลักในสงครามโลกครั้งที่สองของฝ่ายสัมพันธมิตร เพื่อยึดครองเกาะชิชิลีจากฝ่ายอักษะ เป็นการเปิดฉากของการทัพอิตาลี
ปฏิบัติการฮัสกี้เริ่มต้นขึ้นในคืนระหว่างวันที่ 9 และวันที่ 10 กรกฎาคม 1943 และยุติลงในวันที่ 17 สิงหาคม ปีเดียวกัน โดยฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถบรรลุเป้าหมายในเชิงยุทธศาสตร์จากการขับไล่กองกำลังทางบก ทางน้ำและทางอากาศของฝ่ายอักษะออกจากเซิชิลีได้สำเร็จ ยังผลให้ฝ่ายสัมพันธมิตรสามรถควบคุมน่านน้ำทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมุสโสลินีถูกขับไล่ให้พ้นจาตำแหน่างนายกรัฐมนตรี่อิตาลี ความสำเร็จดังกล่าวปูทางสู่การรุกคืบในอิตาลีแผ่นดินใหญ่ในเวลาต่อมา
แผนการดำเนินงานฮัสกี้เรียว่าโจมตีทั้งบนบกและในน้ำ กองทัพอเมริกาดำเนินการโจมตีเชื่อมโยงไปถึงทางใต้และทางตะวันออกและบนชายฝั่งทางตอนใต้กลางของเกาะซิชิลี โดยการจู่โจมซึ่งอยู่ทั้งบนบกและในน้ำปืนใหญ่ยังสนับสนุนจากเรือรบแต่มีคำสั่งห้ามการสนับสนุนทางอากาศ โครงสร้างทางคำสั่งที่ซับซ้อนซึ่งต้องโจมตีพร้อมกันทั้งทางบกและทางเรือดำเนินการโดย นายพล ดไวต์ ดี. ไอเซนเฮาร์ และนายพลแห่งแอฟริกาเนือ ฮารอด อเล็กซานเดอร์แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งนำทหารอังกฤษเข้าโจมตีชายฝั่งทางตอนใต้ของเกาะซิชิลีร่วมกับอเมริกา
หลังจากการได้รับชัยชนะในแอฟริกาเหนือของสัมพันธมิตรการปะรเมินสภานการณ์ของฝ่ายอักษะย่อมประเมินออกว่าการยกทัพจากแอฟริกาฝ่านไปยังทะเลยุโรปใต้ของคาบสมุทรอิตาลีนั้นเหมาะที่จะเป็นจุดสกัดการเคลื่อนพลของฝานสัมพันธมิตร การยกพลขึ้นบกที่ชิชิลีจึงเป็นความเสียงต่อการสูญเสียเป็นอย่างยิ่ง
โดยแผนการของฝ่ายสัมพันธมิตรคือการนำกำลังในอแฟริกาเหนือขึ้นบกที่ฝั่งประเทศอิตาลีเพื่อเข้าสู่เยอรมันต่อไป เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียของฝ่ายสัมพันธมิตร ได้นำไปสู่การถกเถียงของคณะการวางแผนของสัมพันธมิตร ที่จะใช้วิธีการข่าวสร้างความเข้าใจผิดให้แก่ฝ่ายเยอรมัน เพื่อเบนความสนใจในการตั้งรับที่ชิ
ชิลี และอิตาลี
การข่าวฝ่ายสัมพันธมิตร คิดออกมาว่าการให้ฝ่ายเอยมันรับข่าวล่วงนั้นควรเป็นเอกสารของนายทหารชั้นสูงในคณะเสนาธิการผสมกองทัพสัมพันธมิตรที่ทางเยอรมันรู้ดีวานายทหารเหล่านั้นอยู่ในฐานะที่รู้ทุกอย่างเกี่ยวกับแผน คือควรจะส่งสารรูปแบบใดเพื่อที่จะสามารถลวงฝ่ายเยอรมัน แต่วิธีการที่จะให้สารถึงมือเยอรมันนั้น เป็นวิธีการที่ไม่ธรรมดาคือการส่งสารโดยศพ ซึ่งวิธีการนี้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาระดับสูงขึ้นไปเพราะเป็นเรื่องสำคัญมาก หากไม่ได้รับความเห็นชอบจากผุ้บังคับบัญชา โครงการก็ต้องล้มไป
การเตรียมการอย่างพิถีพิถัน ตั้งแต่การเลื่อกศพ การเลือกบริเวณที่จะปล่อยศพ ร่วมถึงพาหนะที่จะใช้ปล่อยศพ แผนการนี้เป็นแผนการที่เสี่ยงต่อความล้มเหลว
หลังจากปฏิบัติการตามแผนที่ได้วางไว้ คณะวางแผนก็ใจจดใจจ่อเผ้าดูข่าวกรองความเคลื่อนไหวของกองทัพเยอรมันและอิตาลีในทะเลเมลิเตอร์เรเนียน ปลายพฤษภามีการเคลื่อนย้ายกองพลยานเกราะที่ 1 จากภาคใต้ฝรั่งเศสไปตั้งมั่นที่เมืองทริโปลิสในกรีซ กองบัญชาการกองทัพเรือเยอรมันได้สั่งการให้วางทุ่นระเบิดเพิ่มขึ้นอีก 3 แนวที่ชายฝั่งกรีซ ทหารเรือเยอรมันในทะเลอีเจียนได้รับคำสั่งให้ดูแลแนวทุ่นระเบิดตามฝั่งตะวันตกของกรีซแทนทหารเรืออิตาลี ตอนต้นเดือนมิถุนายนมีการย้ายกองเรือตอร์ปิโดจากชิชิลีไปยังฐานทัพในทะเลอิเจียน และคอร์ซิการรวมทั้งบางส่วนของชายฝั่งด้านเหนือของชิชิลีด้วย การปฏิบัติการ Mince Meat ได้ผล การยกพลของฝ่ายสัมพันธมิตรที่ชิชิลี ในวันที่ 10 กรกฏาคม รายงานการปฏิบัติการยุทธการ Husky สรุปการสูญเสียทหารในการโจมตียกพลขึ้นบกมีจำนวนต่ำกว่าที่ประมาณการไว้มาก ทั้งนี้และทั้งนั้นเนื่องจากปฏิบัติการ การปล่อยข่าวล่วง “มินซ์มีท” มีเหตุที่ทำให้เชื่อได้ว่าฝ่ายอักษะเชื่อว่าสัมพันธมิตรจะยกพลขึ้นบกที่ ซาร์ดิเนีย และเพโลพอนนิซัส ในกรีซนั้นเอง
วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
วันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:UN
องค์การระว่างประเทศ องค์กรสหประชาชาติ United Nations Organizaton จัดตั้งขึ้นโดยยึดหลักสันติภาพและภารดรภาพเป็นหลัก
ในการแสดงหาสันติภาพเริ่มขึ้นที่ยุโรป ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการเคลื่อนไหวที่จะดำรงไว้ซึ่งสันติภาพอันถาวร แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ต้นคริสตศตวรรษที่ 19 ประเทศต่าง ๆ ร่วมมือกันแสวงหาลู่ทางขนัดปัญหาระหว่างประเทศโดยอาศัยการประชุมปรึกษากัน เช่นการปรชุมแห่งเวียนนา ,การประชุมเอกซ์ลาซาแปล เป็นต้น เป็นสมัยที่เรียกว่า สมัยความร่วมือแห่งยุโรป Concert of Europe ต่อมาเกือบร้อยปี มีการประชุมที่กรุงเฮก ในปี 1899 และ 1907 เพื่อพิจารณาลดอาวุธทั่วไป ความร่วมมือยังปรากฏในรุ)ของความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านต่าง ๆ เช่น การจัดตั้งสไภพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ สหภาพไปรษณีย์สากลระหว่างประเทศเป็นต้น แต่ความพยายามดังกล่าวได้ผลไม่ถาวร จนสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 ประธานธิบดี วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้พยายามจัดตั้งสันนิบาตชาติ เพื่อดำรงรักษาสันติภาพของโลกในถาวรแต่ในที่สุดสันนิบาตชาติก็ต้องล้มเลิกไป ประเทศต่าง เห็นถึงคุนประโยชน์ของสันนิบติชาติในท่ามกลางสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงร่วมมือกนสถาปนาองค์การสหประชาชาติ ขึ้นเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ปี 1945 ในขั้นแรกมีประเทศเข้าร่วมลงนาม 24 ประเทศและประกาศสงครามกับฝ่ายอักษะ
คำประกาศจากพระราชวังเซนต์ เจมส์ วันที่ 12 มิถุนายน 1941 ซึ่งเป็นเวลาที่สครามโลกครั้งที่ 2 กำลังดำเนินอยู่ ผู้แทนประเทศพันธมิตร อังกฤษ แคนาด ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหภาพแอฟริกาใต้ และผุ้แทนรัฐบาลพลัดถิ่น 8 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันที่พระราชวังเซนต์ เจมศ์ กรุงลอนดอน เพื่อปรึกษากันเกี่ยวกับนโยบายที่จะทำสงคราม ในขณะเดียวกันที่ปรุชุมได้พิจารณาถึงปัญหาการดำรงชีวิตไว้ซึ่งสันติภาพตลอดจนความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ผู้แทนประเทศต่าง ๆ ลงนามในคำประกาศซึ่งเรียกันต่อมาว่า “คำประกาศจากพระราชวังเซตต์ เจมส์”
หลังจากออก “คำประกาศจากพระราชวังเซต์ เจมส์ แล้วประธานาธิบดี โรสเวลต์ แห่งสหรัฐอเมริกาและวินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษ ได้เจรจากันเกียวกับสันติสุขโลกในอนาคตบนเรือออกัสตา นอกฝั่งหมู่เกาะนิวฟันแลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก และได้ร่วมประกาศ “กฎบัติแดตแลนติก”เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 1941 เป็นคำประกาศหลักการร่วมกันในการที่จะสถาปนาสันติสุขโลกในอนาคตสาระสำคัญของกฎบัติแอตแลนติก มีใจความดังนี้
-ประเทศทั้งสองจะส่งเสริมให้มวลมนุษย์ทุกชาติทุกภาษาได้รับความมั่นคงปลอดภัยพ้นจากากรรุกราน
- ประเทศทั้งสองจะส่งเสริมให้มนุษย์ทุกชาติทุกภาษามีเสรีภาพที่จะเลือกการปกครองแบบใดแบบหนึ่งตามที่ตนปรารถนา
- ประเทศทั้งสองจะส่งเสริมให้ประเทศต่าง ๆ มีสิทธิเท่าเยมกันในด้านการพาณิชย์และการแสงหาวัตถุดิบที่แต่ละประเทศประสงค์เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของตนให้มั่นคง
- ประเทศทั้งสองประสงค์ที่จะให้ชาติต่าง ๆร่วมมือกันทางเศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมค่าแรงงานและปรับปรุงมาตรฐานการครองชีพของกรรมกรให้ดีขึ้น
- ประเทศทั้งสองมีเจตจำนงค์ที่จะให้ทุกประเทศลิกใช้กำลังประหัตประหารกัน
ต่อมารัฐบาลต่าง ๆ 10 ประเทศได้รับรองกฎบัติแอตแลนติกและให้คำมั่นว่าจะร่วมมืออยางเต็มี่เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกฎบัติดังกล่าว ซึ่งในเวลานั้นสหรัฐอเมริกามิได้อยู่ในภาวะสงคราม
คำประกาศแห่งสหประชาชาติ หรือปฏิฐฐาแห่งสหประชาชาติ กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ร่างคำประกาศดังกล่าว โดยมีสี่มหาอำนาจ คือ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหรภาพโซเวียต และจีน ได้ร่วมลงนามในคำประกาศแห่งสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1942 ต่อมา ประเทศพันธมิตรอีก 24 ประเทศได้ลงนามรับรองด้วย
คำประกาศฉบับนี้ ทุกประเทศที่ร่วมลงนามพากันให้คำมั่นว่าจะปกิบัติตามความมุ่งหมายและหลักการขอฏณบัติแอตแลนติก จะดำเนินการสงครามต่ไปอย่างเต็มกำลังจนกว่าจะได้ชัยชนะและจำม่แยกกันทำสนธิสัญญาสันติภาพ
31 ตุลาคม 1943 อังกฤษ จีน สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา ปรุชะมกันเกี่ยวักบการสงครามได้ออกคำประกาศกรุงมอสโก แสดงเจตจำนงที่จะสร้างองค์การใหญ่ระหว่างประเทศขึ้งองค์การหนึ่ง โดยยึดหลักอธิปไตย ความเสมอภาค และการที่แตะละรัฐใฝ่ใจในสันติสุขเป็นมาตรฐาน และจะเปิดโอกาสให้ประเทศต่าง ๆ วึ่งมีคุณสมบัติดังกล่าวไมว่าใหญ่หรือเล็กเข้าเป็นสมาชิก ทั้งนี้เพื่อช่วยำนฝดุงรักษาสันติภาพและความมั่นคงปลอดภัยระหว่างประเทศไว้
อีกหนึ่งเดือนต่อมาต่อมา โรสเวลล์ สตาลิน และเชอร์ชิลล์ ประชุมกันอีกครั้งที่ เตหะราน ประเทศอิหร่าน การประชุมครั้งนี้นำไปสู่การออกคำประกาศยืนยันความจำเป็ฯที่จะต้องจัดตั้งองค์การโลกขึ้น การประชุมที่เตหะรานนำไปสู่การประชุมครั้งใหญ่ที่คฤหาส์นดัมบาร์ตันโอกส์ ณ กรุงวอชิงตัน ในปี 1944 ผู้แทน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ จีน สหภาพโซเวียต ได้ร่างข้อเสนอคดัมบาร์ตัน โอคส์ขึ้น ข้อเสนอนี้เป็นโครงการก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักในนามว่า องค์การสหประชาชาติ
โรสเวลต์ เชอร์ชิลล์ และสตาลิน ประชุมกันอีกครั้งที่มืองยัลตา ในคาบสมุทรไครเมีย ในปี 1945 เพื่อพิจารณาการยึดครองเยอรมนีเมื่อสงครามยุติแล้ว ในระหว่างการประชุมนี้ ได้มีการพิจารณาโครงร่างสหประชาชาติ หรือข้อเสนอดัมบาร์ตัน โอคส์ ในที่สุดที่ประชุมได้ออกแถลงการณ์ว่าประเทศมหาอำนาจทั้งสามและพันธมติร จะดำเนินการสถาปนาองค์การระหวางประเทศขึ้นโดยเร็วที่สุด และจะจัดให้มีการประชุมครั้งใหญ่ที่นครซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา เพื่อร่วมกันจัดทำกฎบัติขององค์การสหประชาชาติต่อไป
การประชุมที่นครซานฟรานซิสโกเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน 1945 ผุ้แทนประเทศต่าง ๆ 51 ประเทศเข้าร่วมประชุมเพื่อพิจารณาร่างกฎบัตรสหประชาชาติ การประชุมครั้งสิ้นสุดในวันที่ 25 มิถุนายน ปีเดียวกัน ซึ่งเป็นวันที่ที่ประชุมลงคะแนนเสียเป็นเอกฉันท์รับรองกฎบัตรนยี้ วันต่อมา ผุ้แทนประเทศต่าง ๆ ได้ลงนามในกฎบัตรแห่งองค์การ หลังจากนี้ประเทศส่วนใหญ่ที่ร่วมลงนามได้รสัตยบันในวันที่ 24 ตุลาคม ปี1945 วันที่ 24 ตุลาคม จึงเป็นวันสหประชาชาติในเวลาต่อมา
วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Douglas MacArthur
แมคอาร์เธอร์ เป็นผู้บัญชาการกองกำลังสหรัฐฯตะวันออกไกลและช่วงชิงพื้นที่มหาสทุทรแปซิกฟิก ด้านตะวันตกเฉียงใต้จากประเทศญี่ปุ่น โดยใช้ออสเตรเลียเป็นฐาน วลีที่ที่มีชื่อเสียงที่แมกอาเธอร์กล่าวแก่ชาวฟิลิปปินส์ระหว่างถอยหนีกองทัพญี่ปุ่นในฟิลิปปินส์คือ “ข้าพเจ้าจะกลับมา I shall Return” และเมื่อกลับมาตามคำสัญญาหลังการถอยไปตั้งหลักที่ออสเตรเลีย แมกอาเธอร์ ได้ประกาศอีกครั้งในขณะที่เดินลุยน้ำลงจาเรือที่อ่าวเลย์เตว่า “ข้าพเจ้ากลับมาแล้ว I Have Return” พลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์ Douglas MacArthur เป็นจอมพลชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในการบัญชาการรบลภาคพื้นแปซิกฟิก ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบานยูเอสเอส มิซูรี นอกจานี้เขายังเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัยสงครามเย็นในสงครามเกาหลี อีกด้วย
พลเอก แมกอาร์เธอร์ทำหน้าที่เป็นผู้รับการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไขเป็นทางการของญี่ปุ่น เนื่องจากเขามีเชื้อสายของ นาวเอก พิเศษ แมททิว คราวเรท เพอรี่ ผุ้เคยบีบให้ญี่ปุ่นเปิดประเทศ และดำรงตำแหน่งผุ้บัญชาการยึดครองประเทศญี่ปุ่น เป็นผู้จัดการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของญี่ปุ่นที่กำหนดให้สมเด็จพระจักรพรรดิ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญและห้ามีกองกำลังทหาร ญี่ปุ่นจึงมุ่งเน้นด้านเศรษฐกิจและฟื้นตัวได้เร็วขึ้นเนื่องจากไม่ต้องใช้งบประมาณและทรัพยากรเพื่อการป้องกันประเทศ
แมกอาเธอร์ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลังสหประชาชาติในสงครามเกาหลีเกือบจะสามารถเอาชนะเกาหลีเหนือ แต่ก็ถูกปลดออกจากหน้าที่ เนื่องจากการเตรียมบุกประเทศจีน และเสนอให้มีการใช้ระบิดประมาณุ กับประเทศจีนซึ่งเป็นผุ้สนับสนุนหลักของเกาหลีเหนือในสงครามเกาหลี ซึ่งเป็นการพยายามฝ่าฝืนคำสั่งของประธานาธิบดี แฮร์รี่ เอส.ทรูแมน
การปฏิบัติการทางทหาร แบบใหม่ของกลยุทธวิวัฒนาการมาใหม่ คือ ในด้านยุทธนาวี การปฏิบัติการในระยะยาวได้ใช้เครื่องบินจากเรือบรรทุกเครื่องยินเป็นอาวุธสำคัญในการรบรุก เป็นพัฒนาการซึ่งทำให้ญี่ปุ่นสิ้นสุดความได้ปรียบที่จะเป็นฝ่ายบงมือปกิบัตการจากรเอรบหลัก ในการรบตามเกาะ การให้ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างทหารบก ทหารเรือและกำลังทางอากาศก็เป็นการเลือกที่จะเป็นการรบภายใต้การบัญชาการอันเดียวกัน นี่คือส่วนหนึ่งของเทคนิคการรบอเมริกาแบบ “กระโดดที่ละเกาะ โดยมิได้มุ่งยึดดินแดนตามความหมายทั่วยไปหากแต่มุ่งรบเพื่อให้ได้มาซึ่งฐานทัพเพื่อให้เรือรบและเครื่องบินสามารถครอบงำทั้งพื้นที่ในน่านน้ำแปซิฟิคตะวันตกทั้งหมด
มกราคม 1943 ผู้นำสัมพันธมิตรเปิดการประชุมที่เมืองคาซาบลังก้า ตกลงที่จะฝันยุทธปัจจัยไปสู่สงครามกับญี่ปุ่น ในเดือนสิงหาคม มีการดำเนินการดังกล่าวโดยประชุมที่เมืองควีเบค โดยกำหนดตัวผู้บัญชากากรทั้งหลายและร่างยุทธศาสตร์ที่จะปฏิบัติการ ภายในไม่กี่เดือน กองทัพภายใต้การนำของนายพลเรือนิมิตส์ ได้ปฏิบัติการการตัดสินใจนั้น โดยโจมตีหมู่เกาะมาร์แชลล์ในตอนกลางของน่านน้ำแปซิฟิค เป็นการแสดงครั้งแรกสำหรับอีกหลายครั้งถึงการทุ่มสรรพสิ่งอันหนักหน่วงมากมายต่อเกาะอันเป็นเป้าหมายและอัตราที่สามารถจะลดลงได้ถ้าการเสิรมกำลังของฝ่ายข้าศึกถูกกระทำจนเป็นไปไม่ได้ ฐานทัพหลักของควาจาลินได้ถูกยึภายใน 10 วัน ของการต่อสู้ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1944 เกาะไซปัน ในหมู่เกาะมาเรียนาส ใช้เวลาเข้ายึดได้นานกว่า และเกี่ยวกับการปฏิบัติการเต็มขั้นของกองทัพเรือในยุทธนาวีที่ทะเลฟิลิปปินส์เพื่อคุ้มครองการยกพลขึ้นบก อย่างไรก็ตาม นี่คือการทำลายสันหลังของแนวการต่อต้านของฝ่ายกองทัพเรือญี่ปุ่นแลได้ปฏิบัติการก้าวหน้ายิ่งกว่านั้นในที่อื่น ๆ เกาะกวมแตกในเดือนสิงหาคม กลุ่มเกาะปาเลาแตก ในเดือนกันยายสเป็นการทำให้การรุกคืบหน้ากว่า สองพันไมล์ เสร็จสิ้นโดยสมบูรณ์น้อยกว่า 1 ปี
การเน้นหนักมุ่งไปที่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของน่านน้ำแปซิฟิค ซึ่งนายพลดักกลาส แมคอาเธอร์ บัญชาการอยู่
วันพุธที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Eastren front
22 มิถุนายนเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซ่า กองทัพเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะรุกรานสหภาพโซเวียตโดยแบ่งการโจมตีอกเป็นสามทางพุ่งเป้าหมายไปยังนครเลนินกราด กรุงมอสโกและแหล่งน้ำมันแถบเทือกเขาคอเคซัส กองทัพเยอรมันบางส่วนได้รับอนุญาตให้ใชบ้ดอนแดนฟินแลนด์ในการโจมตีสหภาพโซเวียต
ฮังการีและสโลวาเกียประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียตท้งระเบิดกรุงเฮลชิงกิฟินแลกน์ประกาศสงครามต่อสหภาพโซเวียต สงครามต่อเนื่องเริ่มขึ้น อังเบเนียประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต
กรกฎาคมกองทัพเยอรมันบุกกรุงริกา เมืองหลวงของลัตเวีย ระหว่างทางไปโจมตีนครเลนินกราด สตาลินประกาศ “นโยบายเผาให้ราบ”กองทัพเยอรมันเคลื่อนทัพถึงแม่น้ำดไนเปอร์ ไอช์แลนด์ถูกยึดครองโดยสหรัฐอเมริกา ยูโกสลาเวียถูกผนวกเข้ากับประเทศต่าง ๆ ที่เป็นฝ่ายนิยมอักษะ
กองทัพเยอรมันแย่งเลนินกราดออกจากส่วนที่เหลือของสหภาพโซเวียต อังกฤษและสหภาพโซเวียตลงนามในข้อตกลงป้องกันร่วมกันโดยให้สัตยาบันว่าจะไม่ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพแยกต่างหากกับเยอรมนี
กองทัพแพนเซอร์ยึดเมือมินสก์ และเปิดทางไปสู่ยูเครน กองทัพแดงโจมตีโต้แถบเลนอนกราด
สิงหาคม ทหารโซเวียตถุกลอมโดยทหารเยอรมันและจับเชลยศึกได้กว่า สามแสนนายเมืองโอเรลถูกยึดเยอรมนียึดเมืองสโมเลนสก์ฮิตเลอร์ย้ายกำลังบางส่วนจากกองทัพกลุ่มกลางไปช่วยกองทัพกลุ่มเหนือและกองทัพกลุ่มใต้ กองทัพเยอรมันเคล่อประชิดนครเลนินกราด ประชาชนรีบสร้างเครื่องกีดขวางข้าศึก เครื่องอินิมาถูกยุด
กันยายน ทัพฟินแลนด์เข้าช่วยเลนินกราดถูกตัอขาดจากโลกภายนอก การปิดล้อมเลนินกราดเริ่มต้นขึ้น ทัพเพยอมันล้อมกรุงเคียฟ ..ยึดกรุงเคียฟ สหภาพโซเยตสูญเสียทหารจำนวนมากในกรปอ้งกัน
ตุลาคม ปฏิบัติการไต้ฝุ่น กองทัพกลุ่มกลางของเยอมนีเริ่มการโจมตีกรุงมสโกเต็มขั้น จอจี้ร์ ซูคอฟเป็นผู้บัชาการกองทัพโซเวียตป้องกันมอสโก ทางใต้กองทัพเยอรมันรุกไปถึงทะเลอซอฟและยึดเมืองมาริอูพอล รัฐบาลโซเวียตย้ายไปยังเมืองคุยบีเซฟ ริ่มฝั่งน้ำโวลกา แต่สตาลินยังอยุ่ในมอสโก ส่วประชาชนเตรียมกับดักรถถังเพื่อรับมือกับกองทัพเยอรมัน กองกำลังเสริมกองทัพแดงจากฤซบีเรียเดินทางถึงกรุงมอสโก มอสโกประกาศกฎอัยการศึก รอสสตอฟ อดน วอน ถูกยึดครองกองทัพกลุ่มใต้เคลื่อทัพไปถึงเมืองซาเวสโตปอล ในคาบสมุทรไครเมียแต่ไม่มีรถถังในการบุก โรสเวลต์อนุมัติเงินกว่า พันล้านดอลล่าร์ตามนโยบายใหเช้ายืมแก่โซเวียต
พฤศจิกายน
เยอรมันยึดเมืองเคิร์สก์ สตาลินกล่าวปราศรัยต่อประชาชนโซเวียตเป็นครั้งที่สองระหว่างการปกครองนสามทศวรรษ
ยุทธการมอสโก อุณหภูมิใกล้มอสโกลต่ำลงถึง ลบสิบสององศาเซลเซียสทหารสกีถูกส่งออกไปโจมตีเยอรมัน
ธันวาคม ทัพเยอรมันอยู่ห่างจากมอสโก 11 ไมล์กองทัพโซเวียตตีโต้ในช่วงทีเกิดพายุหิมะครั้งใหญ่สหราชอาณาจักรประกาศสางครามกับฟินแลนด์
การรุกมอสโกฟยุดชะงักอย่างสมบูรณ์
มกราคม 42
กองทัพแดงเริ่มรุกคืบครั้งใหญ่ภายใต้การนำของนายพลจอจีร์ จูคอฟ ฮิตเลอร์ปราศรัยที่เบอร์ลิน เกียวกับการทำลายล้างชาวยิว และแจ้งว่าความล้มเหลวในการบุกโซเวียตเนื่องจากสภาพอากาศไม่ดี เยอรมันถอนทัพจากแนวรบตะวันออกหลายจุด
กุมภาพันธุ์
กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจากเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมัน
มีนาคม
การรุของกองทัพแดงในคาบสมุราไครเมียเริ่มต้นขึ้น
เมษายน
กองทัพเยอรมนเริ่มการบุกในคาบสมุทรไครเมีย
พฤษภาคม กองทัพโซเวียตเริ่มการโจมตีครั้งใหญ่ทีเมืองคาร์คอฟ มีการตกลงระหว่าง อังกฤษ-โซเวียต กองทัพเยอรมันได้รับชัยชนะทีเมืองคาร์คอฟ
มิถุนายน
กองทัพเยอรมันมุ่งนห้าไปยังเมืองรอสตอฟ ปฏิบัติการสีน้ำเงินเริ่มต้นขึ้น โดยมี่เป้าหมายที่จะยึดครองสตาลินกราดและเทือกเขาคอเคซัส
กรกฎาคม
กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองซาเวสโตปอลได้สำเร็จเป็นการยุติการรบต้านทานของทหารโซเวียตในคาบสมุทรไครเมีย กองทัพเยอรมันยึดเมืองรอสตอฟ ดอน วอน กองทัพโซเวียตล่าถอยไปตามแม่น้ำดอน
สิงหาคม
จอมพล เกออร์กี จูคอฟ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการการป้องกันในนครสตาลินกราด สตาลินกราดถูกทิ้งระเบิดอย่างหนักจากกองทัพอากาศเยอรมัน ลักเซมเบิร์กถูกผนวดเข้ากับเยอรมนีเอย่างเป็นทางการ
กันยายน
สตาลินถูกปิดล้อม นายพล วาซิลี ซุยคอฟได้รับแต่งตั้งให้บัญชากากรการป้องกันเมือง กองทัพเยอรมันบางส่วนถูกผลักดันออกไป ทหารโซเวียตส่งกำลังข้ามแม่น้ำโวลก้าในยามค่ำคืน
ตุลาคม
การรุกของกองทัพเยอรมันในสตาลินกราดหยุดชะงัก
พฤศจิกายน
กองทัพโซเวียตภายใต้การบัญชาการของจอมพล เกออร์กี จูคอฟ เร่มต้น ปฏิบัติการยูเรนัสโดยมีเป้าหมายเพื่อโอบล้อมกองทัพเยอรมันในสตาลินกราด กองทัพเยอรมัถูกปิดล้อมที่นครสตาลินกราด ฮิตเลอร์สั่งให้นายพลพอลลัสห้ามถอยออกจากนคร…
จากความพ่ายแพ้ที่สตาลินกราดทำให้เเนวรบรุสเซียเปลี่ยนแปลงไปจากครั้งปฏิบัติการบาร์บารอสซากองทัพรุสเซียล้ำเข้ามาในแดนเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการกำจัดและเป็นที่มาของ ปฏิบัติ ซิทาเดล และการปะทะที่เคิสก์ซึ่งหลายคนกล่าวว่าเป็นการปะทะกันทางรถถังที่ใหญ๋ที่สุด และเป็นชุดปฏิบัติที่มีราคาเเพงที่สุดภายในวันเดียว ฮิตเลอร์ต้องการจะเปลี่ยนโฉมหน้าการรบทางด้านตะวันออกอย่างสิ้นเชิง จึงระดมกำลังกว่าเก้าแสนนาย ฝ่ายรัสเซียหนึ่งล้านเจ็ดแสนกว่านาย การปะทะกันได้รับความสูญเสียอย่างหนักทั้งสองฝ่ายในขณะที่ฝ่ายรัสเซียมีกำลังสนับสนุนและพร้อมที่จะทำการรบอีกมหาศาล โดยที่เยอรมันยากจะหากำลังทดแทนที่สูญเสียไป ชัยชนะจึงตกเป็นของรัสเซีย
จากการที่ชนะเยอรมันได้เด็ดขาดรัสเซียจึงสามารถริเริ่มการปฏิบัติการในเชิ่งรุกซึ่งเป็นเวลาของรัสเซียในช่วงสงครามที่เหลืออยู่
วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Kursk
กองทัพเยอรมันสูญเสียอย่างหนัก และกองพลที่ 6 ในสตาลินกราดถูกบีบให้ยอมจำนนแนวรบด้านตะวันออกถูกผลักดันไปยังบริเวณก่อนการรุกในฤดูร้อน การตีโต้ของโซเวียตหยุดชะงัก กองทัพเยอรมันโจมีตีอาร์คอฟอีกครั้งเกิดเป็นแนวรบที่ยื่นเข้าไปในดินแดนของโซเวียตรอบเคิสก์
กองกำลังเยอรมันและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออก บริเวณย่านชานนครเคิสก์ ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ ซึ่งเป็นชุดปฏิบัติการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงยุทธการโปรโฮรอฟกา และการสงครามทางอากาศวันเดียวราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์ เป็นยุทธการครั้งสุดท้ายของเยอรมันที่ดำเนินการในยุทธภูมิด้านตะวันออก ชัยชนะที่เด็ดขาดของโซเวียตเป็นผลให้กองทัพแดงมีการริเริ่มทางยุทธศาสตร์ในช่วงที่เหลือของสงคราม
- เยอรมัน
เนื่องจากความพ่ายแพ้ในสมรภูมิสตาลินกราดแนวรบด้านรัสเซียจึงเปลี่ยนแปลงไปมากนับจากเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซา จึงมีการวางแผนการรุกครั้งใหญ่ที่เคิสก์
ฮิตเลอร์ต้องการจะทำลายกองทัพรัสเซียในบริเวณส่วนที่ยื่นเข้ามา จึงวางยุทธการ ซิทาเดล Citadel เพื่อโจมตีกองทัพรัสเซีย ด้วยกำลังจำนวนมาก Salient หรือส่วนของกองทัพรัสเซียที่ยื่นเข้าในเขตเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการทำลายกองทัที่อยู่ในส่วนนี้ให้หมดไป ด้วยการให้กองทัพเยอรมันที่อยูด้านบนตีลงมา และกองทัพเยอรมันที่อยู่ด้านล่างตีขึนไปแล้วบรรจบกัน ซึ่งประสบผลสำเร็จ ทหารรัสเซียส่วนที่ยื่นเข้ามา จะถูกตัดขาดและถูกโอบล้อม อย่างไรก็ดี นายพลเยอรมัน เห็นว่า เยอรมันยังไม่พร้อมที่จะทำการรุดใดๆ ในขณะนั้น แต่ฮิตเลอร์ยังคงยืนกรานที่จะเปิดยุทะการซิทาเดล ฮิตเลอร์หวังว่า การรบครั้งนี้จะเปลียนแปลงสงครามทางด้านตะวันออกได้อย่งสิ้นเชองอีกทั้งจะเป็นการหยุดการรุกคืบของรัสเซียเข้ามาดินแดนเยอรมัน
ทางฝ่ายเยอรมันประกอบด้วยทหาร กว่า 900,000 นาย รถถังกว่า 2,700 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 10,000 กระบอก ความเคลื่อนไหวครั้งนี้ล่วงรู้ถึงฝ่ายรัสเซีย
รัสเซียจึงเตรียมกำลังพลกว่า 1,700,000 นาย รถถังกว่า 3,300 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 20,000 กระบอกและเครื่องบินอีกกว่า 2,000 ลำ กับระเบิดกว่าครึ้งล้านลูก พร้อมด้วยแนวรบ 6 ชั้น ประกองด้วยสนามเพลาะ แนวทุ่นระเบิด คูดักรถถัง โดยเมื่อแนวแรกถูกทำลาย กำลังพลจากแนวแรกจะถอยไปสมทบกับแนวที่สอง ระหว่างที่เยอรมันเคลื่อนที่จากแนวแรกไปแนวสอง จะพบกับการระดมยิงด้วยปืนใหญ่อย่างหนัก เมือถึงแนวที่สอง ทหารเยอรมันจะเริ่มบอบช้ำ ในขณะที่ทหารรัสเซียจะมีกำลังพลจากแนวแรกมาเพ่มจะยิ่งแข็งแกร่งขึ้น สรุปก็คือ ยิ่งรุกก็จะทำให้กำลังอ่อกล้า ในขณะที่การตั้งรับจะเข้มแข็งขึ้น
การจัดรูปขบวนรถถังของเยอรมันเป็น 2 รูปแบบ แบบแรกใช้ แพนเซอร์ 6-Tiger เป็นกำลังหลักอยูตรงกลาง ของรูปขบวน มีแพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ อยู่ที่ปีกทั้งสองข้าง รูปแบบที่สอง แพนเซอร์ 4 แพนเทอร์ เป็นกำลังหลักอยูส่วนกลางของรูปขบวน และ แพนเซอร์ 3 แพนเซอร์ 4 เป็นกำลังส่วนปีกทั้งสอง ซึ่งเป็นรูปขบวนที่ทรงประสิทธิภาพมาก อำนาจการยิงอยู่ตรงกลาง เหมาะกับการเจาะแนวตั้งรับของรัสเซีย รถถังมีวามเร็วอยู่ปีก พร้อมจะโอบล้อม เข้าตีตลบ แลพทำลายกำลังที่ถูกโอบล้อม
ข้อบกพร่องคือ แพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ ทีเครื่องยนต์ที่วางใจไม่ได้ เพราะเพิ่งออกจากโรงงาน การตรวจสอบไม่เพียงพอ และ แพนเซอร์ 6 ไทเกอร์ ช้าเกินไปในสมรภุมิที่เป็นทุ่งโล่ง ปกคลุ่มด้วยทุ่งหญ้าและไร้ข่าวโพด ในสมรภูมิ เคิสก์แนวรับรัสเซียสามารถมองเห็นรถถังเยอรมันได้ในระยะไกล
ในการรุกของเยอรมัน ในวันที่ 5 มิถุนา รัสเซียสืบรู้ความเคลื่อนไหวของเยอรมัน จึงเตรียมการต้อนรับด้วยระดมยิงด้วยปืนใหญ่ เพื่อทำลายการเตรียมเข้าตี กำลังพลเยอมรันเกิดการสับสนอย่างหนัก แตก็สามารถปรับกำลังได้อย่างรวดเร็วและทำการรุกไปข้างหน้า ทุ่นระเบิดทำความเสียหายให้แก่กองรถถังเยอรมันเป็นอย่างมาก
SS ที่ 3 เป็นกองพลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด สามารถรุกคืบไปได้ มากแต่ก็สูญเสียอย่งหนัก เอส เอสที่ 1 และ 2 เสียหายอย่างหนักและรุกคืบหน้าได้ไม่มาก ทหารยานเกราะ เอส เอส ทำการรบอย่างห้าวหาญ ในที่สุดกำลังยานเกราะของทั้งสองฝ่ายก็พบกันที่เมือง Prokhorvka และเริ่มทำการรบกันอย่างหนักหน่วง แลยคนเชื่อว่าการรบนี้เป็นการรบทางรถถังที่ใหญ่ที่สุดในโลกนับแต่มีการต่อสู้ด้วยรถถังมา ความสูญเสียของทั้งสองฝ่ายเสียหายหนักทั้งคู่
แต่เมื่อการรบยืดยาวออกไปรัสเซียก็ทุ่มเทกำลังทั้งหมดในการต่อต้านเยอรมัน ในวันแรก เอส เอสรุกได้ไม่มากนัก 13 มิถุนายน ฮิตเลอร์สั่งยกเลิกยุทธการ Citadel เนื่องมาจากความสูญเสียที่เพื่มมากขึ้นของเยอรมัน ผู้เสียชีวิต กว่า แสนคน โดยฝ่ายรัสเซีย กว่า 250,000 คน และบาดเจ็บกว่า 600,000 คนรถถังรัสเซียกว่าครึ่งที่เข้าร่วมสงครามถูกทำลาย การสูญเสียของเยอรมันยากที่จะหากำลังทดแทนได้ ซึ่งต่างจากรัสเซียที่พร้อมและเตรียมกำลังจะมาเสริมอีกมหาศาล
กองกำลังเยอรมันและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออก บริเวณย่านชานนครเคิสก์ ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ ซึ่งเป็นชุดปฏิบัติการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงยุทธการโปรโฮรอฟกา และการสงครามทางอากาศวันเดียวราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์ เป็นยุทธการครั้งสุดท้ายของเยอรมันที่ดำเนินการในยุทธภูมิด้านตะวันออก ชัยชนะที่เด็ดขาดของโซเวียตเป็นผลให้กองทัพแดงมีการริเริ่มทางยุทธศาสตร์ในช่วงที่เหลือของสงคราม
- เยอรมัน
เนื่องจากความพ่ายแพ้ในสมรภูมิสตาลินกราดแนวรบด้านรัสเซียจึงเปลี่ยนแปลงไปมากนับจากเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซา จึงมีการวางแผนการรุกครั้งใหญ่ที่เคิสก์
ฮิตเลอร์ต้องการจะทำลายกองทัพรัสเซียในบริเวณส่วนที่ยื่นเข้ามา จึงวางยุทธการ ซิทาเดล Citadel เพื่อโจมตีกองทัพรัสเซีย ด้วยกำลังจำนวนมาก Salient หรือส่วนของกองทัพรัสเซียที่ยื่นเข้าในเขตเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการทำลายกองทัที่อยู่ในส่วนนี้ให้หมดไป ด้วยการให้กองทัพเยอรมันที่อยูด้านบนตีลงมา และกองทัพเยอรมันที่อยู่ด้านล่างตีขึนไปแล้วบรรจบกัน ซึ่งประสบผลสำเร็จ ทหารรัสเซียส่วนที่ยื่นเข้ามา จะถูกตัดขาดและถูกโอบล้อม อย่างไรก็ดี นายพลเยอรมัน เห็นว่า เยอรมันยังไม่พร้อมที่จะทำการรุดใดๆ ในขณะนั้น แต่ฮิตเลอร์ยังคงยืนกรานที่จะเปิดยุทะการซิทาเดล ฮิตเลอร์หวังว่า การรบครั้งนี้จะเปลียนแปลงสงครามทางด้านตะวันออกได้อย่งสิ้นเชองอีกทั้งจะเป็นการหยุดการรุกคืบของรัสเซียเข้ามาดินแดนเยอรมัน
ทางฝ่ายเยอรมันประกอบด้วยทหาร กว่า 900,000 นาย รถถังกว่า 2,700 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 10,000 กระบอก ความเคลื่อนไหวครั้งนี้ล่วงรู้ถึงฝ่ายรัสเซีย
รัสเซียจึงเตรียมกำลังพลกว่า 1,700,000 นาย รถถังกว่า 3,300 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 20,000 กระบอกและเครื่องบินอีกกว่า 2,000 ลำ กับระเบิดกว่าครึ้งล้านลูก พร้อมด้วยแนวรบ 6 ชั้น ประกองด้วยสนามเพลาะ แนวทุ่นระเบิด คูดักรถถัง โดยเมื่อแนวแรกถูกทำลาย กำลังพลจากแนวแรกจะถอยไปสมทบกับแนวที่สอง ระหว่างที่เยอรมันเคลื่อนที่จากแนวแรกไปแนวสอง จะพบกับการระดมยิงด้วยปืนใหญ่อย่างหนัก เมือถึงแนวที่สอง ทหารเยอรมันจะเริ่มบอบช้ำ ในขณะที่ทหารรัสเซียจะมีกำลังพลจากแนวแรกมาเพ่มจะยิ่งแข็งแกร่งขึ้น สรุปก็คือ ยิ่งรุกก็จะทำให้กำลังอ่อกล้า ในขณะที่การตั้งรับจะเข้มแข็งขึ้น
การจัดรูปขบวนรถถังของเยอรมันเป็น 2 รูปแบบ แบบแรกใช้ แพนเซอร์ 6-Tiger เป็นกำลังหลักอยูตรงกลาง ของรูปขบวน มีแพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ อยู่ที่ปีกทั้งสองข้าง รูปแบบที่สอง แพนเซอร์ 4 แพนเทอร์ เป็นกำลังหลักอยูส่วนกลางของรูปขบวน และ แพนเซอร์ 3 แพนเซอร์ 4 เป็นกำลังส่วนปีกทั้งสอง ซึ่งเป็นรูปขบวนที่ทรงประสิทธิภาพมาก อำนาจการยิงอยู่ตรงกลาง เหมาะกับการเจาะแนวตั้งรับของรัสเซีย รถถังมีวามเร็วอยู่ปีก พร้อมจะโอบล้อม เข้าตีตลบ แลพทำลายกำลังที่ถูกโอบล้อม
ข้อบกพร่องคือ แพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ ทีเครื่องยนต์ที่วางใจไม่ได้ เพราะเพิ่งออกจากโรงงาน การตรวจสอบไม่เพียงพอ และ แพนเซอร์ 6 ไทเกอร์ ช้าเกินไปในสมรภุมิที่เป็นทุ่งโล่ง ปกคลุ่มด้วยทุ่งหญ้าและไร้ข่าวโพด ในสมรภูมิ เคิสก์แนวรับรัสเซียสามารถมองเห็นรถถังเยอรมันได้ในระยะไกล
ในการรุกของเยอรมัน ในวันที่ 5 มิถุนา รัสเซียสืบรู้ความเคลื่อนไหวของเยอรมัน จึงเตรียมการต้อนรับด้วยระดมยิงด้วยปืนใหญ่ เพื่อทำลายการเตรียมเข้าตี กำลังพลเยอมรันเกิดการสับสนอย่างหนัก แตก็สามารถปรับกำลังได้อย่างรวดเร็วและทำการรุกไปข้างหน้า ทุ่นระเบิดทำความเสียหายให้แก่กองรถถังเยอรมันเป็นอย่างมาก
SS ที่ 3 เป็นกองพลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด สามารถรุกคืบไปได้ มากแต่ก็สูญเสียอย่งหนัก เอส เอสที่ 1 และ 2 เสียหายอย่างหนักและรุกคืบหน้าได้ไม่มาก ทหารยานเกราะ เอส เอส ทำการรบอย่างห้าวหาญ ในที่สุดกำลังยานเกราะของทั้งสองฝ่ายก็พบกันที่เมือง Prokhorvka และเริ่มทำการรบกันอย่างหนักหน่วง แลยคนเชื่อว่าการรบนี้เป็นการรบทางรถถังที่ใหญ่ที่สุดในโลกนับแต่มีการต่อสู้ด้วยรถถังมา ความสูญเสียของทั้งสองฝ่ายเสียหายหนักทั้งคู่
แต่เมื่อการรบยืดยาวออกไปรัสเซียก็ทุ่มเทกำลังทั้งหมดในการต่อต้านเยอรมัน ในวันแรก เอส เอสรุกได้ไม่มากนัก 13 มิถุนายน ฮิตเลอร์สั่งยกเลิกยุทธการ Citadel เนื่องมาจากความสูญเสียที่เพื่มมากขึ้นของเยอรมัน ผู้เสียชีวิต กว่า แสนคน โดยฝ่ายรัสเซีย กว่า 250,000 คน และบาดเจ็บกว่า 600,000 คนรถถังรัสเซียกว่าครึ่งที่เข้าร่วมสงครามถูกทำลาย การสูญเสียของเยอรมันยากที่จะหากำลังทดแทนได้ ซึ่งต่างจากรัสเซียที่พร้อมและเตรียมกำลังจะมาเสริมอีกมหาศาล
วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII: North Africa CamPaign
1940
ตุลาคม อิตาลีโจมตีกรีซจากดินแดนยึดครองอัลเบเนีย ฮิตเลอร์โกรธมากในการเริ่มต้นสงครามครั้งนี้
- พฤจิกายน กองทัพกรีซโจมตีครั้งใหญ่ตามแนวชายแดนอัลเบเนีย
- ธันวา ปฏิบัติการเข็มทิศ ทหารอังกฤษและอินเดียเริ่มการโจมตีกองทัพอิตาลีในอียิปต์กองทัพอิตาลีถูกบังคับให้ล่าถอยไปยังลิเบีย กองทัพอิตาลีล่าถอยจากกรีซไปยังอัลเบเนีย ทหารกรีซเริ่มการโจมตีอัลเอบเนีย กองทัพอังกฤษเริ่มทำการรบในลิเบีย ระหว่างสงครามอิตาลี –กรีซ ทหารกรีซยึดครองอับเบเนียได้หนึ่งในสี่ของดินแดนทั้งหมดอิตาลีเรียร้องกำลังสนับสนุนจากเยอรนี
1941
- มกราคม กองทัพเครือจักรภพอยู่ห่างจากโทรบรุค 70 ไมล์ภายหลังจากการรุกในปฏิบัติการเข็มทิส กองทัพเครือจักรภพสามารถยึดสนามบินใกล้กับเมืองโทรบรุค กองพลอินเดียที่ 4 และ 5 โจมตีเอธิโอเปียภายใต้การขึดครองของอิตาลีจากซูดาน ฮิตเลอร์ยอมส่งกำลังสนับสนุนมาช่วยเหลือกองทัพอิตาลีในแอฟริกาเหนือ โทรบรุคถูกกองทัพเครือจักรภพตีแตก กองทัพอังกฤษยึดเมืองเดอร์นา ห่างไปทางตะวันตกของโรบรุค 100 ไมล์
- กุมภาพันธุ์ เออร์วิน รอมเมล ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บญชาการกองทัพเยอืรมนในแอฟริกาเหนือ หลังจากการสู้รบอยางหนักเป็นเวลาหลายวันกองทัพน้อยที่ 13 แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งขึ้นตรงกับกองกำลังทะเลทรายตะวันตก ได้ทำลายกองทัพที่ 10 แห่งอิตาลี ได้ระหวางยุทธการแห่งบีดา ฟอมม์ ทหารอังกฤษสามารถจับกุมเชบยศึกได้กว่า หนึ่งแสนสามหมื่นนาย นายพลรอมเมลเดินทางถึงทริโปลี ประเทศลิเบีย กองทัพอังกฤษรุกเข้าดซมาลิแลนด์อาณานิคมของอิตาลีในแอฟริกาเหนือและเคลื่อนทัพไปทางทิศตะวันออก กองทัพอังกฤษอ่อนแอเนื่องจากได้ส่งกองกำลังบางส่วนไปสนับสนุนการรบในกรีซ กองทัพอังกฤษสามารถยึดโมกาดิชูเมืองหลวงของโซมาลิแลนด์ได้สำเร็จ
- มีนาคม การรุของอิตาลีตามแนวรบอัลเบเนียเริ่มต้นขึ้น กองทัพอตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอริเตรีย กองกำลังแพนเซือร์ของเยรมนีมาถึงแอฟริกาเหนือกองทัพเยอรมันเริ่มการบุกโดยใช้ยาเกราะ การรุกของอิตาลีในอัลเบเนียยุติลงด้วยความสูญเสียมหาศาลและไม่อาจเปลี่ยนโฉมหน้าของการรบได้
- เมษายนกองทัพอิตาลีพ่ายแพ้ในแอดดิส อะบาบา ประเทศเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันเริ่มการปิดล้อมเมืองทาโทรบรุคกองทัพเยอรมันอีกส่วนหนึ่งเคลื่อทัพไปยึดค่ายคาพุสโซและ..ประชิดชายแดอียิปต์ การโจมตีเมืองโทรบรุคของกองทัพเยอรมันล้มเหลว รับบาลกรซหลบหนีไปยังเกาะครีต กองทัพอังกฤษและออสเตรเลียอพยพจากกรีซมายังเกาะครีตและอียอปต์ นายพลรอมเมลได้รับชัยชนะครั้งใหญ่ที่ช่องเขาฮิลฟายทางผ่านไปสู่ชายแดนอียิปต์ นายพลรอมเมลโจมตีแนวป้องกันกาซาลา กรุงเอเธนส์ถูกยึดครองโดยกองทัพเยอรมัน กรีซยอมจำนน
- พฤษภาคม กองทัพอิตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันภายใต้การบัญชากากรของนายพลรอมเมลพ่ายแพ้หลังถูกโจมตีโต้ “ปฏิบัติกาเบรวิตี”ที่ช่องเขาฮิลฟายา ทั้งสองฝ่ายผลัดเปลี่ยนกันยึดครองค่ายคาพุสโซ่และช่องเขาฮิลฟายา พลร่มเยอรมันถูส่งไปยังเกาะครีตในยุทธการเกาะครีต รัฐบาลกรีซหลบหนีไปอียอปต์ กองทัพอังกฤและเครื่อจักรภพอยพยออกจากเกาะครีต การโจมตีโต้กลับของอังกฤษ “ปฏิบัติการเบรวิตี”ล้าเหลว
- มิถุนายน กองทัพเครื่อจักรภพอพยพออกจากเกาะครีตสำเร็จ ป
- ตุลาคม เกิดการรบครั้งใหญ่ในลิเบีย รอมเมลพยายามต่อต้าน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์”ใกล้กับเมืองโทรบรุค กองทัพอิตาลีกองสุดท้ายยอมจำนนในเอธิโอเปีย
- พฤศจิกายน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์ กองทัพอังกฤษเคลื่อนทัพข้ามลิเบียและสามารถปลดปล่อยการปิดล้อมโทรบรุคได้ชั่วคราว กองทัพเยรมันรุกเข้าไปในอียิปต์เป็นระยะทางกว่า 15 กิโลเมตร
1942
- กุมพาพันธ์ กองทัพเยรมันภายใต้การบัญชาการของนายพลรอมเมลยึดเมืองเอล กาซาลาที่ชายแดลิเบีย
- มิถุนายน กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพนธมิตรออกจากแนวกาซาลา กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคืนได้ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังอียิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมือง เอลอาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู่ครั้งสุดท้าย กองทัพเยอรมันเคลื่อนทัพมาถึงอล อาลาเมน
- กรกฎาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้นเมืองนายพลรอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก กองทัพเยอรมันหยุดชะงักที่เอล อาลาเมน เนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
- สิงหาคม ยุทธการแห่งเอว ฮิลฟา ไม่ไกลจากเอล อาลาเมนเกิดขั้น เป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
- กันยายน นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
- ตุลาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอ่างหนัก นายพลรอมมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชากากรบที่เอล อาลาเมน แม้ว่าจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยานเกราะฝ่ายสัมพันธิตรเจาฝ่านแนวตั้งรับของเยรมนี ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในสำเร็จ
- พฤศจิกายน ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มตีออกจากเอง อาลาเมนกองทัพเยอรมันล่าถอยจาเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรรีเริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย - อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอังกฤษมุ่งหน้าไปตูนีเซียต่อ
1943
- มกราคม ทัพอังกฤษเริ่มต้นการรุกรามทริโปลีทัพสัมพันธิมิตรยึดทริโปลี ในลิเบียไว้ได้
- กุมภาพันธ์ รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนีเซีย และเร่มสร้างแนวป้องกันใหม่กองทัพสัมพันธมิตรเคลื่อพลไปตูนิเซียเป็นแรกภายในเวลา 2 วัน สัมพันธมิตรยึดครองลิเบียไดว้ได้โดยสมบูรณ์ รอมเมลถอนกำลังกลบขึ้นไปทางเหนือจากแนวป้องกันในตูนิเซีย
แอตแลนติกจึงกลายเป็นสมรภูมิที่เยอรมันและอังกฤษต่อสู้กับเพื่อแย่งชิงเส้นทางเดินเรือในมหาสมุทรแอตแลนติกเพื่อกีดกันการลำเลียงเสบียงและกำลังเสริมซึ่งเป็นสมรภูมิทั้งกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ตลอดช่วงเวลาตั้งแต่ ปี 1940-1943 อย่างไรก็ตามเส้นทางเดินเรือดังกล่าวได้รับการคุ้มครองโดยกองทัพของประเทศอังกฤษและแคนาดา
เยอรมันพ่ายแพ้ที่ตูนิเซียเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้นำสัมพันธมิตร ในการบุกแผนดินใหญ่ภาคพื้นยุโรป “การประชุมที่คาซาบลังก้า” เป็นจุดเริ่มต้นของแผนการบุกชิชิลี
“ปฏิบัติการมินซ์มีท”เป็นการหลอกล่อเยอรมันว่าจะยกทัพไปเกาะครีต หรือที่ที่ไม่ใช่ชิชิลี อิตาลีถูกเชอร์ชิลเรียกว่า “จุดอ่อนแห่งยุโรป”ซึ่งเป็นเป้าหมายต่อไปในการบุกฝ่ายอักษะ
ตุลาคม อิตาลีโจมตีกรีซจากดินแดนยึดครองอัลเบเนีย ฮิตเลอร์โกรธมากในการเริ่มต้นสงครามครั้งนี้
- พฤจิกายน กองทัพกรีซโจมตีครั้งใหญ่ตามแนวชายแดนอัลเบเนีย
- ธันวา ปฏิบัติการเข็มทิศ ทหารอังกฤษและอินเดียเริ่มการโจมตีกองทัพอิตาลีในอียิปต์กองทัพอิตาลีถูกบังคับให้ล่าถอยไปยังลิเบีย กองทัพอิตาลีล่าถอยจากกรีซไปยังอัลเบเนีย ทหารกรีซเริ่มการโจมตีอัลเอบเนีย กองทัพอังกฤษเริ่มทำการรบในลิเบีย ระหว่างสงครามอิตาลี –กรีซ ทหารกรีซยึดครองอับเบเนียได้หนึ่งในสี่ของดินแดนทั้งหมดอิตาลีเรียร้องกำลังสนับสนุนจากเยอรนี
1941
- มกราคม กองทัพเครือจักรภพอยู่ห่างจากโทรบรุค 70 ไมล์ภายหลังจากการรุกในปฏิบัติการเข็มทิส กองทัพเครือจักรภพสามารถยึดสนามบินใกล้กับเมืองโทรบรุค กองพลอินเดียที่ 4 และ 5 โจมตีเอธิโอเปียภายใต้การขึดครองของอิตาลีจากซูดาน ฮิตเลอร์ยอมส่งกำลังสนับสนุนมาช่วยเหลือกองทัพอิตาลีในแอฟริกาเหนือ โทรบรุคถูกกองทัพเครือจักรภพตีแตก กองทัพอังกฤษยึดเมืองเดอร์นา ห่างไปทางตะวันตกของโรบรุค 100 ไมล์
- กุมภาพันธุ์ เออร์วิน รอมเมล ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บญชาการกองทัพเยอืรมนในแอฟริกาเหนือ หลังจากการสู้รบอยางหนักเป็นเวลาหลายวันกองทัพน้อยที่ 13 แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งขึ้นตรงกับกองกำลังทะเลทรายตะวันตก ได้ทำลายกองทัพที่ 10 แห่งอิตาลี ได้ระหวางยุทธการแห่งบีดา ฟอมม์ ทหารอังกฤษสามารถจับกุมเชบยศึกได้กว่า หนึ่งแสนสามหมื่นนาย นายพลรอมเมลเดินทางถึงทริโปลี ประเทศลิเบีย กองทัพอังกฤษรุกเข้าดซมาลิแลนด์อาณานิคมของอิตาลีในแอฟริกาเหนือและเคลื่อนทัพไปทางทิศตะวันออก กองทัพอังกฤษอ่อนแอเนื่องจากได้ส่งกองกำลังบางส่วนไปสนับสนุนการรบในกรีซ กองทัพอังกฤษสามารถยึดโมกาดิชูเมืองหลวงของโซมาลิแลนด์ได้สำเร็จ
- มีนาคม การรุของอิตาลีตามแนวรบอัลเบเนียเริ่มต้นขึ้น กองทัพอตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอริเตรีย กองกำลังแพนเซือร์ของเยรมนีมาถึงแอฟริกาเหนือกองทัพเยอรมันเริ่มการบุกโดยใช้ยาเกราะ การรุกของอิตาลีในอัลเบเนียยุติลงด้วยความสูญเสียมหาศาลและไม่อาจเปลี่ยนโฉมหน้าของการรบได้
- เมษายนกองทัพอิตาลีพ่ายแพ้ในแอดดิส อะบาบา ประเทศเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันเริ่มการปิดล้อมเมืองทาโทรบรุคกองทัพเยอรมันอีกส่วนหนึ่งเคลื่อทัพไปยึดค่ายคาพุสโซและ..ประชิดชายแดอียิปต์ การโจมตีเมืองโทรบรุคของกองทัพเยอรมันล้มเหลว รับบาลกรซหลบหนีไปยังเกาะครีต กองทัพอังกฤษและออสเตรเลียอพยพจากกรีซมายังเกาะครีตและอียอปต์ นายพลรอมเมลได้รับชัยชนะครั้งใหญ่ที่ช่องเขาฮิลฟายทางผ่านไปสู่ชายแดนอียิปต์ นายพลรอมเมลโจมตีแนวป้องกันกาซาลา กรุงเอเธนส์ถูกยึดครองโดยกองทัพเยอรมัน กรีซยอมจำนน
- พฤษภาคม กองทัพอิตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันภายใต้การบัญชากากรของนายพลรอมเมลพ่ายแพ้หลังถูกโจมตีโต้ “ปฏิบัติกาเบรวิตี”ที่ช่องเขาฮิลฟายา ทั้งสองฝ่ายผลัดเปลี่ยนกันยึดครองค่ายคาพุสโซ่และช่องเขาฮิลฟายา พลร่มเยอรมันถูส่งไปยังเกาะครีตในยุทธการเกาะครีต รัฐบาลกรีซหลบหนีไปอียอปต์ กองทัพอังกฤและเครื่อจักรภพอยพยออกจากเกาะครีต การโจมตีโต้กลับของอังกฤษ “ปฏิบัติการเบรวิตี”ล้าเหลว
- มิถุนายน กองทัพเครื่อจักรภพอพยพออกจากเกาะครีตสำเร็จ ป
- ตุลาคม เกิดการรบครั้งใหญ่ในลิเบีย รอมเมลพยายามต่อต้าน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์”ใกล้กับเมืองโทรบรุค กองทัพอิตาลีกองสุดท้ายยอมจำนนในเอธิโอเปีย
- พฤศจิกายน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์ กองทัพอังกฤษเคลื่อนทัพข้ามลิเบียและสามารถปลดปล่อยการปิดล้อมโทรบรุคได้ชั่วคราว กองทัพเยรมันรุกเข้าไปในอียิปต์เป็นระยะทางกว่า 15 กิโลเมตร
1942
- กุมพาพันธ์ กองทัพเยรมันภายใต้การบัญชาการของนายพลรอมเมลยึดเมืองเอล กาซาลาที่ชายแดลิเบีย
- มิถุนายน กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพนธมิตรออกจากแนวกาซาลา กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคืนได้ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังอียิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมือง เอลอาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู่ครั้งสุดท้าย กองทัพเยอรมันเคลื่อนทัพมาถึงอล อาลาเมน
- กรกฎาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้นเมืองนายพลรอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก กองทัพเยอรมันหยุดชะงักที่เอล อาลาเมน เนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
- สิงหาคม ยุทธการแห่งเอว ฮิลฟา ไม่ไกลจากเอล อาลาเมนเกิดขั้น เป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
- กันยายน นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
- ตุลาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอ่างหนัก นายพลรอมมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชากากรบที่เอล อาลาเมน แม้ว่าจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยานเกราะฝ่ายสัมพันธิตรเจาฝ่านแนวตั้งรับของเยรมนี ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในสำเร็จ
- พฤศจิกายน ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มตีออกจากเอง อาลาเมนกองทัพเยอรมันล่าถอยจาเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรรีเริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย - อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอังกฤษมุ่งหน้าไปตูนีเซียต่อ
1943
- มกราคม ทัพอังกฤษเริ่มต้นการรุกรามทริโปลีทัพสัมพันธิมิตรยึดทริโปลี ในลิเบียไว้ได้
- กุมภาพันธ์ รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนีเซีย และเร่มสร้างแนวป้องกันใหม่กองทัพสัมพันธมิตรเคลื่อพลไปตูนิเซียเป็นแรกภายในเวลา 2 วัน สัมพันธมิตรยึดครองลิเบียไดว้ได้โดยสมบูรณ์ รอมเมลถอนกำลังกลบขึ้นไปทางเหนือจากแนวป้องกันในตูนิเซีย
แอตแลนติกจึงกลายเป็นสมรภูมิที่เยอรมันและอังกฤษต่อสู้กับเพื่อแย่งชิงเส้นทางเดินเรือในมหาสมุทรแอตแลนติกเพื่อกีดกันการลำเลียงเสบียงและกำลังเสริมซึ่งเป็นสมรภูมิทั้งกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ตลอดช่วงเวลาตั้งแต่ ปี 1940-1943 อย่างไรก็ตามเส้นทางเดินเรือดังกล่าวได้รับการคุ้มครองโดยกองทัพของประเทศอังกฤษและแคนาดา
เยอรมันพ่ายแพ้ที่ตูนิเซียเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้นำสัมพันธมิตร ในการบุกแผนดินใหญ่ภาคพื้นยุโรป “การประชุมที่คาซาบลังก้า” เป็นจุดเริ่มต้นของแผนการบุกชิชิลี
“ปฏิบัติการมินซ์มีท”เป็นการหลอกล่อเยอรมันว่าจะยกทัพไปเกาะครีต หรือที่ที่ไม่ใช่ชิชิลี อิตาลีถูกเชอร์ชิลเรียกว่า “จุดอ่อนแห่งยุโรป”ซึ่งเป็นเป้าหมายต่อไปในการบุกฝ่ายอักษะ
WWII:Guadacanal
พอร์ตมอร์สบี Port Moresby เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของปาปัวนิกินี ตั้งอยู่ริมชายฝั่งอ่าวปาปัว ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะนิวกินี จากความพ่ายแพ้ในยุทธการมิดเวย์ญี่ปุ่นเสียทรัพยากรไปมาก ญี่ปุ่นเปลี่ยเป้าหมายทำการรบที่บนดินแดนปาปัว เป็นความพยายามอีกครั้งที่จุยึดพอร์ตมอร์บี
สหรัฐฯก็เตรียมตอบโต้หมู่เกาะโซโลมอน โดยเริ่มจากเกาะกัวดัลคาแนล อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึดราบูล ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลัก
ของกองทัพญี่ปุนในเอเซียอาคเนย์
การทัพที่หมู่เกาะโซโลมอนเป็นกาทัพหลักของสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพเริ่มต้นเมือญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกและยึดครองดินแดนหลายแห่งในหมู่เกาะโซโลมอนบริเตน และเกาะบังเกนวิล ในดินแดแห่งนิวกินี 6 เดือนแรกของปี 1942 ญี่ปุ่นยึดพื้นที่หลายส่วนและเริ่มสร้างท่าเรือและสนามบิน
หลายแห่งเพื่อใช้ป้องกันแนวด้านข้างของการบุกโจมตีในนิวกินีการสร้างแนวปลอดภัยสำหรับฐานทัพหลักของญี่ปุ่นอยู่ที่ราบูล ในนิวบริเตน และเป็นฐานทัพที่จัดเตรียมเพื่อหยุดเส้นทางลำเลียงเสบียงระหว่งมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เพื่อปกป้องการสื่อสารและเส้นทางลำเลียงเสบียงในแปซิฟิกใต้ฝ่ายสัมพันธมิตรได้สนับสนุนการรุกตอบโต้ในนิวกินีและโดดเดี่ยวฐานทัพญี่ปุ่นในราบูล และได้โต้กลับญี่ปุ่นในหมู่เกาะโซโลมอนด้วยการยกพลขึ้นบกที่กัวดาลคาแนล ญี่ปุ่นดำเนินการรุกรานพอร์ตมอร์สบี้ตามแผนของตนแต่ในเดือนกรกฏา ญี่ปุ่นต้องหันมาให้ความสำคัญกับการทัพที่กัวดัลคะแนลมากขึ้น และกองทัพญี่ปุ่นในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไปยังทางตอนเหนือของเกาะที่ซึ่งกองทัพนี้ต้องเผชิญกับกำลังผสมระหว่าสหรัฐกับออสเตรเลีย กัวดัลคะแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ในเดื่อนตุลาญี่ปุ่นเสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
ในช่วงแรกของการปะทะกันที่กัวดาคาแนลญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบแต่แล้ว สัมพันธมิตรได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังจากพอร์ตมอร์สบีไปทางตอนเหนือของเกาะ การทุ่มเททรัพยากรทั่งทหารและเรือรบจำนวนมากในยุทธการนี้
การทัพครั้งนี้เป็นการต่อสู้แบบผสมผสานการยกพลขึ้นบกของทั้งส่องฝ่าย และติดตามด้วยยุทธการหลายครั้งในตอนกลางและเหนือของหมู่เกาะโซโลมอน และรอบๆ เกาะนิวกีนี และเกาะบังเกนวิลล์
การทัพเป็นการต่อสู้ทั้งบนแผ่นดิน ทะเล และทางอากาศ สัมพันธมิตรยึดบางส่วนของหมู่เกาะโซโลมอนคืนมาได้ และสามารถแบ่งแยกและโดดเดี่ยวญี่ปุ่นบางต่ำแหน่งซึ่งตัดผ่าน การทัพหมู่เกาะโซโลมอนซึ่งมาบรรจบกับการทัพนิวกีนีได้
ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัตการทางทหารต่างๆ ต่อกองทัพญี่ปุน่ในมหาสมุทร แปซิฟิก พฤษภาคม 1943 ทัพเรืออเมริกาถูกสงไปโจมตีกองทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะอลูเตียน และเริ่มต้นปฏิบัติการหลักในการโดดเดี่ยวเมืองราบูล
สหรัฐฯก็เตรียมตอบโต้หมู่เกาะโซโลมอน โดยเริ่มจากเกาะกัวดัลคาแนล อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึดราบูล ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลัก
ของกองทัพญี่ปุนในเอเซียอาคเนย์
การทัพที่หมู่เกาะโซโลมอนเป็นกาทัพหลักของสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพเริ่มต้นเมือญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกและยึดครองดินแดนหลายแห่งในหมู่เกาะโซโลมอนบริเตน และเกาะบังเกนวิล ในดินแดแห่งนิวกินี 6 เดือนแรกของปี 1942 ญี่ปุ่นยึดพื้นที่หลายส่วนและเริ่มสร้างท่าเรือและสนามบิน
หลายแห่งเพื่อใช้ป้องกันแนวด้านข้างของการบุกโจมตีในนิวกินีการสร้างแนวปลอดภัยสำหรับฐานทัพหลักของญี่ปุ่นอยู่ที่ราบูล ในนิวบริเตน และเป็นฐานทัพที่จัดเตรียมเพื่อหยุดเส้นทางลำเลียงเสบียงระหว่งมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เพื่อปกป้องการสื่อสารและเส้นทางลำเลียงเสบียงในแปซิฟิกใต้ฝ่ายสัมพันธมิตรได้สนับสนุนการรุกตอบโต้ในนิวกินีและโดดเดี่ยวฐานทัพญี่ปุ่นในราบูล และได้โต้กลับญี่ปุ่นในหมู่เกาะโซโลมอนด้วยการยกพลขึ้นบกที่กัวดาลคาแนล ญี่ปุ่นดำเนินการรุกรานพอร์ตมอร์สบี้ตามแผนของตนแต่ในเดือนกรกฏา ญี่ปุ่นต้องหันมาให้ความสำคัญกับการทัพที่กัวดัลคะแนลมากขึ้น และกองทัพญี่ปุ่นในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไปยังทางตอนเหนือของเกาะที่ซึ่งกองทัพนี้ต้องเผชิญกับกำลังผสมระหว่าสหรัฐกับออสเตรเลีย กัวดัลคะแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ในเดื่อนตุลาญี่ปุ่นเสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
ในช่วงแรกของการปะทะกันที่กัวดาคาแนลญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบแต่แล้ว สัมพันธมิตรได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังจากพอร์ตมอร์สบีไปทางตอนเหนือของเกาะ การทุ่มเททรัพยากรทั่งทหารและเรือรบจำนวนมากในยุทธการนี้
การทัพครั้งนี้เป็นการต่อสู้แบบผสมผสานการยกพลขึ้นบกของทั้งส่องฝ่าย และติดตามด้วยยุทธการหลายครั้งในตอนกลางและเหนือของหมู่เกาะโซโลมอน และรอบๆ เกาะนิวกีนี และเกาะบังเกนวิลล์
การทัพเป็นการต่อสู้ทั้งบนแผ่นดิน ทะเล และทางอากาศ สัมพันธมิตรยึดบางส่วนของหมู่เกาะโซโลมอนคืนมาได้ และสามารถแบ่งแยกและโดดเดี่ยวญี่ปุ่นบางต่ำแหน่งซึ่งตัดผ่าน การทัพหมู่เกาะโซโลมอนซึ่งมาบรรจบกับการทัพนิวกีนีได้
ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัตการทางทหารต่างๆ ต่อกองทัพญี่ปุน่ในมหาสมุทร แปซิฟิก พฤษภาคม 1943 ทัพเรืออเมริกาถูกสงไปโจมตีกองทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะอลูเตียน และเริ่มต้นปฏิบัติการหลักในการโดดเดี่ยวเมืองราบูล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...