สถานการณ์โดยรวมหลังจากฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายรุกอักษะก่อนปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด และปฏิบัติการ “บาร์ราติออน”
เมื่อสัมพันธมิตรสามารถขับไล่อิตาลีออกจากแอฟริกาเหนือและยกพลขึ้นบกโจมตีที่เกาะชิชิลียังผลให้ฮิตเลอร์สั่งยกเลิกปฏิบัติการ ปฏิบัติการที่เคริตส์ และจากการโจมตีที่ซิชิลีนั้น ยังส่งผลให้มุสโสลินีถูกโค่นจากอำนาจ
ปฏิบัติการฮัสกี้ เป็นการยกพลขึ้นพื้นแผ่นดินใหญ่ยุโรปเป็นครั้งแรกของฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งการยกพลครั้งนั้นย่อมจะต้องถูกต่อต้านอย่างหนัก สัมพันธมิตรรู้ถึงความเสียงนี้จึงเปิดปฏิบัติการ มีนส์มิทย์ ซึ่งเป็นการล่วงทางการข่าวซึ่งได้ผลและการยกพลขึ้นบกในครั้งจึงส่งผลต่อฝ่ายอักษะเป็นอย่างมาก
เมื่อมุสโสลินีลงจากอำนาจแล้ว เขาถูกแขวนคอประจานกลางเมือง รัฐบาลใหม่อิตาลีเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร
สถานการณ์ทางรัสเซียหลังจาก “ยทธการที่เคิสก์”เยอรมันถอนกำลัง แม้ความสูญเสียของ
เยอรมันจะไม่มากเท่ารัฐเซียแต่รัสเซียนั้นสามารถเรียกกำลังเสริมได้อีกมหาศาลในขณะที่ทางฝ่ายเยอรมันยากที่จะหาทดแทน รุสเซียรุกคืบเข้ายึดครองโปลแลนด์โดยให้การสนับสนุนผู้นำที่นิยมคอมมิวนิสต์
สมรภูมิแปซิฟิก นายพลเรือยามาโมโต้ ถูกลอยสังหารโดย P-38 จำนวน18 เครื่องยิงเครื่องบิน ที่นายพลโดยสารมาและด้วยจากการข่าวที่ทางสหรัฐสามารถถอดได้นั้นเอง หลังจากนั้นนายพลเรือเอก โกงะ มิเนะอิจิ เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทัพเรือผสม บัญชาการรบครั้งแรกในการบุกเข้ายึดหมู่เกาะมาร์แชล ซึ่งสหรัฐอเมริกาก็สามารถยึดได้โดยสมบูรณ์ในเวลาต่อมาไม่นาน สหรัฐอเมริกาสามารถควบคุมน่านน้ำแปซิฟิกได้เป็นส่วนใหญ่
ภาคพื้นเอเชีย หลังจากญี่ปุ่น มีชัยชนะในการทัพที่มาลายา และยกพลขึ้นบกที่ประเทศไทยแล้ว ก็ทำการเดินทัพเข้ายึดพม่าและเข้าตีเมืองอัสสัมประเทศอินเดียซึ่งเป็นเมืองในอาณัติของอังกฤษ
เจียง ไค เชค ประชุมกับสัมพันธ์มิตรที่ไคโร ประเทศอียิปต์ โดย รูสเวลส์ เชอร์ชิล และเจียง ไค เชค ร่วมลงนามในคำประกาศไคโร เรียกร้องกำหนดให้ญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข
และการประชุมที่เตหะราน โดยรุสเซียสัญญาจะทำสงครามกับญี่ปุ่นในอนาคต และขับไล่กองกำลังเยอรมันออกจากยุโรปตะวันออก กอบกู้ฝรั่งเศสจากการถูกยึดครอง
วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:1944
มกราคม
- ยุทธการ Monte Cassino เริ่มต้นการรบครั้งแรกของยุทธการทัพอเมริการล้มเหลว..กองทหารราบที่ 36 ของสหรัฐอเมริกาในอิตาลีได้รับความสูญเสียอย่างหนักในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido.. กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกที่หมู่เกาะ Admiralty ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนิวกีนี..ทัพสหรัฐฯรุกเข้า Majuro ในหมู่เกาะมาร์แชลยกพลขึ้นบกที่เกะ Kwajalein และเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะมาร์แชลซึ่งอยู่ในอาณัติของญี่ปุ่น..กองกำลังอเมริกันยังคงพยายามป้องกันหัวหาดที่ Anzio
- กองทัพอังกฤษเข้ายึดครอง Maugdaw เมื่องท่าสำคัญของฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศพม่า..กองทัพอังกฤษในอิตาลีเดินทัพข้ามแม่น้ำ Garigliano.. กองทัพอากาศอังกฤษทิ้งระเบิด 2,300 ตันเหนือกรุงเบอร์ลิน
- กองทัพยูเครนที่ 1 ของกองทัพแดงบุกเข้าถึงโปแลนด์..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกเข้าสู่กลุ่มประเทศบอลติก
- ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มปฏิบัติการ Shingle เข้ายึด Anzio อยู่นานถึง 4 เอื่นโดยที่กองปืนเยอรมันรุกใกล้จะถึงชายหาด.. ทัพสัมพันธมิตรพ่ายแพ้ในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido
กุมภาพันธ์
- การยึดครองหมู่เเกะมาร์แชลของกองทัพอเมริกันใกล้จะสมบูรณ์ แผนการบุกฝรั่งเศสของฝ่ายสัมพันธมิตรในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดได้รับอนุมัติ
มีนาคม
-กลุ่มต่อต้านฟาสซิสต์เริ่มการตอบโต้ทางตอนเหนือของอิตาลี
- ญี่ป่นเริ่มรุกรานเข้าสู่อินเดีย เกิดสงครามรอบ Imphal.. ทัพญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่า
- กองทัพอากาศโซเวียตโจมตีนาร์วา และทำลายเมืองได้..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกในยูเครน ส่งผลให้ทัพเยอรมันต้องถอยทัพไป..กองทัพโซเวียตทิ้งระเบิดทางอากาศที่เมือง ทาลลินน์ ผู้เสียชีวิตราว 800 คนเมืองเวียนนาถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก ฟินแลนด์ปฏิเสธข้อตกลงสันติภาพของโซเวียต..แฟรงก์เฟิร์ตถูกทิ้งระเบิดหนักและมีพลเรือนเสียชีวิตจำนวนมาก หลายเมืองในเยอรมันถูกทิ้งระเบิดติดต่อกันเป็นเวลากว่า ยี่สิบสี่ชัวโมง
เมษายน
- สัมพันธมิตร โจมตีเมืองบูดาเปสต์ในฮังการี และเมืองบูคาเรสต์ในโรมาเนีย โดยเครื่องบินทิ้งระเบิดซึ่งทั้งสามเมืองอยู่ในอาณัติเยอรมันในขณะนั้น
- นายพลCharles de Gaulle เข้าบัญชาการกองกำลังอิสระของฝรั่งเศส
- ญี่ปุ่นเครื่องทัพรุกคืบเข้าที่ราบของ Imphal โดยอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้..ทัพญ๊ปุ่นเคลื่อนพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ที่ทัพอเมริกันตั้งมั่นอยู่
- ทัพเยอรมันถอนกำลังออกจาก Crimea,Crimea และ Odessa ได้รับการปลดปลอ่ยโดยกองกำลังโซเวียต..กองทัพแดงเข้ายึดเมืองท่าสำคัญ Yalta ของเมืองCrimea
- รัฐบาล Badoglio ของอิตาลีถูกโค่นลง แต่เขารีบจัดตั้งคณะใหม่ขึ้นทันที การทิ้งระเบิดอย่างหนักในกรุงปารีส ทำให้พลเรือนเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก
- กองทัพอังกฤษตีฝ่าเปิดทางจาก Imphal ไปยัง Kohima ในอินเดีย
- เครื่องบินของกองทัพสหรัฐฯโจมตีนิวกีนีโดยทั่วไป ทไรสหรัฐฯสามารถยึด Hollandia และ Aitape ทางตอนเหนือของนิวกีนีได้ ญี่ปุ่นถูกตัดขาดจากภายนอก..ทัพอากาศสหรัฐฯลงที่เมืองมินดาเนา ทางใต้ของฟิลิปปินส์..โศกนาฎกรรม Slapton Sands ทหารอเมริกันถูกสังหารระหวางการฝึกซ้อมเพื่อเตรียมการสำหรับดีเดย์ที่เมือง Slapton ใน Devon
- การเตรียมการครั้งใหญ่สำหรับวันดีเดย์ ตลอดทั่วท่างใต้ของประเทศอังกฤษ
พฤษภาคม
- สัมพันธมิตรทิ้งระเบิดอย่างหนักบนแผ่นดินใหญ่ เพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์..กำหนดวันดีเดยสำหรับการปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด ในวันที่ 5 มิถุนายน
- เกิดการรบใหญ่ที่ “แนวกุสตาฟ”ใกล้ มอนติคาสิโน
- ทัพจีนยกพลจำนวนมากเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า
- การรบที่มอนติคาสิโนสิ้นสุดลงโดยฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะทหารโปแลนด์แขวนธงสีแดงและขาวบนซากปรักหักพังของเมือง ทัพเยอรมันถอยออกไป
- การต้านทานครั้งสุดท้ายของทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะ Admiralty ในนิวกีนีสิ้นสุดลง..ทัพอเมริกาขึ้นยึด Biak เกาะในนิวกีนีซึ่งเป็นฐานทัพสำคัญของญี่ปุ่นแต่ฝ่ายญี่ปุ่นต่อต้านยืดเยื้อจนถึงเดือนสิงหาคม..ญี่ปุ่นถอนทัพออกจากอินเดียโดยได้รับความเสียหายอยางหนัก การรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุด
- ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดหนักขึ้นในเขตแดนฝรั่งเศสเพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์
มิถุนายน
-พลร่มอเมริกันกระโดร่มลง นอร์มังดี เพื่อก่อกวนแนวหลังของเยอรมันก่อนการยกพลขึ้นบกกองทัพสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี เริ่มการรบที่นอร์มังดั วันดีเดย์ของปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด พลทหารกว่า 155,000 นายขึ้นฝั่งที่นอร์มังดี
- ปฏิบัติการบาราติออนในเบลารุส และปฏิบัติการขชับไล่ทหารเยอรมันออกจากยูเครนตะวันตกและโปแลนด์ตะวันออก..ขบวนการกู้ชาติโปแลนด์ได้เริ่มต้นก่อการจลาจลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงวอร์ซอ และการจลาจลในสโลวาเกียทางตอนใต้
- กองทัพอเมริกันกดดันแนวป้องกันของญี่ปุ่นตามหมู่เกาะต่าง เริ่มการโจมตีหมู่เกะมเรียนาและปาเลา ซึ่งได้รับชัยชนะเด็ดขาดต่อกองทัพญี่ปุ่นใน “ยุทธนาวีทะเลฟิลิปปินส์”..นายกรัฐมนตรี พลเอกโตโจลาออกจากตำแหน่ง
- สหรัฐฯอเมริกาตั้งฐานทัพที่ฟิลิปปินส์เป็นฐานทัพอากาศซึ่งสามารถรองรับเครื่องยินท้งระเบิดหนักเพื่อโจมตีแผ่นดินใหญ่ญี่ปุ่นได้
กรกฎาคม
- กองทัพเครือจักรภพซึ่งตั้งมั่นอยู่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้สามารถคลายวงล้อมของกองทัพญ่ปุ่นทีรัฐอัสสัม ผลักดันกองทัพญี่ปุ่นถอยไปได้
- การรัฐประหารในโรมาเนียและบับแกเรีย ส่งผลให้ประเทศทั้งสองเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตร
สิงหาคม
- กองทัพญี่ปุ่นเริ่มได้รับชัยชนะอย่างมากจากการยึดเมืองฉางชาไว้ได้ในที่สุดในตอนกลางเดือนมิถุนายนและยึดเหิงหยางไว้ได้
- สัมพันธมิตรมอบหมายหน้าที่ให้กับกองทัพอิตาลี และเริ่มปลดปล่อยฝรั่งเศส
กันยายน
- กองทัพแดงเคลื่อนทัพไปยังยูโกสลาเวียกองทัพยูโกสลาเวีย ต้องถอยร่นอย่างต่อเนืองเพื่อป้องกันมิให้ถูกตัดจากกำลังส่วนอื่นๆ
ตุลาคม
- กองทัพแดงมีส่วนช่วยเหลือพลพรรคในการปลดปล่อยกรุงเบลเกรด หลังจากนั้นกองทัพแดงได้โจมตีฮังการีครั้งใหญ่ในการรุกบูดาเปสต์
- กองทัพอเมริกันยกพลขึ้นบกที่เกาะเลย์เต และได้รับชัยชนะในยุทธการนี้
พฤศจิกายน
- กองทัพญี่ปุนเดินทัพไปยังมณฑลกวางสี สามารถเอาชนะกองกำลังจีนได้ที่กุ้ยหลินและหลิวโจว และประสบความสำเร็จในการเชื่อมต่อกองทัพญี่ปุ่นในจีนและในคาบสมุทรอินโดจีนในกลางเดือน
ธันวาคม
- กองทัพเยอรมันได้พยายามตีโต้ตอบครั้งใหญ่ที่ป่าอาร์เดนเนสเพื่อที่จะแบ่งแยกฝ่ายพันธมิตรตะวันตก เพื่อที่จะรักษาความสงบทางการเมือง
- ยุทธการ Monte Cassino เริ่มต้นการรบครั้งแรกของยุทธการทัพอเมริการล้มเหลว..กองทหารราบที่ 36 ของสหรัฐอเมริกาในอิตาลีได้รับความสูญเสียอย่างหนักในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido.. กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกที่หมู่เกาะ Admiralty ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนิวกีนี..ทัพสหรัฐฯรุกเข้า Majuro ในหมู่เกาะมาร์แชลยกพลขึ้นบกที่เกะ Kwajalein และเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะมาร์แชลซึ่งอยู่ในอาณัติของญี่ปุ่น..กองกำลังอเมริกันยังคงพยายามป้องกันหัวหาดที่ Anzio
- กองทัพอังกฤษเข้ายึดครอง Maugdaw เมื่องท่าสำคัญของฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศพม่า..กองทัพอังกฤษในอิตาลีเดินทัพข้ามแม่น้ำ Garigliano.. กองทัพอากาศอังกฤษทิ้งระเบิด 2,300 ตันเหนือกรุงเบอร์ลิน
- กองทัพยูเครนที่ 1 ของกองทัพแดงบุกเข้าถึงโปแลนด์..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกเข้าสู่กลุ่มประเทศบอลติก
- ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มปฏิบัติการ Shingle เข้ายึด Anzio อยู่นานถึง 4 เอื่นโดยที่กองปืนเยอรมันรุกใกล้จะถึงชายหาด.. ทัพสัมพันธมิตรพ่ายแพ้ในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido
กุมภาพันธ์
- การยึดครองหมู่เเกะมาร์แชลของกองทัพอเมริกันใกล้จะสมบูรณ์ แผนการบุกฝรั่งเศสของฝ่ายสัมพันธมิตรในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดได้รับอนุมัติ
มีนาคม
-กลุ่มต่อต้านฟาสซิสต์เริ่มการตอบโต้ทางตอนเหนือของอิตาลี
- ญี่ป่นเริ่มรุกรานเข้าสู่อินเดีย เกิดสงครามรอบ Imphal.. ทัพญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่า
- กองทัพอากาศโซเวียตโจมตีนาร์วา และทำลายเมืองได้..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกในยูเครน ส่งผลให้ทัพเยอรมันต้องถอยทัพไป..กองทัพโซเวียตทิ้งระเบิดทางอากาศที่เมือง ทาลลินน์ ผู้เสียชีวิตราว 800 คนเมืองเวียนนาถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก ฟินแลนด์ปฏิเสธข้อตกลงสันติภาพของโซเวียต..แฟรงก์เฟิร์ตถูกทิ้งระเบิดหนักและมีพลเรือนเสียชีวิตจำนวนมาก หลายเมืองในเยอรมันถูกทิ้งระเบิดติดต่อกันเป็นเวลากว่า ยี่สิบสี่ชัวโมง
เมษายน
- สัมพันธมิตร โจมตีเมืองบูดาเปสต์ในฮังการี และเมืองบูคาเรสต์ในโรมาเนีย โดยเครื่องบินทิ้งระเบิดซึ่งทั้งสามเมืองอยู่ในอาณัติเยอรมันในขณะนั้น
- นายพลCharles de Gaulle เข้าบัญชาการกองกำลังอิสระของฝรั่งเศส
- ญี่ปุ่นเครื่องทัพรุกคืบเข้าที่ราบของ Imphal โดยอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้..ทัพญ๊ปุ่นเคลื่อนพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ที่ทัพอเมริกันตั้งมั่นอยู่
- ทัพเยอรมันถอนกำลังออกจาก Crimea,Crimea และ Odessa ได้รับการปลดปลอ่ยโดยกองกำลังโซเวียต..กองทัพแดงเข้ายึดเมืองท่าสำคัญ Yalta ของเมืองCrimea
- รัฐบาล Badoglio ของอิตาลีถูกโค่นลง แต่เขารีบจัดตั้งคณะใหม่ขึ้นทันที การทิ้งระเบิดอย่างหนักในกรุงปารีส ทำให้พลเรือนเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก
- กองทัพอังกฤษตีฝ่าเปิดทางจาก Imphal ไปยัง Kohima ในอินเดีย
- เครื่องบินของกองทัพสหรัฐฯโจมตีนิวกีนีโดยทั่วไป ทไรสหรัฐฯสามารถยึด Hollandia และ Aitape ทางตอนเหนือของนิวกีนีได้ ญี่ปุ่นถูกตัดขาดจากภายนอก..ทัพอากาศสหรัฐฯลงที่เมืองมินดาเนา ทางใต้ของฟิลิปปินส์..โศกนาฎกรรม Slapton Sands ทหารอเมริกันถูกสังหารระหวางการฝึกซ้อมเพื่อเตรียมการสำหรับดีเดย์ที่เมือง Slapton ใน Devon
- การเตรียมการครั้งใหญ่สำหรับวันดีเดย์ ตลอดทั่วท่างใต้ของประเทศอังกฤษ
พฤษภาคม
- สัมพันธมิตรทิ้งระเบิดอย่างหนักบนแผ่นดินใหญ่ เพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์..กำหนดวันดีเดยสำหรับการปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด ในวันที่ 5 มิถุนายน
- เกิดการรบใหญ่ที่ “แนวกุสตาฟ”ใกล้ มอนติคาสิโน
- ทัพจีนยกพลจำนวนมากเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า
- การรบที่มอนติคาสิโนสิ้นสุดลงโดยฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะทหารโปแลนด์แขวนธงสีแดงและขาวบนซากปรักหักพังของเมือง ทัพเยอรมันถอยออกไป
- การต้านทานครั้งสุดท้ายของทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะ Admiralty ในนิวกีนีสิ้นสุดลง..ทัพอเมริกาขึ้นยึด Biak เกาะในนิวกีนีซึ่งเป็นฐานทัพสำคัญของญี่ปุ่นแต่ฝ่ายญี่ปุ่นต่อต้านยืดเยื้อจนถึงเดือนสิงหาคม..ญี่ปุ่นถอนทัพออกจากอินเดียโดยได้รับความเสียหายอยางหนัก การรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุด
- ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดหนักขึ้นในเขตแดนฝรั่งเศสเพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์
มิถุนายน
-พลร่มอเมริกันกระโดร่มลง นอร์มังดี เพื่อก่อกวนแนวหลังของเยอรมันก่อนการยกพลขึ้นบกกองทัพสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี เริ่มการรบที่นอร์มังดั วันดีเดย์ของปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด พลทหารกว่า 155,000 นายขึ้นฝั่งที่นอร์มังดี
- ปฏิบัติการบาราติออนในเบลารุส และปฏิบัติการขชับไล่ทหารเยอรมันออกจากยูเครนตะวันตกและโปแลนด์ตะวันออก..ขบวนการกู้ชาติโปแลนด์ได้เริ่มต้นก่อการจลาจลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงวอร์ซอ และการจลาจลในสโลวาเกียทางตอนใต้
- กองทัพอเมริกันกดดันแนวป้องกันของญี่ปุ่นตามหมู่เกาะต่าง เริ่มการโจมตีหมู่เกะมเรียนาและปาเลา ซึ่งได้รับชัยชนะเด็ดขาดต่อกองทัพญี่ปุ่นใน “ยุทธนาวีทะเลฟิลิปปินส์”..นายกรัฐมนตรี พลเอกโตโจลาออกจากตำแหน่ง
- สหรัฐฯอเมริกาตั้งฐานทัพที่ฟิลิปปินส์เป็นฐานทัพอากาศซึ่งสามารถรองรับเครื่องยินท้งระเบิดหนักเพื่อโจมตีแผ่นดินใหญ่ญี่ปุ่นได้
กรกฎาคม
- กองทัพเครือจักรภพซึ่งตั้งมั่นอยู่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้สามารถคลายวงล้อมของกองทัพญ่ปุ่นทีรัฐอัสสัม ผลักดันกองทัพญี่ปุ่นถอยไปได้
- การรัฐประหารในโรมาเนียและบับแกเรีย ส่งผลให้ประเทศทั้งสองเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตร
สิงหาคม
- กองทัพญี่ปุ่นเริ่มได้รับชัยชนะอย่างมากจากการยึดเมืองฉางชาไว้ได้ในที่สุดในตอนกลางเดือนมิถุนายนและยึดเหิงหยางไว้ได้
- สัมพันธมิตรมอบหมายหน้าที่ให้กับกองทัพอิตาลี และเริ่มปลดปล่อยฝรั่งเศส
กันยายน
- กองทัพแดงเคลื่อนทัพไปยังยูโกสลาเวียกองทัพยูโกสลาเวีย ต้องถอยร่นอย่างต่อเนืองเพื่อป้องกันมิให้ถูกตัดจากกำลังส่วนอื่นๆ
ตุลาคม
- กองทัพแดงมีส่วนช่วยเหลือพลพรรคในการปลดปล่อยกรุงเบลเกรด หลังจากนั้นกองทัพแดงได้โจมตีฮังการีครั้งใหญ่ในการรุกบูดาเปสต์
- กองทัพอเมริกันยกพลขึ้นบกที่เกาะเลย์เต และได้รับชัยชนะในยุทธการนี้
พฤศจิกายน
- กองทัพญี่ปุนเดินทัพไปยังมณฑลกวางสี สามารถเอาชนะกองกำลังจีนได้ที่กุ้ยหลินและหลิวโจว และประสบความสำเร็จในการเชื่อมต่อกองทัพญี่ปุ่นในจีนและในคาบสมุทรอินโดจีนในกลางเดือน
ธันวาคม
- กองทัพเยอรมันได้พยายามตีโต้ตอบครั้งใหญ่ที่ป่าอาร์เดนเนสเพื่อที่จะแบ่งแยกฝ่ายพันธมิตรตะวันตก เพื่อที่จะรักษาความสงบทางการเมือง
วันพุธที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Yamamoto Isoroku
พลเรือเอกยามาโมโต้ แห่งกองทัพเรือจักรพรรดนาวีญีปุ่น และผุ้บัญชาการทัพเรือผสมรหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดที่เมืองนากาโอกะ จังหวัดนีงาตะ ประเทศญี่ปุ่น รับปริญญาที่โรงเรียนนายเรือของญี่ปุ่นและนิสิต เก่าของวิทยาลัย
พลเรือเอกอิโซะโระกุ ยะมะโมะโตะ เป็นผู้บัญชาการในปีแรกสำหรับการวางแผนในสงครามหลัก ในสงครามอ่าวเพิร์ล ฮาเบอร์ แผนการรบทั้งหมด นายพลเรืออิโซโรกุ ยามาโมโต้เป็นผู้คิดทั้งหมด และได้ดัแปลงตอร์ปิโด ทำให้ดอร์ปิโดสามารถยิงในน้ำตื้นได้
ในการวางแผนรบที่ยุทธการมิดเวย์ แผนของยามาโมโต้สลับซับซ้อนแต่หนักแน่น ยามาโมโต้รู้ว่าหากเขาโจมตีมิดเวย์ กองเรือแปซิฟิคจะต้องออกมาป้องกันอย่างแน่นอน การต่อสู้ระยะไกลจากญี่ปุ่นขนาดนี้เป็นปัญหาอย่างแน่นอน แต่กองเรือผสมของญี่ปุ่นเห็นว่ามีโอกาสที่จะล่อกองเรือ บรรทุกเครืองยินสหรัฐฯมาติดกับ ซึ่งถ้าเป็นไปตามแผนการที่วางไว้ย่อมคุ้มแน่นอน จึงเสี่ยงที่จะปฏิบัติการ โดยเรื่อบรรทุกเครื่องบิน 4 ลำ จะเป็นกำลังหลักที่จะเข้าโจมตีมิดเวย์ โดยมีกองเรือผิวน้ำที่เข้ามแข็งเป็นกองเรือสนับสนุน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างแน่นอน จำเป็นต้องโจมตีเกาะอาลิวเซียน ซึ่งห่างออกไปทางเหนือ และตวรจการกองเรือสหรัฐ ในกรณีที่สหรัฐจะโจมตีหมู่เกาะคูริลทางเหนือของญี่ปุ่น กองกำลังนี้ประกอบด้วยเรือบรรทุกเครื่องบินเบา 2 ลำ และกองเรือคุ้กัน ประกอบด้วย เรือประจัญบาน 3 ลำ โดยจะอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะอาลิวเซีน แผนนี้กำหนดให้มีการเข้ายึดครองมิดเวย์อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้เป็นฐานของเครื่องบินตรวจการณ์ ดังนั้น ยามาโมโต้จึงได้จัดให้เรือบรรทุกเครื่องบินทะเล 2 ลำ คุ้มกันเรื่อผิวน้ำที่สนับสนุนกองเรือหลักที่จะโจมตีมิดเวย์ ผลของสงครามมิดเวย์ญี่ปุ่นถูกถล่มยับเยินแบบไม่เคยมาก่อน สาเหตุสำคัญมาจากการถอดรหัสของกองทัพญี่ปุ่นได้
การถอดรหัสของทหารสหรัฐฯนั้นกระทำโดยญี่ปุ่นไม่รู้ตัว ยุทธการที่มิดเวย์ จึงเหมือนการล่อกองเรือญี่ปุ่นเข้ามาในดงฉลาม ซึ่งเรือบรรทุกเครื่องบินของสหรัฐฯดักรอถึง 4 ลำ การข่าวของญี่ปุ่นไม่ดีพอความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงโดยโจมตีเรื่อลำเดียวกันถึง สองครั้งและเข้าใจว่าจมเรือศัตรูได้สองลำ ซ้ำร้ายการถอดรหัสของฝ่ายสหรัฐฯนำมาซึ่งการสูญเสียแม่ทัพและผุ้บัญชาการใหญ่ภาคพื้นแปซิฟิกของญี่ปุ่นในขณะเดินทางไปตรวจเยี่ยมทหารที่หมู่เกาะโซโลมอน
18 เมษายน 1943 หนึ่งปีหลังปฏิบัติการ “ดูลิตเติลถล่มโตเกียว” P-38 Lighning 18 เครื่อง บินไปตามจุดนัดเหนือเกาะบูแกวิลย์ ทางตอนใต้ของทะเลโซโลมอนในระยะสูง และทำการถล่มเครื่อง Betty Bomber ที่นายพลยามาโมโต้โดยสารมาหลังจากออกจากฐานทัพราบวล
เชื่อว่าเสียชีวิตในเวลานั้น จากการให้สัมภาษส์นายทหารที่ทำการค้นหาซากเครื่องบินหลังสงครามสงบ เรือตรี โยชิตะ ได้เล่าถึงการเสียชีวิตของ พละรือเอก ยามโมโต้ ผู้บัญชาการทัพเรือผสมว่า “ท่านผู้บัญชาการคงนั่งอยู่บนเก้าอี้ที่หลุกระเด็นออกมาจากเครื่อง ดูราวกับมีชีวิต สายตามองตรงไปข้างหน้า ถุงมือสีขาวที่สวมอยูเปื้อยโคลนเล็กน้อย ดาบซามูไรยังจับอยูด้วยมือทั้งสองอย่างมั่นคงและตั้งอยู่ระหว่างขาทั้งสอง นั่งอยู่คล้ายกับซามูไรที่ยังมีชีวิตอยู่ สีหน้าของท่านเป็นปกติไม่แสดงความเจ็บปวดเลย เครื่องหมายบนอกเสื้อยงส่งแสงระยิบระยับอยู่บนเครื่องแบบสนามสีกากีแกมเขียว เก้าอี้ที่ท่านนั่งถูกเหวียงหลุดกระเด็นไปอยู่ข้างหน้า เครื่องยนต์ซ้าย ซึ่งก็หลุดออกจากปีกของเครื่องยินด้วยเช่นกัน…”
พลเรือเอกอิโซะโระกุ ยะมะโมะโตะ เป็นผู้บัญชาการในปีแรกสำหรับการวางแผนในสงครามหลัก ในสงครามอ่าวเพิร์ล ฮาเบอร์ แผนการรบทั้งหมด นายพลเรืออิโซโรกุ ยามาโมโต้เป็นผู้คิดทั้งหมด และได้ดัแปลงตอร์ปิโด ทำให้ดอร์ปิโดสามารถยิงในน้ำตื้นได้
ในการวางแผนรบที่ยุทธการมิดเวย์ แผนของยามาโมโต้สลับซับซ้อนแต่หนักแน่น ยามาโมโต้รู้ว่าหากเขาโจมตีมิดเวย์ กองเรือแปซิฟิคจะต้องออกมาป้องกันอย่างแน่นอน การต่อสู้ระยะไกลจากญี่ปุ่นขนาดนี้เป็นปัญหาอย่างแน่นอน แต่กองเรือผสมของญี่ปุ่นเห็นว่ามีโอกาสที่จะล่อกองเรือ บรรทุกเครืองยินสหรัฐฯมาติดกับ ซึ่งถ้าเป็นไปตามแผนการที่วางไว้ย่อมคุ้มแน่นอน จึงเสี่ยงที่จะปฏิบัติการ โดยเรื่อบรรทุกเครื่องบิน 4 ลำ จะเป็นกำลังหลักที่จะเข้าโจมตีมิดเวย์ โดยมีกองเรือผิวน้ำที่เข้ามแข็งเป็นกองเรือสนับสนุน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างแน่นอน จำเป็นต้องโจมตีเกาะอาลิวเซียน ซึ่งห่างออกไปทางเหนือ และตวรจการกองเรือสหรัฐ ในกรณีที่สหรัฐจะโจมตีหมู่เกาะคูริลทางเหนือของญี่ปุ่น กองกำลังนี้ประกอบด้วยเรือบรรทุกเครื่องบินเบา 2 ลำ และกองเรือคุ้กัน ประกอบด้วย เรือประจัญบาน 3 ลำ โดยจะอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะอาลิวเซีน แผนนี้กำหนดให้มีการเข้ายึดครองมิดเวย์อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้เป็นฐานของเครื่องบินตรวจการณ์ ดังนั้น ยามาโมโต้จึงได้จัดให้เรือบรรทุกเครื่องบินทะเล 2 ลำ คุ้มกันเรื่อผิวน้ำที่สนับสนุนกองเรือหลักที่จะโจมตีมิดเวย์ ผลของสงครามมิดเวย์ญี่ปุ่นถูกถล่มยับเยินแบบไม่เคยมาก่อน สาเหตุสำคัญมาจากการถอดรหัสของกองทัพญี่ปุ่นได้
การถอดรหัสของทหารสหรัฐฯนั้นกระทำโดยญี่ปุ่นไม่รู้ตัว ยุทธการที่มิดเวย์ จึงเหมือนการล่อกองเรือญี่ปุ่นเข้ามาในดงฉลาม ซึ่งเรือบรรทุกเครื่องบินของสหรัฐฯดักรอถึง 4 ลำ การข่าวของญี่ปุ่นไม่ดีพอความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงโดยโจมตีเรื่อลำเดียวกันถึง สองครั้งและเข้าใจว่าจมเรือศัตรูได้สองลำ ซ้ำร้ายการถอดรหัสของฝ่ายสหรัฐฯนำมาซึ่งการสูญเสียแม่ทัพและผุ้บัญชาการใหญ่ภาคพื้นแปซิฟิกของญี่ปุ่นในขณะเดินทางไปตรวจเยี่ยมทหารที่หมู่เกาะโซโลมอน
18 เมษายน 1943 หนึ่งปีหลังปฏิบัติการ “ดูลิตเติลถล่มโตเกียว” P-38 Lighning 18 เครื่อง บินไปตามจุดนัดเหนือเกาะบูแกวิลย์ ทางตอนใต้ของทะเลโซโลมอนในระยะสูง และทำการถล่มเครื่อง Betty Bomber ที่นายพลยามาโมโต้โดยสารมาหลังจากออกจากฐานทัพราบวล
เชื่อว่าเสียชีวิตในเวลานั้น จากการให้สัมภาษส์นายทหารที่ทำการค้นหาซากเครื่องบินหลังสงครามสงบ เรือตรี โยชิตะ ได้เล่าถึงการเสียชีวิตของ พละรือเอก ยามโมโต้ ผู้บัญชาการทัพเรือผสมว่า “ท่านผู้บัญชาการคงนั่งอยู่บนเก้าอี้ที่หลุกระเด็นออกมาจากเครื่อง ดูราวกับมีชีวิต สายตามองตรงไปข้างหน้า ถุงมือสีขาวที่สวมอยูเปื้อยโคลนเล็กน้อย ดาบซามูไรยังจับอยูด้วยมือทั้งสองอย่างมั่นคงและตั้งอยู่ระหว่างขาทั้งสอง นั่งอยู่คล้ายกับซามูไรที่ยังมีชีวิตอยู่ สีหน้าของท่านเป็นปกติไม่แสดงความเจ็บปวดเลย เครื่องหมายบนอกเสื้อยงส่งแสงระยิบระยับอยู่บนเครื่องแบบสนามสีกากีแกมเขียว เก้าอี้ที่ท่านนั่งถูกเหวียงหลุดกระเด็นไปอยู่ข้างหน้า เครื่องยนต์ซ้าย ซึ่งก็หลุดออกจากปีกของเครื่องยินด้วยเช่นกัน…”
วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:pol
เยอรมันรุกเป็นครั้งสุดท้ายในแนวรบด้านตะวันออกในเดือนกรกฎาคม 1943 ที่ยุทธการ เคิสก์ กองทัพแดงกระหน้ำไม่ยั้งสามารถยันกำลังทัพเยอรมันกลับไปได้ หลังสมรภูมิรบที่สตาลินกราดแล้ว โซเวียตเป็นฝ่ายรุกในที่ทุกแห่งและภายหลังการขับเคียวต่อสู้อย่างหนักก็ประสบชัยชนะในที่สุด..
ฝ่ายประเทศพันธมิตรตะวันตก ก็สามารถเอาชนะคืบหน้าได้ในยุทธภูมิทุกแห่งเช่นกัน และเร่มระแวงกันเองต่างเกรงว่าอีกฝ่ายจะทำสัญญาสันตะภาพแยก สตลินเปลี่ยนท่าทีที่มีต่อประเทศพันธมิตรตะวันตก ภายหลังจากที่รุสเซียรุกคืบเข้ายึดครองดินแดนยุโรปตะวันออกและเยอรมัน สตาลินอ้างการแก้แค้นเยอรมันและการประกันความปลอดภัยจากการโจมตีของเยอรมันในอนาคตขึ้นบังหน้า เพื่อสร้างวงรัฐบริวารทางตะวันตกขึ้น และขยายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าสู่ยุโรป ประเทศพันธมิตรตะวันตกมีสภาพอ่อนล้าเกินกว่าจะจัดการกับสตาลินได้ เมื่อประเทศพันธมิตรตะวันตกไม่สามารถเปิดแนวรบที่ 2 ตามที่สตาลินต้องการได้ โซเวียตดำเนิการตั้งรับเพื่อรักษาพรมแดนด้วยการจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์และการใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ สตาลินยึดอูเครนคืนจากเชคโกสโลวะเกีย แม้ว่าโซเวียตจะเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ แต่สตาลินก็ไม่ยอมรับอุดมการณ์ประชาธิปไตยแบบตะวันตก และไม่ให้ความร่วมมือตกลงอย่งง่าย ๆ ยิ่งโซเวียตรุกคืบเข้าแดนตะวันตกได้ไกลเท่าใด สตาลินจะบรรลุจุดหมายได้ยิ่งขึ้นเท่านั้น ขณะที่พันธมิตรตะวันตกขัดแย้งแตกแยกและสับสน และไม่เห็นความจริง โซเวียตได้ถือโอกาสทำแต้มได้มากที่เดียว
สัมพันธมิตรตะวันตกมีปัญหาสำคัญคือเรื่องโปแลนด์ ในเดือนเมษยน 1943 เยอรมันพบศพทหารชาวโปลหลายพันคนในเขตป่ากาตินใกล้เกบสโมเลนส์โซเวียตกล่าวหาวานาซีเป็นมือสังหาร แต่หลักฐานบ่งชี้ว่าเป็นฝีมือของฝ่ายรักษาความมั่นคงโซเวียต ตั้งแต่ ปี่ 1940 รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์เรียกร้องให้ดำเนินการสอบสวน โซเวียตตัดสัมพันธ์กับรัฐบาลโปลทันที่ สัมพันธ์ภาพระหว่างโซเวียตและโปแลนด์ในระหว่างสงครามยุติลง
ที่ประชุม ณ เมืองเตหะราน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 1943 เชอร์ชิลเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตเคอร์ชัน กำหนดพรมแดนโปแลนด์ทางด้านตะวันออกให้ชดเชยดินแดนทางตะวันตกที่สูญเสียไป โดยดึงส่วนของเยอรมันมาชดเชย สตาลินตกลงทันที่และเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตโอเดอ เนอีสเป็นพรมแดนตะวันตก ซึ่งขยับโปแลนด์ให้เขยื้อนไปทางตะวันตก เชอร์ชิลชักชวนรัฐบาลโปลที่ลอนดอนให้ยอมรับข้อต่อรองนี้ แต่เมือสตานิสลาส มิโก ลาซซิก ผู้นำรัฐบาลโปลพลัดถิ่นคนใหม่เดินทางไปมอสโก ในปี 1944 สหภาพโซเวียตให้การรับรองคณะกรรมธิการลับลินเพื่ออิสรภาพแห่งโปแลนด์ ซึ่งนิยมคอมมิวนิสต์ไปเรียบร้อยแล้ว สิงหาคม กองทัพแดงทีตั้งมี่นอยู่ที่ปราการ เคลื่อนข้ามแม่น้ำวิสตูลาเข้าใกล้กรุงวอร์ซอร์ กองกำลังโปลใต้ดินจัดตั้งแนวร่วมกับรัฐบาลพลัดถิ่นที่ลอนดอนก่อการลุกฮือขึ้นต่อสู้นาซี โศกนาฏกรรมครั้งสำคัญของชาติโปลที่อาภัพเกิดขึ้นอีก กองทัพโซเวียตนิ่งเฉพยปล่อยให้นาซีเยอรมันทำลายแกนกำลังชาวโปล ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อคอมมิวนิสต์ และเป็นอุปสรรคต่อการเข้ายึดครองโปแลนด์ของโซเวียต จากนั้นทัพโซเวียตจึงค่อยบุกเข้าขับไล่นาซีออกไปจากกรุงวอร์ซอว์ คณะกรรมมาธิการคอมมิวนิสต์โปลได้จัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติโปแลนด์ขึ้น
ความขัดแย้งเรื่องการเปิดแนวรบที่ 2 เป็นเหตุให้ไมตรีกับฝ่ายสัมพันธมิตรร้าวฉาน ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศที่มอสโกในเดือนตุลาคม ปี 1943 โซเวียตให้ประเทศตะวันตกรับประกันว่าจะบุกฝรั่งเศสในฤดูใบไม่ผลิทีจะถึง ที่ประชุมเมืองเตหะรานในเดือนพฤศจิกายน สตาลินคัดค้านเชอร์ชิลที่เสนอให้บุกบอลข่านเพราะต้องการกันมิให้โซเวียตขยายอิทธิพลเข้าสู่อาณาเขตนี้ สหรัฐฯสนับสนุนให้บุกฝรั่งเศส สตาลินอาศัยที่รูสเวลท์และเชอร์ชิลขัดแย้งกันเนือ่งจากทั้งสองที่บุคลิกและทัศนะที่แตกต่างกันหาประโยชน์ได้สำเร็จ การยกพลบุกฝรั่งเศสทางฝั่งนอร์มัดีช่วยให้โซเวียตคลายกังวลเรื่องที่นาซีและประเทศตะวันตกจะทำสนธิสัญญาสันติภาพแยกและยุติสงครามเร้ซเกินไป พันธมิตรยกพลขึ้นบก บุกฝรั่งเศสที่นอร์มังดีในเดือนมิถุนายน ปี 1944
ขณะที่กองทัพโซเวียตคืบเข้าสู่โปแลนด์และบอลข่าน เชอร์ชิลได้พยายามขยายปริมณฑลเขตอิทธิพลของอังกฤษภายหลังสงคราม รูสเวลท์ประณามการกระทำดังกล่าวในเดือนมิถุนาปี 1944 เชอร์ชิลเสนอรูปแบบการจัดอิทธิพลในยุโรปตะวันออกได้แก่ โซเวียตมีอิทธิพลในรูเมเนียและบัแกเรีย ร้อยละ 90 อังกฤษได้คุมกรีซเช่นกัน ให้แบ่งยูโกสลาเวียและ ฮังการีกันครองประเทศละครึ่ง แต่ข้อเสนอนี้ไม่มีความหมาย เพราะโซเวียตยึดครองและควบคุมดินแดนดังกล่าวไว้หมดแล้ว
ฝ่ายประเทศพันธมิตรตะวันตก ก็สามารถเอาชนะคืบหน้าได้ในยุทธภูมิทุกแห่งเช่นกัน และเร่มระแวงกันเองต่างเกรงว่าอีกฝ่ายจะทำสัญญาสันตะภาพแยก สตลินเปลี่ยนท่าทีที่มีต่อประเทศพันธมิตรตะวันตก ภายหลังจากที่รุสเซียรุกคืบเข้ายึดครองดินแดนยุโรปตะวันออกและเยอรมัน สตาลินอ้างการแก้แค้นเยอรมันและการประกันความปลอดภัยจากการโจมตีของเยอรมันในอนาคตขึ้นบังหน้า เพื่อสร้างวงรัฐบริวารทางตะวันตกขึ้น และขยายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าสู่ยุโรป ประเทศพันธมิตรตะวันตกมีสภาพอ่อนล้าเกินกว่าจะจัดการกับสตาลินได้ เมื่อประเทศพันธมิตรตะวันตกไม่สามารถเปิดแนวรบที่ 2 ตามที่สตาลินต้องการได้ โซเวียตดำเนิการตั้งรับเพื่อรักษาพรมแดนด้วยการจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์และการใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ สตาลินยึดอูเครนคืนจากเชคโกสโลวะเกีย แม้ว่าโซเวียตจะเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ แต่สตาลินก็ไม่ยอมรับอุดมการณ์ประชาธิปไตยแบบตะวันตก และไม่ให้ความร่วมมือตกลงอย่งง่าย ๆ ยิ่งโซเวียตรุกคืบเข้าแดนตะวันตกได้ไกลเท่าใด สตาลินจะบรรลุจุดหมายได้ยิ่งขึ้นเท่านั้น ขณะที่พันธมิตรตะวันตกขัดแย้งแตกแยกและสับสน และไม่เห็นความจริง โซเวียตได้ถือโอกาสทำแต้มได้มากที่เดียว
สัมพันธมิตรตะวันตกมีปัญหาสำคัญคือเรื่องโปแลนด์ ในเดือนเมษยน 1943 เยอรมันพบศพทหารชาวโปลหลายพันคนในเขตป่ากาตินใกล้เกบสโมเลนส์โซเวียตกล่าวหาวานาซีเป็นมือสังหาร แต่หลักฐานบ่งชี้ว่าเป็นฝีมือของฝ่ายรักษาความมั่นคงโซเวียต ตั้งแต่ ปี่ 1940 รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์เรียกร้องให้ดำเนินการสอบสวน โซเวียตตัดสัมพันธ์กับรัฐบาลโปลทันที่ สัมพันธ์ภาพระหว่างโซเวียตและโปแลนด์ในระหว่างสงครามยุติลง
ที่ประชุม ณ เมืองเตหะราน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 1943 เชอร์ชิลเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตเคอร์ชัน กำหนดพรมแดนโปแลนด์ทางด้านตะวันออกให้ชดเชยดินแดนทางตะวันตกที่สูญเสียไป โดยดึงส่วนของเยอรมันมาชดเชย สตาลินตกลงทันที่และเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตโอเดอ เนอีสเป็นพรมแดนตะวันตก ซึ่งขยับโปแลนด์ให้เขยื้อนไปทางตะวันตก เชอร์ชิลชักชวนรัฐบาลโปลที่ลอนดอนให้ยอมรับข้อต่อรองนี้ แต่เมือสตานิสลาส มิโก ลาซซิก ผู้นำรัฐบาลโปลพลัดถิ่นคนใหม่เดินทางไปมอสโก ในปี 1944 สหภาพโซเวียตให้การรับรองคณะกรรมธิการลับลินเพื่ออิสรภาพแห่งโปแลนด์ ซึ่งนิยมคอมมิวนิสต์ไปเรียบร้อยแล้ว สิงหาคม กองทัพแดงทีตั้งมี่นอยู่ที่ปราการ เคลื่อนข้ามแม่น้ำวิสตูลาเข้าใกล้กรุงวอร์ซอร์ กองกำลังโปลใต้ดินจัดตั้งแนวร่วมกับรัฐบาลพลัดถิ่นที่ลอนดอนก่อการลุกฮือขึ้นต่อสู้นาซี โศกนาฏกรรมครั้งสำคัญของชาติโปลที่อาภัพเกิดขึ้นอีก กองทัพโซเวียตนิ่งเฉพยปล่อยให้นาซีเยอรมันทำลายแกนกำลังชาวโปล ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อคอมมิวนิสต์ และเป็นอุปสรรคต่อการเข้ายึดครองโปแลนด์ของโซเวียต จากนั้นทัพโซเวียตจึงค่อยบุกเข้าขับไล่นาซีออกไปจากกรุงวอร์ซอว์ คณะกรรมมาธิการคอมมิวนิสต์โปลได้จัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติโปแลนด์ขึ้น
ความขัดแย้งเรื่องการเปิดแนวรบที่ 2 เป็นเหตุให้ไมตรีกับฝ่ายสัมพันธมิตรร้าวฉาน ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศที่มอสโกในเดือนตุลาคม ปี 1943 โซเวียตให้ประเทศตะวันตกรับประกันว่าจะบุกฝรั่งเศสในฤดูใบไม่ผลิทีจะถึง ที่ประชุมเมืองเตหะรานในเดือนพฤศจิกายน สตาลินคัดค้านเชอร์ชิลที่เสนอให้บุกบอลข่านเพราะต้องการกันมิให้โซเวียตขยายอิทธิพลเข้าสู่อาณาเขตนี้ สหรัฐฯสนับสนุนให้บุกฝรั่งเศส สตาลินอาศัยที่รูสเวลท์และเชอร์ชิลขัดแย้งกันเนือ่งจากทั้งสองที่บุคลิกและทัศนะที่แตกต่างกันหาประโยชน์ได้สำเร็จ การยกพลบุกฝรั่งเศสทางฝั่งนอร์มัดีช่วยให้โซเวียตคลายกังวลเรื่องที่นาซีและประเทศตะวันตกจะทำสนธิสัญญาสันติภาพแยกและยุติสงครามเร้ซเกินไป พันธมิตรยกพลขึ้นบก บุกฝรั่งเศสที่นอร์มังดีในเดือนมิถุนายน ปี 1944
ขณะที่กองทัพโซเวียตคืบเข้าสู่โปแลนด์และบอลข่าน เชอร์ชิลได้พยายามขยายปริมณฑลเขตอิทธิพลของอังกฤษภายหลังสงคราม รูสเวลท์ประณามการกระทำดังกล่าวในเดือนมิถุนาปี 1944 เชอร์ชิลเสนอรูปแบบการจัดอิทธิพลในยุโรปตะวันออกได้แก่ โซเวียตมีอิทธิพลในรูเมเนียและบัแกเรีย ร้อยละ 90 อังกฤษได้คุมกรีซเช่นกัน ให้แบ่งยูโกสลาเวียและ ฮังการีกันครองประเทศละครึ่ง แต่ข้อเสนอนี้ไม่มีความหมาย เพราะโซเวียตยึดครองและควบคุมดินแดนดังกล่าวไว้หมดแล้ว
WWII:Alliance’s Conference
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 การประชุมครั้งสำคัญๆ ของฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อยุติสงครามและสร้างสันติภาพแก่โลก ดังนี้
1 การประชุมที่คาซาบลังก้าปี 1943 The Casablanca Conference of 1943 ในเดือนมกราคม ผุ้นำของสองชาติคือ ประธานาธิบดีรูสเวลท์ และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิล ร่วมประชุมกันที่เมืองคาซาบลันก้า เมืองท่าทางตะวันตกเยงเหนือของโมร็อคโค มติการเจรจาคือยุติการรบในแอฟริกา ร่วมปฏิบัติการรบจนดว่าฝ่ายอักษาะจะยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข ให้ดไวท์ ดี.ไอเซนฮาวร์ เป็นผู้บัญชาการกองกำลัง
สัมพันธมิตร ในสมรภูมิรบในอแฟริกาเหนือและจัดการให้อิตาลียอมจำนน ผลการปฏิบัติการรบในแอฟริกาปรากฎว่าในวันที่ 12 พฤษภาคม 1943 กองกำลังอักษะกวาสองแสนคนยอมจำนนตอ่กองกำลังสัมพันธมิตร เป็นการยุติการรบในแอฟริกา งานที่ต้องทำต่อไปคือปฏิบัติการรบให้อิตาลียอมจำนน เริ่มด้วยต้นเดือนกรกฎา 1943 กองกำลังสัมพันธมิตรประกอบด้วยอังดฤษ สหรัฐอเมริกา และแคนาดาจากตูนิเซียข้ามทะเลเมดิเตอเรเนียนบุกเข้ายึดเกาะซิซิลี Sicily ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอิตาลี ซิชิลียอมจำนน ปลายเดือนกรกฎาคม
มุสโสลินีถูกโค่นล้มอำนาจ รัฐบาลใหม่อิตาลีประกาศสงครามกับเยอรมัน
2 การประชุมที่มอสโคว์ ปี 1943 The Moscow Conference of 1943 ในวันที่ 30 ตุลาคม รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของสี่ชาติมหาอำนาจโลก ประกอบไปด้วย สหรัฐฯ อังกฤษ จีน และรัสเซีย
ประชุมกันที่มอสโคว์ มติที่ประชุมคือเห็นควรจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ
3 การประชุมที่ไคโร ปี 1943 The Cairo Conference of 1943 ในวันที่ 22 พฤศจิกายน ประนาธิบดี รูสเวลท์ นายกรัฐมนตรี เชอร์ชิล และเจียง ไค เชค ร่วมประชุมที่กรุงไคโร พูดเรื่องเอเชียตะวันออกไกล ทั้งสามผุ้นำร่วมลงนามในคำประกาศไคโร กำหนดเรีอกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข
4 การประชุมที่เตหะราน ปี 1943 The Teheran Conference of 1943 ในวันที่ 28 พฤศจิกายน ผุ้นำสามชาติคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และรุสเซีย ร่วมประชุมกันที่กรุงเตหะราน มติของที่ประชุม คือ รุสเซียสัญญาจะทำสงครามกับญี่ปุ่นในอนาคตขับไล่กองกำลังเยอรมันออกจากยุโรปตะวันตก กอบกู้ฝรั่งเศสจากการถูกยึดครองโดยเยอรมัน ให้นายพลดไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร เป็นผู้บัญชากองกำลังสัมพันธมิตรในสมรภูมิยุโรปตะวันตก และเห็นชอบในการจัดตังองคก์การระวห่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความสงบสุขของโลก
1 การประชุมที่คาซาบลังก้าปี 1943 The Casablanca Conference of 1943 ในเดือนมกราคม ผุ้นำของสองชาติคือ ประธานาธิบดีรูสเวลท์ และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิล ร่วมประชุมกันที่เมืองคาซาบลันก้า เมืองท่าทางตะวันตกเยงเหนือของโมร็อคโค มติการเจรจาคือยุติการรบในแอฟริกา ร่วมปฏิบัติการรบจนดว่าฝ่ายอักษาะจะยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข ให้ดไวท์ ดี.ไอเซนฮาวร์ เป็นผู้บัญชาการกองกำลัง
สัมพันธมิตร ในสมรภูมิรบในอแฟริกาเหนือและจัดการให้อิตาลียอมจำนน ผลการปฏิบัติการรบในแอฟริกาปรากฎว่าในวันที่ 12 พฤษภาคม 1943 กองกำลังอักษะกวาสองแสนคนยอมจำนนตอ่กองกำลังสัมพันธมิตร เป็นการยุติการรบในแอฟริกา งานที่ต้องทำต่อไปคือปฏิบัติการรบให้อิตาลียอมจำนน เริ่มด้วยต้นเดือนกรกฎา 1943 กองกำลังสัมพันธมิตรประกอบด้วยอังดฤษ สหรัฐอเมริกา และแคนาดาจากตูนิเซียข้ามทะเลเมดิเตอเรเนียนบุกเข้ายึดเกาะซิซิลี Sicily ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอิตาลี ซิชิลียอมจำนน ปลายเดือนกรกฎาคม
มุสโสลินีถูกโค่นล้มอำนาจ รัฐบาลใหม่อิตาลีประกาศสงครามกับเยอรมัน
2 การประชุมที่มอสโคว์ ปี 1943 The Moscow Conference of 1943 ในวันที่ 30 ตุลาคม รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของสี่ชาติมหาอำนาจโลก ประกอบไปด้วย สหรัฐฯ อังกฤษ จีน และรัสเซีย
ประชุมกันที่มอสโคว์ มติที่ประชุมคือเห็นควรจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ
3 การประชุมที่ไคโร ปี 1943 The Cairo Conference of 1943 ในวันที่ 22 พฤศจิกายน ประนาธิบดี รูสเวลท์ นายกรัฐมนตรี เชอร์ชิล และเจียง ไค เชค ร่วมประชุมที่กรุงไคโร พูดเรื่องเอเชียตะวันออกไกล ทั้งสามผุ้นำร่วมลงนามในคำประกาศไคโร กำหนดเรีอกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข
4 การประชุมที่เตหะราน ปี 1943 The Teheran Conference of 1943 ในวันที่ 28 พฤศจิกายน ผุ้นำสามชาติคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และรุสเซีย ร่วมประชุมกันที่กรุงเตหะราน มติของที่ประชุม คือ รุสเซียสัญญาจะทำสงครามกับญี่ปุ่นในอนาคตขับไล่กองกำลังเยอรมันออกจากยุโรปตะวันตก กอบกู้ฝรั่งเศสจากการถูกยึดครองโดยเยอรมัน ให้นายพลดไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร เป็นผู้บัญชากองกำลังสัมพันธมิตรในสมรภูมิยุโรปตะวันตก และเห็นชอบในการจัดตังองคก์การระวห่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความสงบสุขของโลก
The price
แนวความคิดเกี่ยวกับยุทธศาสตร์สมัยใหม่ Modren Strategy แนวคิดเกียวกับเรื่องยุทธศาสตร์สมัยใหม่นั้น ได้เริ่มในตอนปลายศตวรรษที่ 15 ต่อตอนต้นศตวรษที่ 16 กล่าวคือ ได้มีรัฐบุรุษที่มีชื่อเสียงชาวอิตาเลียนผู้ไน่งชื่อ มาเคียวเวลลี ซึ่งนับเป็นบุคคลแรกที่ได้พัฒนากฎเกณฑ์ในการใช้กำลังอำนาจทางการเมือง
ในโลกปัจจุบัน มาเคียเวลลี ได้เขียนหนังสือไว้หลายเล่มด้วยกัน สิ่งสำคัญที่มาเคียเวลลีกล่าวถึงก็คือ รูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ “พลังอำจาจของรัฐ”ซึ่งต่อมาก็ได้เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า “องค์ประกอบของพลังอำนาจแห่งชาติ”ตามแนวคิดของมาเคียวเวลลี่ นั้น ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักสำคัญ 3 ประการ การเมือง สังคม และการทหาร ซึ่งแต่ละประเทศมีพลังอำนาจไม่เท่ากัน บางประเทศีพลังอำนาจมากบางประเทศมีพลังอำนาจน้อย ประเทศที่มีอำนาจมากสามารถใช้พลังอำนาจบับบังคับให้ประเทศที่มีพลังอำนาจน้อยปฏิบัติตามในส่งที่ตนต้องการ ในสมัยนั้นไม่มีการคำนึงถึงองค์ประกอบสำคัญอีกประการคือ “เศรษฐกิจ” ซึ่งมีผลกระทบอย่างสำคัญต่อองค์ประกอบอื่นๆ ในระยะต่อมา
“พลังอำนาจแห่งชาติ” เป็นสิ่งที่มีความสำคัญยิ่งในการศึกษายุทธศาสตร์สมัยใหม่เพราะพลังอำนาจแห่งชาติเป็นเสมือนเครื่องมือ หรืออาวุทธหรือพาหนะที่จะนำไปสู่เป้าหมายอันพึงประสงค์
แนวคิดเรื่องการใช้พลังอำนาจแห่งชาตินั้น หาใช่เป็นเรื่องใหม่แต่อย่างใด เพราะตั้งแต่ได้มีการบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์เป็นต้นมานั้น ไม่ว่าระบบการปกครองจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม ต่างก็มีแนวความคิดที่จะใช้พลังอำนาจที่มีอยู่ทำการปกป้องผลประโยชน์ของตนทั้งนั้น ดังนั้น ประเทศเอกราชต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องสร้างพลังอำนาจของตนไว้ให้มากพอ เพื่อป้องกันมิให้ประเทศอื่นใช้พลังอำนาจที่มากกว่าเข้ามาบับบังคับและทำลายความเป็นอิสระหรือล้มล้างอำนาจสูงสุดของชาติ
มาเคียเวลลี ได้กล่าวถึงความสำคัญของการข่าว เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประมาณสถานการณ์ เรื่องภัยคุกคามทางทหารว่า “สำหรับนายพลแล้ว ไม่มีอะไรที่มีค่ามากไปกว่าความพยายามที่จะหาข่าว่า ฝ่ายข้าศึกกำลังทำอะไรอยู่”
เมื่อพิจารณาแนวคิดทางยุทธศาสตร์ของมาเคียเวลลร จะเห็นได้ว่า มีลักษณะของการมุ่งเน้นไปสู่จุดหมายปลายทาง และยังเน้นถึงเครื่องมือต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพเป็นส่วนมาก โดยไม่ได้คำนึงถึงความยุติธรรม จริยธรรม และอุดมการณ์แต่อย่างใดของเพียงแต่ให้ได้มาซึ่งชัยชนะเท่านั้น มาเคียเวลลีได้กล่าวไว้ในหนังสือ “ The Prince” ตอนหนึ่งว่า
“กษัตริย์ต้องทำทุกสิ่งทุกอย่างไม่ว่าจะยุติธรมหรือไม่ เพื่อรักษาไว้ซึ่งความคงอยู่และความเป็นเอกราชของประเทศ กษัตริย์ไม่จำเป็นที่จะต้องรักษาคำมั่นสัญญา ถ้าหากว่าการรักษาคำมั่นสัญญานั้นจะเป็นผลร้ายต่อประเทศของตน กษัตริย์ไม่จำเป็นต้องเป็นคนใจบุญ ซื่อตรง หรือเคร่งศาสนาอย่างจริงจังแต่อย่างใด แต่ควรจะแสดงให้คนอื่นเขาเห็นว่าตนเป็นคนใจบุญ ซื่อตรง และเคร่งศสนา ก็เพื่อหลอกคนอื่นให้เขาหลงเชื่อเท่านั้น กษัตรยิ์ต้องรู้จักใช้วิธีของสัตว์โดยเฉพาะของสิงโต และของสุนัขจิ้งจอก..”
มาเคียเวลลี ได้ชื่อว่าเป็นบิดแห่งรัฐศาสตร์สมัยใหม่ เป็นักคิดคนสำคัญของทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เรียกว่าสัจนิยมในบรรดานักคิดทางรัฐศาสตร์ที่สำคัญ ๆ มีบุคคลหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อแนวความคิดและอุดมการณ์ของนักการเมืองในทุกยุคทุกสมัย ผุ้ที่ชื่อว่าเป็นทั้ง “นักคิดที่ไร้ศีลธรรม” และบางที่ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น “นักคิดที่กล้าหาญ” เพราะว่าเขาพูดความจริงที่ไม่เคยมีใครในโลกพูด เขาพูดถึงธรรมชาติที่แท้จริงของมนุษย์ ในทางการเมืองอย่างตรงไปตรงมา “ The Prince” เผยแพร่ในปี 1532 ซึ่งเสนอแนวความคิดในทางการเมืองแบบใหม่ ก่กึ่งระหว่างประโยชน์และโทษ เนื่อจากผู้นำทรราชหลายๆ คนบนโลกแห่งความจริงได้ยึดเนื้อหาหนังสือเรื่องนี้มาเป็นบรรทัดฐานในการปกครองประเทศ อาทิ มุสโสลินี ฮิตเลอร์ สตาลินหรือเมาเจ๋อ ตง เลนินล้วนแต่ดำเนินตามทฤษฎีขอเขาทั้งสิ้น เนื้อหาของหนังสือพอสรุปได้ดังนี้
- แยกการเมืองออกจากศาสนา การเมืองและศาสนาเป็นคนละเรื่องกัน การเล่นการเมืองไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงศีลธรรมจรรย ซึ่งไม่เคยมีใครเสนอแนวคิดแบบนี้มาก่อนในขณะที่นักกการเมืองสมัยเก่าบอกว่าผู้ปกครองควรมีคุณธรรม ศีลธรรมจรรยา และพระเจ้า
- รัฐเป็นสิ่งสูงสุด ความต้องการของแต่ละคนที่เข้ามารวมตัวเป็นรัฐคือผลประโยชน์ ดังนันการคงอยู่ของรัฐและเจตจำนงของรัฐจะตองอยู่เหนือสิ่งอื่นใด แม้กระทั้งปัจเจกบุคคล
- ต้องแยกรัฐออกจากศีลธรรมจรรยา ดังนั้นจึงไม่อาจพูดได้ว่ารัฐทำผิดหรือถูก เช่นเดียวกับบุคคลที่เป็นตัวแทนของรัฐ จะไปวินิจฉัยว่าเขาทำผิดหรือถูกไม่ได้เช่นกัน เพราะผลประโยชน์ของรัฐยย่อมเหนือความถูกผิดทั้งปวง
- ผู้ครองนครหรือนักการเมืองเป็นนักฉวยโอกาส ทุกคน แรงจูงที่ทำให้เกิดการเมือง คือผลประโยชน์ ดังนั้นนักการเมืองหรือผุ้ครองนครต้องกระทำการทุกอย่างเมือมีโอกาส เพื่อผลประโยชน์ของรัฐ
- อย่ากลัวถ้าจะต้องทำผิดบ้าง ผุ้ปกครองที่ประสบความสำเร็จต้องทำผิดบ้าง และควรใช้ประโยชน์จากการทำผิดนั้นด้วย เพราะบางสิ่งบางอย่างที่คนภายนอกมองเห็นว่าดี แต่ในทางปฏิบัติกลับไมได้ผลดีตามที่เห็น ในขณะที่ของที่ดูไม่ดีก็อาจจะใช้การได้ ดังนั้นผุ้ปกครองไม่จำเป็นต้องเลือกแต่สิ่งที่ดี ๆ แต่ควรดูว่าสสิ่งๆ นั้นเมือ่นำไปปฏิบัติแล้วได้ประโยชน์หรือไม่ เพราะเมือจุดหมมายปลายทางหรือผลที่ได้มันได้ประโยชน์ จะถือว่าสิ่งๆ นั้นเป็นสิ่งทีดี
- ผุ้ปกคองไม่จำเป็นต้องเป็นคนดี แต่ควรแสร้งแสดงใหคนอื่นคิดวาเป็นคนดี ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพราะเป็นสิ่งที่สำคัญกว่าการเป็นคนดีเสียเองซึ่งไม่มีประโยชน์อะไร
- ผุ้ปกครองควรให้คนกลัวมากกว่าคนรัก เพราะความรักอาจกลายเป้นความเกลียด ผู้ปกครองจึงควรใช้อำนาจและความรุนแรงเพื่อให้ผุ้อื่นกลัว
- หลีกเลี่ยงการประจบสอพลอ เพราะการปนะจบสอพลอ คือความอ่อนแอ และทำให้ลุ่มหลง ไม่อาจมองเห็นความจริงได้ ผุ้ปกครองจึงควรสนับสนุนการพูดความจริงและตั้งคนฉลาดเป็นที่ปรึกษา และรับประกันเสรรภาพ ของที่ปรึกษาที่จะพูดความจริงอย่างตรงไปตรงมา
- ผู้มีอำนาจย่อมเป็นผู้ถูกเสมอ เพราะคนมีอำนาจจะทำอะไรก็ได้โดยไม่มีมครกล้าว่าผิด จุดมุ่งหมายย่อมสำคัญกว่าวิธีการ จะทำอะไรก็ไดเพื่อให้บรรลุจุดหมาย
- ผู้มีอำนาจไม่ควรอยู่ที่ทางสายกลาง เมื่อจะทำอะไรเต็มที่และเปิดเผย มาดเคียเวลลีกว่าวว่า เราไม่สามารถรับใช้พระเจ้า และซีซาร์ได้ในขณะเดียวกัน หรือเราไม่สามรถถือดาบกับไบเบิลได้พร้อมๆ กัน…..
มาเคียเวลลีนั้นถือว่าการใช้กำลังหรือการหลอกลวงไม่เป็นที่น่าละอายแต่อย่างใดถ้าหากวิธีการนั้นจะทำให้เปรเทศมั่นคงขึ้น ความคิดดังกล่าวมีผุ้นำไปใช้แก้ปัญหาทั้งในประเทศประชาธิปไตยและอำนาจนิยม ในทางประชธิปไตยนั้นไม่มีปัญหามากนัก แต่ในทางอำนาจนิยมนั้นมักจะต้องประสบกับภัยสงครามอยู่เนื่องๆ เพราะผุ้ชนะก็จะเป็นฝ่ายถูกเสมอ “ อำนาจคือธรรม” มาเคียเวลลี มีส่วนในการก่ออิทธิพลอย่างสำคัญต่อนักยุทธศสตร์และวีรบุรุษสำคัญๆ หลายท่าน ทั้งจากมาเคียเลลีเองและจากสานุศิษย์ของมาเคียเวลลีด้วย ผุ้ที่ได้รับอิทธิพลที่สำคัญๆ อาทิ โทมมัส เจปเฟอร์สัน นิโคไล เลนิน และอดอฟ ฮิตเลอร์ เป็นต้น
ในโลกปัจจุบัน มาเคียเวลลี ได้เขียนหนังสือไว้หลายเล่มด้วยกัน สิ่งสำคัญที่มาเคียเวลลีกล่าวถึงก็คือ รูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ “พลังอำจาจของรัฐ”ซึ่งต่อมาก็ได้เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า “องค์ประกอบของพลังอำนาจแห่งชาติ”ตามแนวคิดของมาเคียวเวลลี่ นั้น ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักสำคัญ 3 ประการ การเมือง สังคม และการทหาร ซึ่งแต่ละประเทศมีพลังอำนาจไม่เท่ากัน บางประเทศีพลังอำนาจมากบางประเทศมีพลังอำนาจน้อย ประเทศที่มีอำนาจมากสามารถใช้พลังอำนาจบับบังคับให้ประเทศที่มีพลังอำนาจน้อยปฏิบัติตามในส่งที่ตนต้องการ ในสมัยนั้นไม่มีการคำนึงถึงองค์ประกอบสำคัญอีกประการคือ “เศรษฐกิจ” ซึ่งมีผลกระทบอย่างสำคัญต่อองค์ประกอบอื่นๆ ในระยะต่อมา
“พลังอำนาจแห่งชาติ” เป็นสิ่งที่มีความสำคัญยิ่งในการศึกษายุทธศาสตร์สมัยใหม่เพราะพลังอำนาจแห่งชาติเป็นเสมือนเครื่องมือ หรืออาวุทธหรือพาหนะที่จะนำไปสู่เป้าหมายอันพึงประสงค์
แนวคิดเรื่องการใช้พลังอำนาจแห่งชาตินั้น หาใช่เป็นเรื่องใหม่แต่อย่างใด เพราะตั้งแต่ได้มีการบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์เป็นต้นมานั้น ไม่ว่าระบบการปกครองจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม ต่างก็มีแนวความคิดที่จะใช้พลังอำนาจที่มีอยู่ทำการปกป้องผลประโยชน์ของตนทั้งนั้น ดังนั้น ประเทศเอกราชต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องสร้างพลังอำนาจของตนไว้ให้มากพอ เพื่อป้องกันมิให้ประเทศอื่นใช้พลังอำนาจที่มากกว่าเข้ามาบับบังคับและทำลายความเป็นอิสระหรือล้มล้างอำนาจสูงสุดของชาติ
มาเคียเวลลี ได้กล่าวถึงความสำคัญของการข่าว เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประมาณสถานการณ์ เรื่องภัยคุกคามทางทหารว่า “สำหรับนายพลแล้ว ไม่มีอะไรที่มีค่ามากไปกว่าความพยายามที่จะหาข่าว่า ฝ่ายข้าศึกกำลังทำอะไรอยู่”
เมื่อพิจารณาแนวคิดทางยุทธศาสตร์ของมาเคียเวลลร จะเห็นได้ว่า มีลักษณะของการมุ่งเน้นไปสู่จุดหมายปลายทาง และยังเน้นถึงเครื่องมือต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพเป็นส่วนมาก โดยไม่ได้คำนึงถึงความยุติธรรม จริยธรรม และอุดมการณ์แต่อย่างใดของเพียงแต่ให้ได้มาซึ่งชัยชนะเท่านั้น มาเคียเวลลีได้กล่าวไว้ในหนังสือ “ The Prince” ตอนหนึ่งว่า
“กษัตริย์ต้องทำทุกสิ่งทุกอย่างไม่ว่าจะยุติธรมหรือไม่ เพื่อรักษาไว้ซึ่งความคงอยู่และความเป็นเอกราชของประเทศ กษัตริย์ไม่จำเป็นที่จะต้องรักษาคำมั่นสัญญา ถ้าหากว่าการรักษาคำมั่นสัญญานั้นจะเป็นผลร้ายต่อประเทศของตน กษัตริย์ไม่จำเป็นต้องเป็นคนใจบุญ ซื่อตรง หรือเคร่งศาสนาอย่างจริงจังแต่อย่างใด แต่ควรจะแสดงให้คนอื่นเขาเห็นว่าตนเป็นคนใจบุญ ซื่อตรง และเคร่งศสนา ก็เพื่อหลอกคนอื่นให้เขาหลงเชื่อเท่านั้น กษัตรยิ์ต้องรู้จักใช้วิธีของสัตว์โดยเฉพาะของสิงโต และของสุนัขจิ้งจอก..”
มาเคียเวลลี ได้ชื่อว่าเป็นบิดแห่งรัฐศาสตร์สมัยใหม่ เป็นักคิดคนสำคัญของทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เรียกว่าสัจนิยมในบรรดานักคิดทางรัฐศาสตร์ที่สำคัญ ๆ มีบุคคลหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อแนวความคิดและอุดมการณ์ของนักการเมืองในทุกยุคทุกสมัย ผุ้ที่ชื่อว่าเป็นทั้ง “นักคิดที่ไร้ศีลธรรม” และบางที่ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น “นักคิดที่กล้าหาญ” เพราะว่าเขาพูดความจริงที่ไม่เคยมีใครในโลกพูด เขาพูดถึงธรรมชาติที่แท้จริงของมนุษย์ ในทางการเมืองอย่างตรงไปตรงมา “ The Prince” เผยแพร่ในปี 1532 ซึ่งเสนอแนวความคิดในทางการเมืองแบบใหม่ ก่กึ่งระหว่างประโยชน์และโทษ เนื่อจากผู้นำทรราชหลายๆ คนบนโลกแห่งความจริงได้ยึดเนื้อหาหนังสือเรื่องนี้มาเป็นบรรทัดฐานในการปกครองประเทศ อาทิ มุสโสลินี ฮิตเลอร์ สตาลินหรือเมาเจ๋อ ตง เลนินล้วนแต่ดำเนินตามทฤษฎีขอเขาทั้งสิ้น เนื้อหาของหนังสือพอสรุปได้ดังนี้
- แยกการเมืองออกจากศาสนา การเมืองและศาสนาเป็นคนละเรื่องกัน การเล่นการเมืองไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงศีลธรรมจรรย ซึ่งไม่เคยมีใครเสนอแนวคิดแบบนี้มาก่อนในขณะที่นักกการเมืองสมัยเก่าบอกว่าผู้ปกครองควรมีคุณธรรม ศีลธรรมจรรยา และพระเจ้า
- รัฐเป็นสิ่งสูงสุด ความต้องการของแต่ละคนที่เข้ามารวมตัวเป็นรัฐคือผลประโยชน์ ดังนันการคงอยู่ของรัฐและเจตจำนงของรัฐจะตองอยู่เหนือสิ่งอื่นใด แม้กระทั้งปัจเจกบุคคล
- ต้องแยกรัฐออกจากศีลธรรมจรรยา ดังนั้นจึงไม่อาจพูดได้ว่ารัฐทำผิดหรือถูก เช่นเดียวกับบุคคลที่เป็นตัวแทนของรัฐ จะไปวินิจฉัยว่าเขาทำผิดหรือถูกไม่ได้เช่นกัน เพราะผลประโยชน์ของรัฐยย่อมเหนือความถูกผิดทั้งปวง
- ผู้ครองนครหรือนักการเมืองเป็นนักฉวยโอกาส ทุกคน แรงจูงที่ทำให้เกิดการเมือง คือผลประโยชน์ ดังนั้นนักการเมืองหรือผุ้ครองนครต้องกระทำการทุกอย่างเมือมีโอกาส เพื่อผลประโยชน์ของรัฐ
- อย่ากลัวถ้าจะต้องทำผิดบ้าง ผุ้ปกครองที่ประสบความสำเร็จต้องทำผิดบ้าง และควรใช้ประโยชน์จากการทำผิดนั้นด้วย เพราะบางสิ่งบางอย่างที่คนภายนอกมองเห็นว่าดี แต่ในทางปฏิบัติกลับไมได้ผลดีตามที่เห็น ในขณะที่ของที่ดูไม่ดีก็อาจจะใช้การได้ ดังนั้นผุ้ปกครองไม่จำเป็นต้องเลือกแต่สิ่งที่ดี ๆ แต่ควรดูว่าสสิ่งๆ นั้นเมือ่นำไปปฏิบัติแล้วได้ประโยชน์หรือไม่ เพราะเมือจุดหมมายปลายทางหรือผลที่ได้มันได้ประโยชน์ จะถือว่าสิ่งๆ นั้นเป็นสิ่งทีดี
- ผุ้ปกคองไม่จำเป็นต้องเป็นคนดี แต่ควรแสร้งแสดงใหคนอื่นคิดวาเป็นคนดี ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพราะเป็นสิ่งที่สำคัญกว่าการเป็นคนดีเสียเองซึ่งไม่มีประโยชน์อะไร
- ผุ้ปกครองควรให้คนกลัวมากกว่าคนรัก เพราะความรักอาจกลายเป้นความเกลียด ผู้ปกครองจึงควรใช้อำนาจและความรุนแรงเพื่อให้ผุ้อื่นกลัว
- หลีกเลี่ยงการประจบสอพลอ เพราะการปนะจบสอพลอ คือความอ่อนแอ และทำให้ลุ่มหลง ไม่อาจมองเห็นความจริงได้ ผุ้ปกครองจึงควรสนับสนุนการพูดความจริงและตั้งคนฉลาดเป็นที่ปรึกษา และรับประกันเสรรภาพ ของที่ปรึกษาที่จะพูดความจริงอย่างตรงไปตรงมา
- ผู้มีอำนาจย่อมเป็นผู้ถูกเสมอ เพราะคนมีอำนาจจะทำอะไรก็ได้โดยไม่มีมครกล้าว่าผิด จุดมุ่งหมายย่อมสำคัญกว่าวิธีการ จะทำอะไรก็ไดเพื่อให้บรรลุจุดหมาย
- ผู้มีอำนาจไม่ควรอยู่ที่ทางสายกลาง เมื่อจะทำอะไรเต็มที่และเปิดเผย มาดเคียเวลลีกว่าวว่า เราไม่สามารถรับใช้พระเจ้า และซีซาร์ได้ในขณะเดียวกัน หรือเราไม่สามรถถือดาบกับไบเบิลได้พร้อมๆ กัน…..
มาเคียเวลลีนั้นถือว่าการใช้กำลังหรือการหลอกลวงไม่เป็นที่น่าละอายแต่อย่างใดถ้าหากวิธีการนั้นจะทำให้เปรเทศมั่นคงขึ้น ความคิดดังกล่าวมีผุ้นำไปใช้แก้ปัญหาทั้งในประเทศประชาธิปไตยและอำนาจนิยม ในทางประชธิปไตยนั้นไม่มีปัญหามากนัก แต่ในทางอำนาจนิยมนั้นมักจะต้องประสบกับภัยสงครามอยู่เนื่องๆ เพราะผุ้ชนะก็จะเป็นฝ่ายถูกเสมอ “ อำนาจคือธรรม” มาเคียเวลลี มีส่วนในการก่ออิทธิพลอย่างสำคัญต่อนักยุทธศสตร์และวีรบุรุษสำคัญๆ หลายท่าน ทั้งจากมาเคียเลลีเองและจากสานุศิษย์ของมาเคียเวลลีด้วย ผุ้ที่ได้รับอิทธิพลที่สำคัญๆ อาทิ โทมมัส เจปเฟอร์สัน นิโคไล เลนิน และอดอฟ ฮิตเลอร์ เป็นต้น
วันจันทร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Thai-Japan
สงครามโลกครั้งที่ 2 ตรงกับรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระประเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นคือ จอมพลป.พิบูลสงคราม ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้นำฝ่ายทหารของคณะราษฎร์
พ.ศ.2483 (ค.ศ.1940)
กรณีพิพาทอินโดจีน สถานการณ์ในประเทศไทยเริ่มในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2483(ค.ศ.1940)เมื่อคณะนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองรวมทั้งประชาชนร่วมกันเดินขบวนเรียกร้องรัฐบาลเรียกเอาดินแดนคือจากฝรั่งเศสจากเหตุการณ์ ร.ศ. 112(Franco-Siamese War “สงครามฝรั่งเศษ-สยามการหาประโยชน์ของฝ่ายฝรั่งเศสในดินแดนลาว โดยใช้ประโยชน์จากจุดอ่อนของสยามที่ไม่สามารถดูแลหัวเมืองชายแดนไม่ได้ทั่งถึง
การก่อกบฏในเวียดนาม ที่เกิดเป็นระยะๆ การปราบฮ่อ ซึ่งแตกพ่ายจากเหตุการณ์กบฎไท่ผิงในจีน สร้างความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลสยามกับรัฐบาลฝรั่งเศสที่ปารีสมากยิ่งขึ้น ผลคือไทยต้องยอมยกดอนแดนลาวฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งนำมาซึ่งการสูญเสียดินแดนประเทศราชของไทยใรเขมรและลาวที่เหลืออยู่ในเวลาต่อมา)
พ.ศ.2484 (ค.ศ. 1941)
จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และผุ้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น ส่งทหารข้ามพรมแดนเข้าไปยึดดินแดนคืนทันที่ ท่านกลางกระแสชาตินิยมอย่างหนัก เกิดการยิงต่อสู้ระหว่างทหารไทยกับฝรั่งเศส ยุทธนาวีที่เกาะช้าง จ.ตราดเป็นการยุทธที่กล่าวถึงกันมากที่สุดแม่เรื่อหลวงธนบุรจะถูกจมลง แต่ก็สร้างความเสียหายแก่ทางฝรั่งเศสยังผลให้ฝรั่งเศสไม่รุกล้ำเข้ามาในน่านน้ำไทยอีก การต่อสู้คงดำเนินมาถึงปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ.1941)ไม่มีที่ท่าว่าจะ
ยุติญี่ปุ่นแสดงเจตจำนงเข้ามาไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง เหตุการณ์ยุติลงโดยทางฝรั่งเศสคืนดินแดนบางส่วนให้แก่ไทย
หลังจากการเข้ามามีบทบาทของญี่ปุ่นในเหตุการณ์ครั้งนั้นมีการคาดการณ์ว่าญี่ปุ่นจะยาตราทัพเข้าสุประเทศไทยในอนาคตอย่างแน่นอน
ญี่ปุ่นยกพลขึ้นขึ้นบกที่ประเทศไทยและมาลายา ในวันเดียวกันกับการโจมตีที่เพิร์ล ฮาร์เบิร์ล ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร นครศณีธรรมราช สงขลา สุราษฏร์ธานี ปัตตนี และบางปู สมุทรปราการ และบุกเข้าประเทศภาคพื้นดินที่อรัฐประเทศ ยุวชนทหารไทยต่อสู้อย่างกล้าหาญภายใต้การนำของ ร้อยเอกถวิล นิยมเสน ที่สะพานท่านางสังฆ์… รัฐบาลไทยพ่ายแพ้ต่อกองทัพญี่ปุ่น
พ.ศ. 2485 (ค.ศ.1942)
“กติกาสัญญาพันธไมตรีระหว่างประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย” มีผลให้ไทยเข้าร่วมกับญี่ปุ่นอย่างเต็มตัว และตามด้วยประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2485 (ค.ศ.1942)
กติการสัญญาฯ สะท้อนให้เห็นถึงนโยบายทางการทหารของญี่ปุ่นต่อไทยที่เน้นการดึงไทยเข้าเป็นพันธมิตรในการทำสงครามมากกว่าที่จะชเครอบครองเหตุปัจจัยเนื่องจากไทยเป็นดินแดนที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การปกครองตะวันตกและโดยหลักการยังคงดำเนินนโยบายเป็นกลางในสงคราม นอกจานั้นสภาพทางภูมิศาสตร์ของไทยที่เชื่อมต่อกับอาณานิคมของอังกฤษคือพม่าและมลายู ทำให้ไทยมีความสำคัญในฐานะเป็นฐานปฏิบัติกาทางการทหารที่จะสนับสุนกองทัพญี่ปุ่นในการโจมตีดินแดนทั้งสอง อีกทั้งไทยเป็นแหล่งสำคัญในการผลิตเสบียงอาหารเพื่ป้อนกองทัพญี่ป่น และความอุดมสมบูรณ์ในการผลิตอาหารนี่เองยังทำให้ไทยเหมาะเป็นพื้นที่ตั้งรับในกรณีที่ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายเสียเปรียบอีกด้วย
ความสัมพันธ์ของไทยกับญี่ปุ่นจึงดำเนินไปด้วยดีประกอบกั่บหลวงพิบูลสงครามยังเล็งผลเลิศบางประการจากากรให้ความร่วมือกับญี่ปุ่น ดังปรากฎในกติกาสัญญาพันธไมตรีที่มีข้อตกลลับต่อท้าย ซึ่งสะท้อนให้เห็นผลประโยชน์ต่างตอบแทนระหว่างไทยและญี่ปุ่น..
ความร่วมมือระหว่งกองทัพญี่ปุ่นและกองทัพไทยเกิดขึ้นภายหลังจกาการทำ “ข้อตกลงร่วมรบระหว่างญี่ปุ่น-ไทย”เมื่อต้นปี ถึงแม้ข้อตกลงฉบับนี้จะใช้คำว่าร่วมรบแต่อันที่จริงแล้ว กองทัพญี่ปุ่นหมายถึงการที่กองทัพไทยจะต้องอยู่ภายใต้การชี้นำของญี่ปุ่น ซึ่งการร่วรบระหว่างทหารญี่ปุ่นและทหารไทยเกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวเมืองกองทัพญี่ปุ่นได้เปรียบในการรบด้านพม่าตลอดจนถึงยูนนาน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่รัฐบาลพิบูลสงครามมีความปรารถนาอย่างรแกล้าที่จะได้ครอบครอง เนื่องจากความเชื่อที่ว่าดินแดนดังกล่าวคือดินแดนที่ไทยสูญเสียให้กับอังกฤษในสมัยล่าอาณานิคม
“เค้าโครงในการร่วมรบระหว่างญี่ปุ่น-ไทยต่อจีน”ในเค้าโครงดังกล่าวกองทัพพายัพของไทยซึ่งตั้งขึ้นตามคำแนะนำของญี่ปุ่นโดยมีพลตรี จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์เป็นแม่ทัพ มีหน้าที่รับผิดชอบในการบุกพื้นที่ด้านตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ได้บุกเข้าไปทางรัฐฉานของบพม่าและเข้ายึดเชียงตุงแต่เมื่อเข้ายึดพื้นที่ดังกล่าวเกิดความขัดแย้งระหว่งกองทัพใหญ่ภาคใต้ของญี่ปุ่นกับกองทัพพายัพของไทยในเรื่องการครอบครองดินแดนในรัฐฉาน ซึ่งสุดท้ายความขัดแย้งดังกล่าวส้นสุดลงภายหลังจากญี่ปุ่นยกเมื่องเชียงตุงและเมืองพานให้กับไทยในปี 2486 เมื่อครั้งที่นายพล โตโจ เดินทางมาเยื่อนกรุงเทพฯ
- “กรณีบ้านโป่ง” เป็นเพียงชนวนที่ทำให้ความไม่พอใจของรัฐบาลไทยต่อญี่ปุ่นที่สั่งสมมาก่อนหน้านี้เปิดเผยให้เห็นชัดเจนขึ้นเท่านั้น อันที่จริงความสัมพันธ์ระหว่งประเทศพันธมิตรทังสองเริ่มสั่นคลอนภายหลังจากรัฐบาลญี่ปุ่นตัดสินใจตั้งกระทรวงมหาเอเซียบูรพาขึ้นในเดือนพฤศจิกา พ.ศ. 2485 เพื่อทำหน้าที่ดูแลกิจการที่สัมพันธ์กับดินแดนต่าง ๆ ในวงไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเซียบูรพา ยังความไม่พอใจแก่รัฐบาลไทยเป็ยอย่างยิงเนื่องจากการที่กิจการที่เกี่ยวกับประเทศไทยต้องเข้าไปอยู่ในความดูแลของกระทรวงมหาเอเซียบูรพาเช่นเดียวกับแมนจูก็กและจีนที่มีรัฐบาลหุ่นของญี่ปุ่นปกครองอยู่ ทำให้สถานะของไปทยเปรียบเสมือนประเทศที่อยู่ในการควบคุมของญี่ปุ่น ซึ่งประเนเรื่องสถานะของไทยในความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นนั้นเป็นเรื่องที่อ่อนไหวมากต่อผู้นำรัฐบาลไทยในขณะนั้น
- เหตุการณ์น้ำท้วม ปลายปี พ.ศ. 2485 เกิดน้ำท่วมครั้งใหญที่พระนครและธนบุรี ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนเลวร้ายไปอีก สภาพเศรษฐกิจของกินของใช้ขาดแคลน เกิดการกักตุนสินค้าเกิดเป็น “ตลาดมืด” และพ่อค้าคนไทยบางส่วนได้ร่ำรวยไปตามๆ กันเกิดเป็น “เศรษฐีสงคราม” แต่เครื่องบิน บี 29 หยุดทำการทิ้งระเบิดเช่นกัน
- กองพลทหารรถไฟที่ 9 เข้ามาปฏิบัติภารกิจภายหลังจากญี่ปุ่นวางโครงสร้างทางรถไฟเชื่อมไทย-พม่า สังกัดอยู่กับกองทัพใหญ่แป่งภาคพื้นทิศใต้ ซึ่งมีกองบัญชากากรอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์ในมลายู มีสำนักงานแยกต่างหากอยู่ที่สนามกีฬาแห่งชาติในกรุงเทพ กองทัพญี่ปุ่นประจำประเทศไทยมีหน้าทีเฉพาะการติดต่อกับรัฐบาลไทยและให้ความช่วยเหลือโครงการสร้างทางรถไฟเท่านั้น
พ.ศ. 2486 (ค.ศ. 1943)
“กองทัพญี่ปุ่นประจำประเทศไทย” จัดตั้งขึ้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 โดยมีกองบัญชากากรอยู่ที่หอการค้าจีนที่ถนนสาทร กรุงเทพ อยู่ภายใต้การบลังคับบัญชาของพลโทนากามุระ อาเคโตะ มีหน้าที่สำคัญสองประการคือ ป้องกันไทยซึ่งเป็นที่มั่นแนวหลังให้กับสมรุภูมิพม่าและมลายู และหน้าที่ในการดูแลกองทัพญี่ปุ่นที่เดินทัพผ่านประเทศไทย จะเห็นได้ว่าหน้าที่หลักทั้งสองของกองทัพญ่ปุน่นประจำประเทศไทยมีลักษณะในการดูแลความสงบเรียบร้อยมากกว่ามี่จะเป็นกองทัพเพื่อการสู้รบ กองกำลังญี่ปุ่นในประเทศไทยจึงไม่มีกำลังที่ใหญ่โตนัก เป็นการรวบรวมกองกำลังบางส่วนที่เคยสังกัดอยู่กับกองลัญาการใหญ่ภาคพื้อนทิศใต้(สิงคโปร์)ย้ายมาสังกัดกับหน่วยงานใหม่ที่ตั้งขึ้นนี้ ภาระกิจอันดับแรกคือการจัดการกับปัญหาหนี้สินที่กองทัพญี่ปุ่นติดค้างรัฐบาลและราษฎรท้องถ่นตลอดระยะเวลาที่ญี่ปุ่นเข้ามรตั้งฐานในไทย และจัดพิมพ์คู่มือสำหรับทหารเกียวดับ
มารยาทและการปฏิบัติตัวกับชาวไทย แต่โดยเนื้อแท้สภานะการณ์สงครามเท่านั้นที่เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการรักษาพันธไมตรีระหว่างประเทศทั้งสอง ความเสียปรียบในสงครามของกองทัพญ๊ปุ่นปรากฎให้เห็นและรับรู้กันทั่งไปภายหลังจากเครื่องบินของฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มโจมตีกรุงเทพในปลายปี 2486 การเปลี่ยนแปลงบทบาทของกองทัพญี่ปุ่นต่อประจำประเทศไทยก็เริ่มเกิดขึ้น
“การทิ้งระเบิดในประเทศไทย” ฝ่ายสัมพันธมิตรทำการทิ้งระเบิด ทำลายสนามบิน ชุมทางรถไฟ ท่าเรือ สะพาน อันเป็นปมคมนาคมเพื่อตัดเส้นทางลำเลียงของญี่ปุ่น พระนครและธนบุรีถูกเครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรโจมตีทิ้งระเบิด ระหว่าง ปี พ.ศ. 2485-2488 เช่น สถานนีรถไฟหัวลำโพง สถานีรถไฟบางกอกน้อย สถานีรถไฟช่องนนทรีย์ สถานีรถไฟบางซื่อ โรงงานซ่อมสร้างหัวรถจักรมักกะสัน โรงไฟฟ้าวัดเลียบ โรงงานปูนซีเมนต์บางซื่อ สะพานพุทธยาดฟ้า สะพานพระราม 6 ท่าเรือคลองเตย สนามบินดอนเมือง สถานทูตญี่ปุ่น ที่พักและคลังอาวุธของทหารญี่ปุ่น…เป็นต้น
ทางรถไฟสายหนองปลาดุก-กาญจนบุรี-ทันบีอูซายัด จะถูกขนานนามว่า “ทางรถไฟสายมรณะ”แต่ความสำเร็จในการก่อสร้างที่ใช้เวลาเพียงประมาณหนึ่งปีก็สะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับกองทัพญี่ปุ่น ตลอดจนถึงกลุ่มพ่อค้าเมืองหลงและพ่อค้าท้องถ่นที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง รวมทั้งการจัดจ้างแรงงาน
พ.ศ.2483 (ค.ศ.1940)
กรณีพิพาทอินโดจีน สถานการณ์ในประเทศไทยเริ่มในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2483(ค.ศ.1940)เมื่อคณะนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองรวมทั้งประชาชนร่วมกันเดินขบวนเรียกร้องรัฐบาลเรียกเอาดินแดนคือจากฝรั่งเศสจากเหตุการณ์ ร.ศ. 112(Franco-Siamese War “สงครามฝรั่งเศษ-สยามการหาประโยชน์ของฝ่ายฝรั่งเศสในดินแดนลาว โดยใช้ประโยชน์จากจุดอ่อนของสยามที่ไม่สามารถดูแลหัวเมืองชายแดนไม่ได้ทั่งถึง
การก่อกบฏในเวียดนาม ที่เกิดเป็นระยะๆ การปราบฮ่อ ซึ่งแตกพ่ายจากเหตุการณ์กบฎไท่ผิงในจีน สร้างความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลสยามกับรัฐบาลฝรั่งเศสที่ปารีสมากยิ่งขึ้น ผลคือไทยต้องยอมยกดอนแดนลาวฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งนำมาซึ่งการสูญเสียดินแดนประเทศราชของไทยใรเขมรและลาวที่เหลืออยู่ในเวลาต่อมา)
พ.ศ.2484 (ค.ศ. 1941)
จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และผุ้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น ส่งทหารข้ามพรมแดนเข้าไปยึดดินแดนคืนทันที่ ท่านกลางกระแสชาตินิยมอย่างหนัก เกิดการยิงต่อสู้ระหว่างทหารไทยกับฝรั่งเศส ยุทธนาวีที่เกาะช้าง จ.ตราดเป็นการยุทธที่กล่าวถึงกันมากที่สุดแม่เรื่อหลวงธนบุรจะถูกจมลง แต่ก็สร้างความเสียหายแก่ทางฝรั่งเศสยังผลให้ฝรั่งเศสไม่รุกล้ำเข้ามาในน่านน้ำไทยอีก การต่อสู้คงดำเนินมาถึงปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ.1941)ไม่มีที่ท่าว่าจะ
ยุติญี่ปุ่นแสดงเจตจำนงเข้ามาไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง เหตุการณ์ยุติลงโดยทางฝรั่งเศสคืนดินแดนบางส่วนให้แก่ไทย
หลังจากการเข้ามามีบทบาทของญี่ปุ่นในเหตุการณ์ครั้งนั้นมีการคาดการณ์ว่าญี่ปุ่นจะยาตราทัพเข้าสุประเทศไทยในอนาคตอย่างแน่นอน
ญี่ปุ่นยกพลขึ้นขึ้นบกที่ประเทศไทยและมาลายา ในวันเดียวกันกับการโจมตีที่เพิร์ล ฮาร์เบิร์ล ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร นครศณีธรรมราช สงขลา สุราษฏร์ธานี ปัตตนี และบางปู สมุทรปราการ และบุกเข้าประเทศภาคพื้นดินที่อรัฐประเทศ ยุวชนทหารไทยต่อสู้อย่างกล้าหาญภายใต้การนำของ ร้อยเอกถวิล นิยมเสน ที่สะพานท่านางสังฆ์… รัฐบาลไทยพ่ายแพ้ต่อกองทัพญี่ปุ่น
พ.ศ. 2485 (ค.ศ.1942)
“กติกาสัญญาพันธไมตรีระหว่างประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย” มีผลให้ไทยเข้าร่วมกับญี่ปุ่นอย่างเต็มตัว และตามด้วยประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2485 (ค.ศ.1942)
กติการสัญญาฯ สะท้อนให้เห็นถึงนโยบายทางการทหารของญี่ปุ่นต่อไทยที่เน้นการดึงไทยเข้าเป็นพันธมิตรในการทำสงครามมากกว่าที่จะชเครอบครองเหตุปัจจัยเนื่องจากไทยเป็นดินแดนที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การปกครองตะวันตกและโดยหลักการยังคงดำเนินนโยบายเป็นกลางในสงคราม นอกจานั้นสภาพทางภูมิศาสตร์ของไทยที่เชื่อมต่อกับอาณานิคมของอังกฤษคือพม่าและมลายู ทำให้ไทยมีความสำคัญในฐานะเป็นฐานปฏิบัติกาทางการทหารที่จะสนับสุนกองทัพญี่ปุ่นในการโจมตีดินแดนทั้งสอง อีกทั้งไทยเป็นแหล่งสำคัญในการผลิตเสบียงอาหารเพื่ป้อนกองทัพญี่ป่น และความอุดมสมบูรณ์ในการผลิตอาหารนี่เองยังทำให้ไทยเหมาะเป็นพื้นที่ตั้งรับในกรณีที่ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายเสียเปรียบอีกด้วย
ความสัมพันธ์ของไทยกับญี่ปุ่นจึงดำเนินไปด้วยดีประกอบกั่บหลวงพิบูลสงครามยังเล็งผลเลิศบางประการจากากรให้ความร่วมือกับญี่ปุ่น ดังปรากฎในกติกาสัญญาพันธไมตรีที่มีข้อตกลลับต่อท้าย ซึ่งสะท้อนให้เห็นผลประโยชน์ต่างตอบแทนระหว่างไทยและญี่ปุ่น..
ความร่วมมือระหว่งกองทัพญี่ปุ่นและกองทัพไทยเกิดขึ้นภายหลังจกาการทำ “ข้อตกลงร่วมรบระหว่างญี่ปุ่น-ไทย”เมื่อต้นปี ถึงแม้ข้อตกลงฉบับนี้จะใช้คำว่าร่วมรบแต่อันที่จริงแล้ว กองทัพญี่ปุ่นหมายถึงการที่กองทัพไทยจะต้องอยู่ภายใต้การชี้นำของญี่ปุ่น ซึ่งการร่วรบระหว่างทหารญี่ปุ่นและทหารไทยเกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวเมืองกองทัพญี่ปุ่นได้เปรียบในการรบด้านพม่าตลอดจนถึงยูนนาน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่รัฐบาลพิบูลสงครามมีความปรารถนาอย่างรแกล้าที่จะได้ครอบครอง เนื่องจากความเชื่อที่ว่าดินแดนดังกล่าวคือดินแดนที่ไทยสูญเสียให้กับอังกฤษในสมัยล่าอาณานิคม
“เค้าโครงในการร่วมรบระหว่างญี่ปุ่น-ไทยต่อจีน”ในเค้าโครงดังกล่าวกองทัพพายัพของไทยซึ่งตั้งขึ้นตามคำแนะนำของญี่ปุ่นโดยมีพลตรี จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์เป็นแม่ทัพ มีหน้าที่รับผิดชอบในการบุกพื้นที่ด้านตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ได้บุกเข้าไปทางรัฐฉานของบพม่าและเข้ายึดเชียงตุงแต่เมื่อเข้ายึดพื้นที่ดังกล่าวเกิดความขัดแย้งระหว่งกองทัพใหญ่ภาคใต้ของญี่ปุ่นกับกองทัพพายัพของไทยในเรื่องการครอบครองดินแดนในรัฐฉาน ซึ่งสุดท้ายความขัดแย้งดังกล่าวส้นสุดลงภายหลังจากญี่ปุ่นยกเมื่องเชียงตุงและเมืองพานให้กับไทยในปี 2486 เมื่อครั้งที่นายพล โตโจ เดินทางมาเยื่อนกรุงเทพฯ
- “กรณีบ้านโป่ง” เป็นเพียงชนวนที่ทำให้ความไม่พอใจของรัฐบาลไทยต่อญี่ปุ่นที่สั่งสมมาก่อนหน้านี้เปิดเผยให้เห็นชัดเจนขึ้นเท่านั้น อันที่จริงความสัมพันธ์ระหว่งประเทศพันธมิตรทังสองเริ่มสั่นคลอนภายหลังจากรัฐบาลญี่ปุ่นตัดสินใจตั้งกระทรวงมหาเอเซียบูรพาขึ้นในเดือนพฤศจิกา พ.ศ. 2485 เพื่อทำหน้าที่ดูแลกิจการที่สัมพันธ์กับดินแดนต่าง ๆ ในวงไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเซียบูรพา ยังความไม่พอใจแก่รัฐบาลไทยเป็ยอย่างยิงเนื่องจากการที่กิจการที่เกี่ยวกับประเทศไทยต้องเข้าไปอยู่ในความดูแลของกระทรวงมหาเอเซียบูรพาเช่นเดียวกับแมนจูก็กและจีนที่มีรัฐบาลหุ่นของญี่ปุ่นปกครองอยู่ ทำให้สถานะของไปทยเปรียบเสมือนประเทศที่อยู่ในการควบคุมของญี่ปุ่น ซึ่งประเนเรื่องสถานะของไทยในความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นนั้นเป็นเรื่องที่อ่อนไหวมากต่อผู้นำรัฐบาลไทยในขณะนั้น
- เหตุการณ์น้ำท้วม ปลายปี พ.ศ. 2485 เกิดน้ำท่วมครั้งใหญที่พระนครและธนบุรี ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนเลวร้ายไปอีก สภาพเศรษฐกิจของกินของใช้ขาดแคลน เกิดการกักตุนสินค้าเกิดเป็น “ตลาดมืด” และพ่อค้าคนไทยบางส่วนได้ร่ำรวยไปตามๆ กันเกิดเป็น “เศรษฐีสงคราม” แต่เครื่องบิน บี 29 หยุดทำการทิ้งระเบิดเช่นกัน
- กองพลทหารรถไฟที่ 9 เข้ามาปฏิบัติภารกิจภายหลังจากญี่ปุ่นวางโครงสร้างทางรถไฟเชื่อมไทย-พม่า สังกัดอยู่กับกองทัพใหญ่แป่งภาคพื้นทิศใต้ ซึ่งมีกองบัญชากากรอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์ในมลายู มีสำนักงานแยกต่างหากอยู่ที่สนามกีฬาแห่งชาติในกรุงเทพ กองทัพญี่ปุ่นประจำประเทศไทยมีหน้าทีเฉพาะการติดต่อกับรัฐบาลไทยและให้ความช่วยเหลือโครงการสร้างทางรถไฟเท่านั้น
พ.ศ. 2486 (ค.ศ. 1943)
“กองทัพญี่ปุ่นประจำประเทศไทย” จัดตั้งขึ้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 โดยมีกองบัญชากากรอยู่ที่หอการค้าจีนที่ถนนสาทร กรุงเทพ อยู่ภายใต้การบลังคับบัญชาของพลโทนากามุระ อาเคโตะ มีหน้าที่สำคัญสองประการคือ ป้องกันไทยซึ่งเป็นที่มั่นแนวหลังให้กับสมรุภูมิพม่าและมลายู และหน้าที่ในการดูแลกองทัพญี่ปุ่นที่เดินทัพผ่านประเทศไทย จะเห็นได้ว่าหน้าที่หลักทั้งสองของกองทัพญ่ปุน่นประจำประเทศไทยมีลักษณะในการดูแลความสงบเรียบร้อยมากกว่ามี่จะเป็นกองทัพเพื่อการสู้รบ กองกำลังญี่ปุ่นในประเทศไทยจึงไม่มีกำลังที่ใหญ่โตนัก เป็นการรวบรวมกองกำลังบางส่วนที่เคยสังกัดอยู่กับกองลัญาการใหญ่ภาคพื้อนทิศใต้(สิงคโปร์)ย้ายมาสังกัดกับหน่วยงานใหม่ที่ตั้งขึ้นนี้ ภาระกิจอันดับแรกคือการจัดการกับปัญหาหนี้สินที่กองทัพญี่ปุ่นติดค้างรัฐบาลและราษฎรท้องถ่นตลอดระยะเวลาที่ญี่ปุ่นเข้ามรตั้งฐานในไทย และจัดพิมพ์คู่มือสำหรับทหารเกียวดับ
มารยาทและการปฏิบัติตัวกับชาวไทย แต่โดยเนื้อแท้สภานะการณ์สงครามเท่านั้นที่เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการรักษาพันธไมตรีระหว่างประเทศทั้งสอง ความเสียปรียบในสงครามของกองทัพญ๊ปุ่นปรากฎให้เห็นและรับรู้กันทั่งไปภายหลังจากเครื่องบินของฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มโจมตีกรุงเทพในปลายปี 2486 การเปลี่ยนแปลงบทบาทของกองทัพญี่ปุ่นต่อประจำประเทศไทยก็เริ่มเกิดขึ้น
“การทิ้งระเบิดในประเทศไทย” ฝ่ายสัมพันธมิตรทำการทิ้งระเบิด ทำลายสนามบิน ชุมทางรถไฟ ท่าเรือ สะพาน อันเป็นปมคมนาคมเพื่อตัดเส้นทางลำเลียงของญี่ปุ่น พระนครและธนบุรีถูกเครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรโจมตีทิ้งระเบิด ระหว่าง ปี พ.ศ. 2485-2488 เช่น สถานนีรถไฟหัวลำโพง สถานีรถไฟบางกอกน้อย สถานีรถไฟช่องนนทรีย์ สถานีรถไฟบางซื่อ โรงงานซ่อมสร้างหัวรถจักรมักกะสัน โรงไฟฟ้าวัดเลียบ โรงงานปูนซีเมนต์บางซื่อ สะพานพุทธยาดฟ้า สะพานพระราม 6 ท่าเรือคลองเตย สนามบินดอนเมือง สถานทูตญี่ปุ่น ที่พักและคลังอาวุธของทหารญี่ปุ่น…เป็นต้น
ทางรถไฟสายหนองปลาดุก-กาญจนบุรี-ทันบีอูซายัด จะถูกขนานนามว่า “ทางรถไฟสายมรณะ”แต่ความสำเร็จในการก่อสร้างที่ใช้เวลาเพียงประมาณหนึ่งปีก็สะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับกองทัพญี่ปุ่น ตลอดจนถึงกลุ่มพ่อค้าเมืองหลงและพ่อค้าท้องถ่นที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง รวมทั้งการจัดจ้างแรงงาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...