การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก เป็นชุดการพิจารณาคดีทางทหาร ที่จัดขึ้นโดยฝ่ายสัมนธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการฟ้องสมาชิกชั้นผู้ใหญ่ในคณะผู้นำทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของนาซีเยอมัน ซึ่งพ่ายสงคราม
การพิจราณาทั้งนี้มีขึ้น ณ ตำหนักยุติธรรม เมืองเนือร์นแบร์ก รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอมัน โดยลุดแรกเป็ฯ “การพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามกลุ่มหลัก” ในศาลทหารระหว่งผระเทศ เริ่มในวันที่ 20 พฤศจิกายน 1945 และเป็นการพิจารณาอันเป็นที่กล่าวขานมากที่สุดด้วย จำเลยในชุดนี้ประกอบด้วยผู้นำคนสำคัญที่สุดยี่สิบสี่คนของนาซีเยอรมันรซึ่งถูกจับมาได้ ทว่า บุคคลสำคัญหลาย ๆ คน ที่ชักใยอยู่เบื้องหลังสงครามอาทิ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เฮนริค ฮิมม์เลอร์ และโจเซฟ เกิเบลส์นั้น กระทำอัตวินิบาตกรรมไปก่อนหน้าแล้ว การพิจารณาชุดแรกนี้สิ้นสุดลงในวันที่ 1 ตุลาคม 1946
ส่วนชุดที่สอง เป็นการพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามซึ่งมีความสำคัญน้อยกว่าจำเลยหลุ่มแรก ดำเนินการโดย คณะตุลาการทหารเนือร์นแบร์ก
เอกสารของคณะรัฐมนตรีสงครามแห่งอังกฤษ ระบุว่า ในเดือนธันวาคม 1944 คณะรัฐมนตีได้อภิปรายถึงนโบยกาลงโทษผู้นำนาซีทีถูกจบตัวได้ วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีแห่งอังกฤษได้สนับสนุนให้มีการประหารชีวิตอยางรวบรัดในบางพฤติการณ์ โดยใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยกบฏ เพื่อหลักเลี่ยงอุปสรรคทางกฎหมายบางประการอย่างไรก็ดี เมือได้พูดคุยกับสหรัฐอมเริกาภายหลังสงครามยุติแล้ว สหรัฐอเมริกาได้ปรามเขามิให้ใช้นโยบายนี้ ครั้น
ปลายปี ค.ศ. 1943 โจเซฟ สตาลิน เสนอใหประหารชีวิตนายทหารชาวเยอรมันร่าว ๆ ห้าหมืนถึงหนึ่งแสนคน โรสเวลต์ กล่าวติดตลกว่า เอาแค่สีหมื่อนเกาก็พอ และเชอร์ชิลติเตียนแนวคิด “ประหารชีวิตตเหล่าทหารที่สู้รบเพื่อประเทศของตนให้ตายเสียอยางเลือดเย็น” แต่เขายืนยันว่า ผู้กระทำความผิดอาญาสงครามต้องชดใช้ความผิดของตนและตามปฏิญามอสโกที่เขาเขียนขึ้นเองนั้น เขายังว่า บุคคลเหล่านั้นจักต้องถูกพิจรรณา ณ สถานที่ที่ความผิดอาญาได้กรทะลง เชอร์ชิลลล์ต่อต้านการประหารเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมืองอย่างแข็งขัน ตามรายงานประชุมระหว่างโรสเวลต์-สตาลินในการประชุมยอลตา เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 1945 ประธานาธิบดีโรสเวลต์ “กล่าวว่า ขอบเขตการทำลายล้างของหทหารเยอรมันในไครเมียนั้นสร้างความตระหนกให้แก่เขาเป็นอัน
มาก และเพราะฉะนั้น เขาจึงกรหายเลือดต่อชาวเยอรมันมากยิ่งกว่าปีก่อน และเขาหวังว่าจอมพลสตาลินจะเสนอแผนการประหารชีวิตนายทหารจำนวนห้าหมื่อนคนของกองทัพบกเยอรมันอีกครั้ง
เฮนรี่ มอร์เกนเธา จูเนียร์ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังแห่งสหรัฐอเมริกา เสอนแผนการให้ทำลายความเป็นนาซีจากเยอรมันอย่างสมบูรณ์ แผนการดังกล่าวเรียกกันว่า “แผนการมอร์เกนเธา”นี้เนื้อหาสนับสนุนการบังคับให้เยอรมันสูญเสียอำนาจทางอุตสาหกรรมของตน ในเบื้องต้น โรสเวลต์สนับสนุนแผนการนี้ และโน้มน้าวให้เชอร์ชิลล์สนับสนุนในรูปแบบที่เบาบางฃงจึงละทิ้ง
แผนการดังกล่าว ความที่แผนการมอร์เกนเธาถึงจุดจลบเช่นนี้ ก็
บังเกิดความจำเป้นจะต้องหาวะธีสำรองสำหรับรับมือกับเหล่าผู้นำนาซีขึ้นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงครามแห่งสหรัฐอเมริกา เฮนรี แอล.สติมสัน จึงยกร่างแผนการสำหรับ “พิจารณาชาวยุโรปผู้กระทำความผิดอาญาสงคราม”ต่อมาในเดือนเมษายน 1945 เมื่อโรสเวลต์ถึงแก่อสัญกรรมแล้ว แฮร์รี เอส.ทรูแมน ประธานาธิบดีคนใหม่ แสดงความเห็ด้วยอย่างแรงกล้าในอันที่จะให้มีกระบวนการยุติธรรม และหลังสหราชอาณาจักร,สหรัฐอเมริกา,สหภาพโซเวียต และฝรั่งเศส ได้เจรจากันหลายยกหลายคราว ก็ได้ข้อสรุปเป็ฯรายละเอียดของการพิจารณาคดี โดยเริ่มพิจารณาเมือวันที่ 20 พฤศจิกายน 1945 ณ เมืองเนื่อร์นแบร์ก รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมัน
อาชญากรรมสงคราม คือ การละเมิดฝ่าฝืนจารีตประเพณีหรือกฎหในการยุทธซึ่งหมายรวมถึงพฤติการณ์ดังต่อไปนี่แต่มีได้จำกัดอยู่เท่านี้ คือ การฆ่าคน ทุเวชปฏิบัติ การเนรเทศหรือการเทครัวของพลเรือแห่งดินแดนที่สามารถยึดได้ไปเป็นทาสคนงาน หรือกรรมการเป็นต้นตลอดจนการฆ่าหรือการทุเวชปฏิบัติซึ่งเชลยศึกการสังหารตัวประกัน การทำลายล้างบ้านเรือน ไร่นา เรือกสวน เป็ฯต้น โดยขาดความยับยั้งกับทั้งการทำให้เสียหายอย่างรุนแรงซึ่งอาวุธยุทธภันฑ์ ก่อนหน้าจะมีการประดิษฐ์และนิยามคำ “อาชญากรรมสงคราม” ขึ้นอย่างเป็นทางการมีการใช้คำหลายคำเรียกพฤติการณ์ในลักษณะนี้ เช่น คำว่า “ความสับปรับ” ซึ่งนิยมใช้กันมากกว่าหลายทศวรรษ เป็นต้น “อาชญากรรมสงคราม”นั้นวิวัฒนามาจากกรณีหายนะที่เนือร์นแบร์กโดยปรากฏในธรรมนูญกรุงลอนดอนว่าด้วยคณะตุลาการทหารระหว่างประเทศ
ค่าปฏิกรรมสงคราม หมายถึง ของมีค่าที่ต้องจ่ายเป็นค่าชดเชยเพื่อให้ครอบคลุมความเสียหายระหวางสงคราม ดดยทั่งไปแล้ว ค่าปฏิกรรมสงคราม หมายถึงเงินหรือสินค้าเปลี่ยนมือ มากกว่าการถ่ายโอนกรรมสิทธิ์ อย่างเช่น การผนวกดินแดน
วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556
วันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Chinese Civil War
สงครามมหาเอเซียบูรพายุติลอย่างไม่มีใครคาดคิด ไม่กี่วันหลังที่สหรัฐทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกที่เมืองฮิโรจิมาในวันที่ 6 สิงหาคม 1945 หลังจากนั้นอีก 2 วันสหภาพโซเวียตฉวยโอกาสเข้าข้างผู้ชนะด้วยการประกาศสงครามกับญี่ป่น พร้อมยาตราทัพเข้าสู่แมนจูเรีย โดยอ้างข้อตกลงที่ลงนามไว้ในการประชุมที่เมืองยัลต้า และหลังการทิ้งระเบิดลูกที่ 2 ที่นางาซากิ ในวันที่ 9 สิงหา ปีเดียวกัน เป็นผลให้ญี่ปุ่นยอมมวางอาวุธโดยไม่มีเงื่อนไข ในอีกสองสามวันต่อมา
การยอมแพ้ของญี่ปุนส่งผลต่อจีนในทันที่ พรรค ccp และก๊กมินตั๋ง ขัดแย้งกันว่าใครจะมีอำนาจริบอาวุธและใครจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าครอบครองดินแดนที่ญี่ปุ่นเคยยึดครองอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมของประเทศ
เพื่อยุติปัญหาทั้งปวง และเพื่อการรวมประเทศโดยสันติตามแนวทางประชาธิปไตยวอชิงตันส่งนายพลจอร์จ ซี มาร์แชลเดินทางมาจีน โดยได้รับคำสั่งวางตัวเป็นกลางและให้ความยุติธรรมแก่ทั้ง พรรคคอมมิวนิสต์จีนและพรรคก๊กมินตั๋ง แต่เมือเขามาถึงจีนสถานการณ์กลับเป็นว่าสหรัฐอเมริกาเข้าไปพวพันอย่างเต็มตัวในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในจีน และสถานะการณ์นั้นสหรัฐฯเป็นฝ่ายได้เปรียบ
รัสเซียเองก็มีส่วนในความล้มเหลวครั้งนี้ กล่าวคือ ก่อนที่สหรัฐฯจะสามารถผลิตระเบิดปรมณูได้สำเร็จ สหรัฐอเมริกาได้ของร้องให้ผู้นำรัสเซียส่งกำลังเขาช่วยโดยเฉพาะในการรบขั้นสุดท้ายกับญี่ปุ่น แม้โซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นสอดคล้องตรงตามวันเวลาที่ทำข้อตกลงกันไว้ในสัญญาที่ยัลต้า แต่ไม่มีความจำเป็นแล้ว เพราะประกาศหลังจากสหรัฐฯทิ้งระเบิดปรมณูที่ฮิโรชิม่าแล้ว
การเข้ายึดแมนจูเรียของรัสเซียให้ผลดีแก่พรรค ccp กล่าวคือ ทหารรัสเซียได้รับคำสั่งให้อนุญาตให้กองกำลัง ซีซีพี เดินทางเข้าแมนจูเรียได้โดยเสรี อย่างไรก็ดีสตาลินให้ความสนใจแมนจูเรียมากกว่า พรรคคอมมิวนิสต์จีน สตาลินไม่มีความเชื่อว่าพรรคคอมมิวนิสต์จีนจะยึดแผนดินได้ในเวลาอันสั้น แมนจูเรียมีความสำคัญกับโซเวียตโดยเฉพาะเครื่องจักรที่ญี่ปุ่นทิ้งไว้ ซึ่งรัสเซียเองอาจจะนำกลับไปฟื้นฟูประเทศหรือใช้เป็นเครื่องมือต่อรองทางการเมืองกับพรรคก๊กมินตั๋งในกิจการบางอย่าง ความช่วยเหลือต่อพรรคซีซีพีจึงค่อนข้างจำกัด คืออนุญาตให้เดินทางเข้าแมนจูเรียและให้เข้ายึดอาวุธยุทโธปกรณ์บางส่วนจากญี่ปุ่นเท่านั้น ซึ่งตรงกันข้ามกับพรรค ซีซีพี ที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างจริงจัง
ในวันที่ 14 สิงหาคม 1945 สหภาพโซเวียตได้ลงนามในสนธิสัญญากับเชียง คือสนธิสัญญาวาด้วยมิตรภาพลและความร่วมมือ และสตาลินประกาศให้การยอมรับรัฐบาลเชียงว่าเป็นรัฐบาลที่ถูกต้องรัฐบาลเดียวของจีน พร้อมทั้งสัญญาว่าจะให้ความช่วยเลหือและสนับสนุนรัฐบาลเชียงแต่เพียงรัฐบาลเดียวตลอดไป
เชียงพบว่าผู้นำรัสเซียหาได้มีความจริงใจต่อก๊กมินตั๋งโดยเฉพาะการยินยิมให้กองทัพเชียงเข้าสู่พื้นที่ยึดครองของรัสเซียก่อนการถอนกำลังออกไปไม่ ดังนั้นทุกครั้งที่กองทัพก๊กมินตั๋ง เดินทางมาถึงจะพบว่าดินแดนั้นตกอยู่ในความยึดครองของซีซีพีแล้ว
เชียง ไค เชค มีความเชื่อว่า หากรัสเซียยังคงกองกำลังไว้ในพื้นที่ พรรคมิวนิสต์จีนจะเข้าทำการยึดครองได้ลำบากความเชื่อนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากความไม่รู้เท่าทันของ เชียง เองและอีกส่วนหนึ่ง มาจากคำแนะนำของบรรดาที่ปรึกษาชาวอเมริกัน ทีวิเคราะห์ว่าพรรคคอมมิวนิสต์จนและพรรคมิวนิสต์รัสเซียมีอุดมการณ์ที่แตกต่างกัน จึงถือปฏิบัติต่อกันเสมือนหนึ่งเป็นองค์กรเอกเทศ และมีผลประโยชน์ที่ต่างกัน ซึ่งขัดต่อความเป็นจริงที่ผู้นับถือลัทธินี้เชื่อว่าองค์การของเขาเป็นองค์การสากล ไม่มีวันแตกแยกออกจากกันได้อย่างน้อยก็ชั่วเวลาหนึ่ง
รัสเซียได้พิสูจน์ให้เห็นในข้อเท็จจริงดังกล่าว ซึ่ง เชียง ไค เชค เรียกว่า “เป็นการรุกรานจีนครั้งใหม่ของรัสเซีย” เชียง ไม่ได้รับการร่วมมือดังที่หวัง การถอนกำลังของรัสเซียล่าช้ากว่า 6 เดือน ทั้งนี้ก็เพื่อรอให้กำลังของ ซีซีพีพร้อมและเข้ายึดเมืองสำคัญ ๆ ไว้ ก่อนที่กองทัพก๊กมินตั๋งจะเดินทางไปถึง จากการจากไปของรัสเซีย ทำให้การเผชิญหน้ากันเริ่มรุนแรงยิ่งขึ้น
การลงนามหยุดยิงเป็นเพียงละครฉากหนึ่งที่ ทั้งก๊กมินตั๋ง และ ซีซีพีจำเป็นที่จะต้องแสดงเพื่อเอาใจนายพลมาแชลล์ และก็เหมือนครั้งก่อนๆ ที่ทั้งสองฝ่ายไม่ต่างก็ไม่มีความตั้งใจที่จะรักษาคำมั่นสัญญานั้นไว้
ก๊กมินตั๋งเห็นว่าการหยุดยิงและสภาพความสงบศึกนั้นผู้ได้เปรียบจากการณ์นี้เป็จะเป็นของพรรค ซีซีพี มากกว่าที่จะตกไปแก่พรรคก๊กมินตั๋ง เนื่องจากการยอมแพ้และวางอาวุธของญี่ปุ่นทำให้อิทธิพลของคอมมิวนิสต์เด่นชัดมากในบริเวณนั้นๆ หากเวลาเนินนานไปคอมมิวนิสต์จะสามารถสร้างอิทธิพลเหนือชาวพื้นเมือง การหยุดยิงจึงเป็นสิ่งที่ไม่สมควรในสายตา เชียง ไค เชค เชียงจึงเริ่มเกมรุกในขณะที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ก็พยายามประวิงเวลาเพื่อสร้างความพร้อม
ตุลาคม 1946 ข้อตกลงหยุดยิงล้มเหลวแม้ว่าสหรัฐฯจะพยายามใช้วิธีการทางการทูตแต่ก็ไม่สำเร็จ ไม่นานก๊กมินตั๋งก็ยึฐานที่สำคัญทีเมืองเยนานเมืองหลวงของซีซีพีก็ตกเป็นของก๊กมินตั๋ง แต่การสู้รบก็ยังคงดำเนินต่อไปโดยวิธีการจรยุทธ์ วิธีการต่อสู้ที่ถนัดและใช้มาเป็นเวลานานของซีซีพี
ชัยชนะที่มีแต่ละครั้งทำให้ก๊กมินตั๋งเชื่อว่า ภัยจากคอมมิวนิต์คงจะจบสิ้นไปในเวลาไม่ช้า ซึ่งแตกต่างกับที่ปรึกษาอเมริกันที่ว่าจะต้องยืดเยื้อไปอย่างน้อยระยะหนึ่ง
อย่างไรก็ดี ความไม่มีประสิทธิภาพของกองทัพก๊กมินตั๋ง ซึ่งมีมากกว่าซีซีพี ถึง 3 เท่าอาวุธที่ทันสมัยกว่า แต่ก็ไม่อาจนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งหมด ทหารขาดระเบียบวินัย บรรดาผู้นำของกองทัพ ก็ไม่มีอุดมการณ์ที่แน่วแน่ ให้ความไว้วางใจไม่ได้ ทำให้เชียงต้องใช้นโยบายถ่วงดุลย์ หรือไม่ก็ต้องคอยสอดส่องดูแล สอดแนม แทนที่จะใช้เวลาทั้งหมดไปในการสู้รบ ความได้เปรียบที่เคยมีจึงหมดไป เริ่มสูญเสียเมืองสำคัญ ๆ รวมทั้งเมืองเยนานในเดือน เมษายน 1948 ในดินแดนแมนจูเรียก็ไม่สามารถขยายเขตการรบให้กลางได้ในขณะเดียวกัน กองทัพต้องสูญเสยอาวุธยุทโธปกรณ์ไปในการรบ เพิ่มขึ้นนั้หมายถึงทุกครั้งที่มีการรบซีซีพีจะได้อาวุธที่ทีนสมัย เพิ่มขึ้นมากเท่านั้นคิดเป็น กว่าเก้าสิบเปอร์เซ็นของอาวุธที่สหรัฐอเมริกามอบให้แก่กองทัพของรัฐบาล
สหรัฐอเมริกาอึดอัดเป็นอย่างมากที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับปัญหาภายในของจีน โดยเฉพาะทางด้านการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่ไม่อาจประกาศตนให้ความช่วยเหลือแก่เชียง ไค เชค ผู้ซึ่งเป็นพันธมิตรของสหรัฐอเมริกามาเป็นเวลาหลายปีได้อย่างเต็มที่ และถึงแม้สหรัฐฯจะมีนโยบายที่เป้ฯปฏิปักษ์โดยตรงกับลัทธินี้ไม่ว่าจะเป็นคอมมิวนิสต์ประเทศใดๆ ก็ตาม โดยเฉพาะสงครามที่ดำเนินไปในทิสทางที่ขัดกับคำแนะนำของตน และในสงครามที่เห็นว่าไม่อาจชนะได้ เมื่อ เชียง ไค เชค ถาโถมเข้าสู่กับคอมมิวนิสต์ศัตรูที่มีกำลังมากกว่า สหรัฐอเมริกพยายามเรียกร้องให้เชียงชลอการสู้รบโดยให้หัสมาจัดตั้งรัฐบาลผสมทำการปฏิรูปี่ดิน และจัดระเบียบการปกครองในดินแดนที่ยึดมาได้ก่อนแต่เมือง เชียง ไค เชค ปฏิเสธและดำเนินการทางทหารต่อไป สหรัฐอเมริกาเรอ่มลดปริมาณความช่วยเหชือลงจนถึงขั้นไม่เพียงพอแม้แต่จะป้องกันรัฐบาลของเชียงให้รอดพ้นจาก เงื้อมมือของคอมมิวนิสต์ได้
เพื่อลดขอบเขตการเข้าไปเกียวข้องกับการสู้รบให้น้อยลง ในเดือนสิงหาคม 1946 นายพลมาแชลประกาศยุติการซื้อขายอาวุธให้แก่ เชียง ไค เชค อย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ดี เชียงยังคงได้รับความช่วยเหลือในกิจการอื่น อยู่รวมทั้งการคงกองกำลังนาวิกโยธินไว้ทางภาค เหนือของปรเทศเพื่อคุ้มครองกองกำลังของพรรคก๊กมินตั๋งจนถึงปี 1947 สุดท้ายมาตรการช่วยเหลือทางอาวุธถูกรื้อฟื้นมาอีก แต่ได้เฉพาะการซื้อขายเท่านั้น
ในปี 1947 กองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐฯ ทางภาคเหนือของจีนเพื่อคุ้มครองกองกำลังของพรรคก๊กมินตั๋ง ถอนกำลังจากจีนในระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม ทั้งนี้ไม่ห้ามหน่วยนาวิกโยธินที่จะมอบอาวุธสงครามเหลือใช้ก่อนที่หน่วยรบดังกล่าวจะถอนกำลังออกจากจีน ซึ่งเป็นความช่วยเหลือครั้งสุดท้ายที่สหรัฐฯให้แก่จีน…
...............................................
ทันทีทีสงครามกลางเมืองครั้งใหม่เกิดขึ้น ซีซีพีนำนโยบายการต่อสู้ทางชนชั้นกลับมาใช้อีกโดยมุ่งไปที่การกำจัดอิทธิพลของนายทุนเจ้าของที่ดินและชาวนาผู้มั่งคั่ง การประกาศแนวทางนี้ เกิดขึ้นมาอย่างไม่ได้คาดคิดและไม่ไ้ด้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซึ่งแม้แต่บรรดาผู้นำพรรคก็ไม่แน่ใจว่าผลจะออกมาแบบใด และดำเนินไปในทิศทางใด หรือขอบเขตของการปฏิรูปควรจะอยู่ที่ใด
ในช่วงเปิดศึกกับญี่ปุ่น พรรคซีซีพียังคงดำเนินนโยบายการต่อสู้ทางชนชั้นอยู่อย่างต่อเนือง ซึ่งการกำหนดค่าเช่าที่ดินในอัตราต่ำ การประกาศใช้วิธีการเก็บภาษีในอัตราที่เพ่ิมขึ้น รวมั่งการแต่างตั้งให้ชาวไร่ชาวนาขึ้นดำรงตำแน่างสูงในสังคม มีส่วทำลายโครงสร้างางสังคมดั้งเดิม อย่างไรก็ดีการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังไม่สามารถขุดรากถอนโคนบทบาทของอดีตผุ้นำในสังคมเดิมลงได้ นายทุนเจ้าของที่ดินและชาวนาผุ้มั่งคั่งก็บังคงยึดถือที่ดินแยู่ รวมทั้งค่านิยมของสังคมที่ยกย่องผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีกวา ด้วยเหตุนี้ ปี 1945-1946 แผนการกว่าล้างบุคคลเหล่านี้นเริ่มกำหนดขึ้น เริ่มต้นด้วยการสนับสนุนให้ชาวไรชาวนารวมตัวกัน เรียกตนเองว่า "สมาคมชาวไร่ชาวนาและกรรมกร" ต่อต้านผุ้ให้การช่วยเหชือแก่ญี่ปุ่น จากนันก็มุ่งไปที่นายทุนเจ้าของที่ดินผู้หากินกับการเก็บค่าเช่า หรือคิดอัตราดอกเบี้ยในอัตราที่สูง เกินกำหนด้วยมาตรการดังกล่าวทำให้ในปลายปี 1946 ซีซีพีสามารถกำจัดนายทุนได้ในหลายๆ พื้นที่ แต่การยึดที่ดินจากนายทุนและชาวนาผุ้มั่งคั่งมาแจกจ่ายให้แก่ชาวไรชาวนายากจน ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาความยากจนและทำให้ชาวไร่ชาวนารอดพ้นจากความหิวโหยอดอาหารตายได้ ผู้นำพรรคเริ่มขยายขอบข่ายการยึดที่ดินกลางออกไปอีก คราวนี้รวมทั้งทรัพย์สินและสมบัติอื่น ๆ เท่าที่จะหาได้ เป้าหมายของการปฏิบัติการครั้งนี้นอกจากมุ่งไปที่การริบที่ดินของชาวนาผู้มั่งคั่ง ชาวนาชั้นกลางที่ครอบครองที่ดินเกินอัตรากำหนดยังรวมถึงเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และสุดท้ายก้าวไปถึงบุคคลที่พอกินพอใช้ไม่ถึงกับขัดสน แต่อดีตเคยมีบิดามารดาที่เคยมีที่ดิน หรืออยุ่ในขั้นร่ำรวยมาก่อนและได้รับมรดกตกทอกันมา โดยอ้างวาเป็นทรัพย์สินที่แย่งมาจากคนจน
เมื่อดำเนินการมาถึงจุดนี้ บรรดาผุ้นำของพรรคเริ่มตั้งข้อสงสัยในความจริงใจและความบริสุทธิของเจ้าหน้าที่ในระดับล่างลงไป เพราะแม้มีการปฏิรูปมากเท่าไร แต่พรรคยังไม่สามารถแก้ปัญหาความยากจนได้ ข้อสงสัยนี้มีส่วนถูก มีเจ้าหน้าที่บางคนยักยอกที่ดินเป็นของตน...
ช่วงกลางปี 1947 พรรคดำินินนโยบายปฏิรูปที่ดินค่อนข้างรุนแรงที่เคยประกาศใช้เป็นหลักการแต่กอ่นเข้ามาใช้ โดยเฉพาะในพื้ที่ครอบครองทางภาคเหนือทั้งนี่เพื่อสร้างความเท่าเียมกับชนชั้นอื่น ๆ ทางเศรษฐกิจแก่ชาวไร่ชาวนาที่ยากจน ตลอดจนผู้อยูในภาคเกษตรกรรมทางภาคเหนือ อันได้แก่การจัดสรรที่ิดน เครื่องมือ เกษตรกรรม สัตว์เลี้ยง เมล็ดพันธ์ข้าว ทุนทรัพย์ และอื่น ๆ ที่สำคัญต่อการผลิตในอัตราส่วนที่เท่า ๆ กันต่อไปจะไม่มีคนมั่งมี ไม่มีคนยากจน ทุกคนมีฐานะความเป็นอยุเท่ากันหมด ผุ้ที่ยังทีทรัพย์สินอยู่จะถูกยึด ถูกขับไล่ออไปจากสังคมหรือไม่ก็ถูกฆ่า และพรรคยังชักจูงให้ชาวไร่ชานาที่ยากจนโดยทั่วๆ ไป เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของพรรค ปลดผุ้กระทำผิดต่อพรรค ตั้งชาวไร่ชาวนาขึ้นเป็นผู้พิพากษาพิจารณาความผิดฐานทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวงเบียดบังทรัพย์สินที่ยึดมาได้มาเป็นของตนเอง และวิพากษ์วิจารณ์ พระนามผู้ทียังประพฤติตนเป็นดั่งศักดินา ..
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ เกิดมาจากความขัดกันในด้านชีวิตความเป็นอยู่ของคนรุ่นเก่ากับความคิดเห็นทางการเมืองของคนรุ่นใหม่ กล่าวคือ โดยธรรมเนียมแล้วสังคมจีนโบราณเป็นสังคมที่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด สมาชิกแต่ละคนต่างยอมรับว่าสังคมหนึ่ง ๆ ต้องมีความแตกต่างกันโดยคนมั่งมีและมีอิทธิพลสามารถจะทำอย่างไรก็ได้ตามอำเภอใจกับคนอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งยากจนและไร้อำนาจ ในช่วงแรกๆ ชาวไร่ชาวนาก้าวขึ้นสู่อำนาจ บุคคลเหล่านี้ด้วยความเข้าใจผิด คิดว่าการเป็นผุ้นำนั้นหมายถึงตนจะทำอะไรก็ได้ดังที่ผู้นำในอดีตเคยปฏิบัติกัน จึงเกิดการฉ้อราษฎรบังหลวงอย่างในระบอบการปกครองเดิม ในระดับผู้นำระดับสูงความประพฤติเช่นนี้เป็นการฉ้อราษฎร์บังหลวงที่มีโทษอย่างร้ายแรง และยังขัดกับอุดมการณ์ของพรรคที่เน้นความเสมอภาคกันทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง และต่อต้านกรสืบทอดตำแหน่งตลอดจนความมั่งมีในแต่ละครอบครัว การยอมให้ถือปฏิบัติตามธรรมเนียมประเพณีที่ไม่พึงปรารถนา หรือการปล่อยให้ชาวไร่ชาวนาที่กลายมาเป็นผู้นำในสังคมใช้ตำแหน่งหน้าที่แยกตัวเองออกจาสังคมเป็นคนอีกชนชั้นหน่ง หรือการดำรงตนเป็นผู้มีอภิสิทธิเหนือคนอื่นดังเช่นผู้นำในอดีต ซึ่งทั้งหมดย่อมเป็นการบ่อนทำลายหลักการแห่งการปฏิวัติทั้งสิ้น
บรรดาผู้นำระดับสูงพยายามปกปิดความผิดพลาดของพรรค เหมือที่เคยทำมาในอดีต แต่เมื่อไม่บรรลุผลก็หันไปโทษเจ้าหน้าที่ระดับล่าง โดยปราศากการให้คำแนะนำที่มีคุณค่าเพื่อเรียกร้องความร่วมือโดยสมัครใจ อันที่จริงปัญหาเช่นนี้ทางพรรคเพียงประวิงเวลาและให้การศึกษาในแนวทางแห่งการปฏิวัติที่ถูกต้อง ปัญหาต่าง ๆ ก็จะไม่เกิดขึ้น
ต้นปี่ 1948 พรรคเิริ่มผ่อนคลายนโยบายสร้างความเสมอภาคในสังคม ด้วยความจริงที่ว่า การสร้างความเสมอภาคกันในสังคมของกายึดถือที่ดินนั้น พรรคจำเป็นต้องยึดที่ดินเพิ่มอีก แม้จากผู้ที่มีที่ดินเกินมาตรฐานเพียงเล็กน้อย หรือแม้แต่จากชาวไร่ชาวนาผู้มั่งคั่งที่วิธีการผลิตของเขาไม่ได้เอารัดเอาเปรียบสังคมมากเกินไป เพราะผลผลิตของเขายังพอมีประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจของชุมชนอยู่ หรือมีที่ดินในครอบครองที่ไม่มากเพียงพอต่อการจัดสรรให้แก่ชาวไร่ชาวนาผู้ยากจนอื่นๆ
แม้ว่าพรรคจะมีนโยบายปฏิรูปอยางค่อยเป็นค่อยไป แต่ทางพรรคยังคงดำเนินการปฏิรูปอย่างรุนแรงในอีกรูปแบบหนึ่ง โดยเฉพาะในหมู่บ้านที่คอมมิวนิสต์ยึดครองมาเป็นเวลานานแล้ว พรรคใช้นโยบายลงโทษอย่างรุนแรงต่อสมาชิกผู้ทำตนเป็นชนชั้นศักดินา หรือใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่ผิด เว้นแต่ในเขตที่เพิ่งถูกปลดปล่อยพรรคจะใช้วิธีการที่ประนีประนอม
.........................................
ก่อนที่สงครามกลางเมืองจะยุติลงโดยชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์นั้น เชียง ไค เชค ใช้ความพยายามขั้นสุดท้ายเพื่อพิชิตกองทัพซีซีพีที่เปิดฉากการรุกทางภาคตะวันออกของแมนจูเรียในปลายปี 1946 ด้วยการส่งกองทหารทีดีที่สุดที่มีอยู่ขึ้นสู่พื้นที่ทางภาคเหนือ และในแมนจูเรีย ยึดได้เมืองหลวงที่ว่างเปล่า ของซีซีพีที่เมืองเยนานรวมทั้งพื้นที่ตลอดแนวสองข้างทางรถไฟลึกเข้าไปในแมนจูเรีย แต่เชียง ไม่อาจปฏิบัิติการในเชิงรุกได้เพราะพื้นที่ถูกกองกำลังซีซีพีปิดล้อมเส้นทางเดิน นอกเสียจากการใช้กำลังตอบโต้เมืองถูกโจมตีจากหน่วยจรยุทธ์ของพรรคซีซ๊พี ที่รายล้อมกองทัพของเซียง ในวันที่ 4 กรกฎาคม 1947 เชียง ไค เชค ประการวาซีซีพีเป็นกบฏ และเรียกกองบัญชาการของเขาว่า "กองบัญชาการปราบโจร"พร้อมส่งกำลังหลักเข้าโจมตฐานที่มั่นของซีซีพีในแมนจูเรียอย่างต่อเนือง อย่างไรก็ดีการรบในครั้งนี้แม้กองทัพของเชียงจะมีจำนวนมากกวา อาวุธทันสมัยกว่าแต่ไม่ทำให้ เชียง ไค เชค เป็นฝ่ายชนะได้
ภายในรัฐบาลก๊กมินตั๋งไม่แตกต่างไปจากกองทัพมากนัก การฮ้อราษฎร์บังหลวงเกิดขึ้นโดยทั่วไป ทุกคนต่างแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบใส่ตัว ปัญหาเงินเฟ้อ รัฐบาลไม่สามารถแก้ไขได้ ทำให้ชนชั้นกลาง เร่ิมแสดงความไม่พอใจต่อการบริหารงานของรัฐบาลก๊กมินตั๋งที่ล้มเหลว นอกเหนือจากการเป็นรัฐบาลเผด็จการมากขึ้น ความพ่ายแพ้ทางทหารแต่ละครั้งของพรรคก๊กมินตั๋ง ต่อซีซีพีภายใต้การนำของหลินเปียว เป็ง เต-ฮุย และเชน ยี ในระหว่างปี 1948 เชียง ไค เชค เริ่มที่จะยอมรับความพ่ายแพ้ หลังจากที่เขาพยายามชักจูงใจให้ผุ้สนับสนุนเขาหันมาร่วมมือกันแก้ไขอีกครั้ง แม้จะล้มเหลวอีกก็ตาม
กลางปี 1947 เมื่อซีซีพีสามารถเข้าครอบครองพื้นที่รอบเมืองใหญ่ ๆ ได้ตั้งแต่แมนจูเรียเรื่อยลงมาถึงที่ราบเหนือลุ่มแม่นำ้ฮวงโห และอีก 1 ปีต่อมา สภานการณ์ของพรรคก๊กมินตั๋งยิงเลวร้ายลงอีกเมืองกองกำลังก๊กมินตั๋งหนีทัพและเข้าไปร่วมกับ พีแอลเอ ซึ่งในที่สุดกองทัพก๊กมินตั๋งตกอยู่ในวงล้ามของพีแอลเอ ซึ่งพร้อมที่จะเข้าทำลายได้ทุกเมือ แต่พีแอลเอ เลือกที่จะปล่อย ก๊กมินตั๋งลงทางภาคใต้เพื้อขยายพื้นที่ปลดปล่อยลงสู่ภาคใต้เหนือลุ่มแม่น้ำแยงซี เพื่อสร้างฐานกำลังให้แก่พีแอลเอ ในกรณีที่ตัดสินใจเข้าทำลาย ก๊กมินตั๋งที่เหลืออยู่ทางภาคเหนือ กองทัพดังกล่าวจะไม่สามรถหนีลงสูภาคใต้เพื่อขอความช่วยเหลือจากกองกำลงส่วนหใหญ่ทางภาคใต้ได้ นอกจากนี้ เมา เช ตุง ยังเห็นว่าการปิดล้อมไม่ให้กองกำลังทางเหนือติดต่อกับกองกำลังทางใต้ได้นานเท่าไรก็จะเป็นผลดีต่อซีซ๊พีเพราะจะทำให้กองทัพก๊กมินตั๋งขาดกำลังใจที่จะต่อสู้ และหาก เชียง ปล่อยให้กองกำลังของเขาตกอยู่ในวงล้อมโดยไม่เข้าช่วยเหลือ ย่อมได้ชัยชนะอย่างง่ายดาย
เมื่อเป็นที่ประัจักษ์แล้วว่ากองกำลังพีแอลเอเริ่มได้เปรียบในเชิงรุก ไม่ว่าจะเป็นในด้านการตัดตอนกองกำลังของก๊กมินตั๋งทางภาคเหนืออกจากภาคใต้ รวมทั้งชัยชนะในการรบย่อยแต่ละครั้ง ย่อมเป็นเครื่องประกันได้ว่าชัยชนะย่อมเป็นของพีแอลเออย่างแน่นอน
เชียง ไค เชค มีนโยบายที่จะคงกองกำลังไง้ทางเหนือเพื่อคุ้มครองเมืองสำคัญๆ โดยไม่สนใจที่จะให้มีการเคลื่อนย้าย แม้ในกรณีที่มีหน่วยรบอื่นขอความช่วยเหลือมาก็ตาม ทำให้กองกำลังแตกแยกและง่ายต่อการโจมตี
ชัยชนะขั้นเด็ดขาดของพีแอลเอเกิดในช่วงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 1948 เมื่อพีแอลเอสามรถทำลายกองทัพก๊กมินตั๋งทางภาคเหนือลงอย่างย่อยยับและอีกครั้งในการรบที่ฮัวไฮ ด้วยการพ่ายปพ้ทั้ง 2 ครั้งเป็นการยุติการสู้รบของก๊กมินตั้งอย่างสิ้นเชิง เวลาเพียง 4 เดือนครึ่ง ก๊กมินตั๋งสูญเสยกำลังพลไปมากกว่า 1 ล้านคนในขณะที่พีแอลเอสูญเสียเพียงเล็กน้อย
เมื่อเห็นวาไม่มีทางจะต้อนกำลังของพีแอลเอได้ เชียง ไค เชค ประกาศลาออกจาตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ในวันที่ 21 มกราคม 1949
ทันที่ที่เชียง จากไป พีแอลเอ ก็เิดินทัพข้ามแม่น้ำแยงซี ในเดือนเมษาปีเดียวกันนั้นเอง และยึดกวางโจว ในอีกในอีก 6 เดือนต่อมา ชัยชนะครั้งนี้ถือเป็นการยุติสงครามกลางเมืองที่มีมากว่าสิบปี จีนทั้งหมดตกอยู่ใต้อำนาจการปกครองของพีแอลเอ (ยกเว้นไต้หวัน) และในวันที่ 1 ตุลาคม 1949 เมา เช ตุง ผู้นำคนใหม่ประกาศเรียกชื่อประเทศนี้อย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน หรือ พีอาร์ซี พร้อมเปลี่ยนชื่อจากเปยปิง เป็นเป่ยจิงประเทศจีนตกเป็นของพรรคซีซีพีนับจากวันนั้นเป็นต้นมา...
การยอมแพ้ของญี่ปุนส่งผลต่อจีนในทันที่ พรรค ccp และก๊กมินตั๋ง ขัดแย้งกันว่าใครจะมีอำนาจริบอาวุธและใครจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าครอบครองดินแดนที่ญี่ปุ่นเคยยึดครองอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมของประเทศ
เพื่อยุติปัญหาทั้งปวง และเพื่อการรวมประเทศโดยสันติตามแนวทางประชาธิปไตยวอชิงตันส่งนายพลจอร์จ ซี มาร์แชลเดินทางมาจีน โดยได้รับคำสั่งวางตัวเป็นกลางและให้ความยุติธรรมแก่ทั้ง พรรคคอมมิวนิสต์จีนและพรรคก๊กมินตั๋ง แต่เมือเขามาถึงจีนสถานการณ์กลับเป็นว่าสหรัฐอเมริกาเข้าไปพวพันอย่างเต็มตัวในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในจีน และสถานะการณ์นั้นสหรัฐฯเป็นฝ่ายได้เปรียบ
รัสเซียเองก็มีส่วนในความล้มเหลวครั้งนี้ กล่าวคือ ก่อนที่สหรัฐฯจะสามารถผลิตระเบิดปรมณูได้สำเร็จ สหรัฐอเมริกาได้ของร้องให้ผู้นำรัสเซียส่งกำลังเขาช่วยโดยเฉพาะในการรบขั้นสุดท้ายกับญี่ปุ่น แม้โซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นสอดคล้องตรงตามวันเวลาที่ทำข้อตกลงกันไว้ในสัญญาที่ยัลต้า แต่ไม่มีความจำเป็นแล้ว เพราะประกาศหลังจากสหรัฐฯทิ้งระเบิดปรมณูที่ฮิโรชิม่าแล้ว
การเข้ายึดแมนจูเรียของรัสเซียให้ผลดีแก่พรรค ccp กล่าวคือ ทหารรัสเซียได้รับคำสั่งให้อนุญาตให้กองกำลัง ซีซีพี เดินทางเข้าแมนจูเรียได้โดยเสรี อย่างไรก็ดีสตาลินให้ความสนใจแมนจูเรียมากกว่า พรรคคอมมิวนิสต์จีน สตาลินไม่มีความเชื่อว่าพรรคคอมมิวนิสต์จีนจะยึดแผนดินได้ในเวลาอันสั้น แมนจูเรียมีความสำคัญกับโซเวียตโดยเฉพาะเครื่องจักรที่ญี่ปุ่นทิ้งไว้ ซึ่งรัสเซียเองอาจจะนำกลับไปฟื้นฟูประเทศหรือใช้เป็นเครื่องมือต่อรองทางการเมืองกับพรรคก๊กมินตั๋งในกิจการบางอย่าง ความช่วยเหลือต่อพรรคซีซีพีจึงค่อนข้างจำกัด คืออนุญาตให้เดินทางเข้าแมนจูเรียและให้เข้ายึดอาวุธยุทโธปกรณ์บางส่วนจากญี่ปุ่นเท่านั้น ซึ่งตรงกันข้ามกับพรรค ซีซีพี ที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างจริงจัง
ในวันที่ 14 สิงหาคม 1945 สหภาพโซเวียตได้ลงนามในสนธิสัญญากับเชียง คือสนธิสัญญาวาด้วยมิตรภาพลและความร่วมมือ และสตาลินประกาศให้การยอมรับรัฐบาลเชียงว่าเป็นรัฐบาลที่ถูกต้องรัฐบาลเดียวของจีน พร้อมทั้งสัญญาว่าจะให้ความช่วยเลหือและสนับสนุนรัฐบาลเชียงแต่เพียงรัฐบาลเดียวตลอดไป
เชียงพบว่าผู้นำรัสเซียหาได้มีความจริงใจต่อก๊กมินตั๋งโดยเฉพาะการยินยิมให้กองทัพเชียงเข้าสู่พื้นที่ยึดครองของรัสเซียก่อนการถอนกำลังออกไปไม่ ดังนั้นทุกครั้งที่กองทัพก๊กมินตั๋ง เดินทางมาถึงจะพบว่าดินแดนั้นตกอยู่ในความยึดครองของซีซีพีแล้ว
เชียง ไค เชค มีความเชื่อว่า หากรัสเซียยังคงกองกำลังไว้ในพื้นที่ พรรคมิวนิสต์จีนจะเข้าทำการยึดครองได้ลำบากความเชื่อนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากความไม่รู้เท่าทันของ เชียง เองและอีกส่วนหนึ่ง มาจากคำแนะนำของบรรดาที่ปรึกษาชาวอเมริกัน ทีวิเคราะห์ว่าพรรคคอมมิวนิสต์จนและพรรคมิวนิสต์รัสเซียมีอุดมการณ์ที่แตกต่างกัน จึงถือปฏิบัติต่อกันเสมือนหนึ่งเป็นองค์กรเอกเทศ และมีผลประโยชน์ที่ต่างกัน ซึ่งขัดต่อความเป็นจริงที่ผู้นับถือลัทธินี้เชื่อว่าองค์การของเขาเป็นองค์การสากล ไม่มีวันแตกแยกออกจากกันได้อย่างน้อยก็ชั่วเวลาหนึ่ง
รัสเซียได้พิสูจน์ให้เห็นในข้อเท็จจริงดังกล่าว ซึ่ง เชียง ไค เชค เรียกว่า “เป็นการรุกรานจีนครั้งใหม่ของรัสเซีย” เชียง ไม่ได้รับการร่วมมือดังที่หวัง การถอนกำลังของรัสเซียล่าช้ากว่า 6 เดือน ทั้งนี้ก็เพื่อรอให้กำลังของ ซีซีพีพร้อมและเข้ายึดเมืองสำคัญ ๆ ไว้ ก่อนที่กองทัพก๊กมินตั๋งจะเดินทางไปถึง จากการจากไปของรัสเซีย ทำให้การเผชิญหน้ากันเริ่มรุนแรงยิ่งขึ้น
การลงนามหยุดยิงเป็นเพียงละครฉากหนึ่งที่ ทั้งก๊กมินตั๋ง และ ซีซีพีจำเป็นที่จะต้องแสดงเพื่อเอาใจนายพลมาแชลล์ และก็เหมือนครั้งก่อนๆ ที่ทั้งสองฝ่ายไม่ต่างก็ไม่มีความตั้งใจที่จะรักษาคำมั่นสัญญานั้นไว้
ก๊กมินตั๋งเห็นว่าการหยุดยิงและสภาพความสงบศึกนั้นผู้ได้เปรียบจากการณ์นี้เป็จะเป็นของพรรค ซีซีพี มากกว่าที่จะตกไปแก่พรรคก๊กมินตั๋ง เนื่องจากการยอมแพ้และวางอาวุธของญี่ปุ่นทำให้อิทธิพลของคอมมิวนิสต์เด่นชัดมากในบริเวณนั้นๆ หากเวลาเนินนานไปคอมมิวนิสต์จะสามารถสร้างอิทธิพลเหนือชาวพื้นเมือง การหยุดยิงจึงเป็นสิ่งที่ไม่สมควรในสายตา เชียง ไค เชค เชียงจึงเริ่มเกมรุกในขณะที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ก็พยายามประวิงเวลาเพื่อสร้างความพร้อม
ตุลาคม 1946 ข้อตกลงหยุดยิงล้มเหลวแม้ว่าสหรัฐฯจะพยายามใช้วิธีการทางการทูตแต่ก็ไม่สำเร็จ ไม่นานก๊กมินตั๋งก็ยึฐานที่สำคัญทีเมืองเยนานเมืองหลวงของซีซีพีก็ตกเป็นของก๊กมินตั๋ง แต่การสู้รบก็ยังคงดำเนินต่อไปโดยวิธีการจรยุทธ์ วิธีการต่อสู้ที่ถนัดและใช้มาเป็นเวลานานของซีซีพี
ชัยชนะที่มีแต่ละครั้งทำให้ก๊กมินตั๋งเชื่อว่า ภัยจากคอมมิวนิต์คงจะจบสิ้นไปในเวลาไม่ช้า ซึ่งแตกต่างกับที่ปรึกษาอเมริกันที่ว่าจะต้องยืดเยื้อไปอย่างน้อยระยะหนึ่ง
สหรัฐอเมริกาอึดอัดเป็นอย่างมากที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับปัญหาภายในของจีน โดยเฉพาะทางด้านการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่ไม่อาจประกาศตนให้ความช่วยเหลือแก่เชียง ไค เชค ผู้ซึ่งเป็นพันธมิตรของสหรัฐอเมริกามาเป็นเวลาหลายปีได้อย่างเต็มที่ และถึงแม้สหรัฐฯจะมีนโยบายที่เป้ฯปฏิปักษ์โดยตรงกับลัทธินี้ไม่ว่าจะเป็นคอมมิวนิสต์ประเทศใดๆ ก็ตาม โดยเฉพาะสงครามที่ดำเนินไปในทิสทางที่ขัดกับคำแนะนำของตน และในสงครามที่เห็นว่าไม่อาจชนะได้ เมื่อ เชียง ไค เชค ถาโถมเข้าสู่กับคอมมิวนิสต์ศัตรูที่มีกำลังมากกว่า สหรัฐอเมริกพยายามเรียกร้องให้เชียงชลอการสู้รบโดยให้หัสมาจัดตั้งรัฐบาลผสมทำการปฏิรูปี่ดิน และจัดระเบียบการปกครองในดินแดนที่ยึดมาได้ก่อนแต่เมือง เชียง ไค เชค ปฏิเสธและดำเนินการทางทหารต่อไป สหรัฐอเมริกาเรอ่มลดปริมาณความช่วยเหชือลงจนถึงขั้นไม่เพียงพอแม้แต่จะป้องกันรัฐบาลของเชียงให้รอดพ้นจาก เงื้อมมือของคอมมิวนิสต์ได้
เพื่อลดขอบเขตการเข้าไปเกียวข้องกับการสู้รบให้น้อยลง ในเดือนสิงหาคม 1946 นายพลมาแชลประกาศยุติการซื้อขายอาวุธให้แก่ เชียง ไค เชค อย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ดี เชียงยังคงได้รับความช่วยเหลือในกิจการอื่น อยู่รวมทั้งการคงกองกำลังนาวิกโยธินไว้ทางภาค เหนือของปรเทศเพื่อคุ้มครองกองกำลังของพรรคก๊กมินตั๋งจนถึงปี 1947 สุดท้ายมาตรการช่วยเหลือทางอาวุธถูกรื้อฟื้นมาอีก แต่ได้เฉพาะการซื้อขายเท่านั้น
ในปี 1947 กองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐฯ ทางภาคเหนือของจีนเพื่อคุ้มครองกองกำลังของพรรคก๊กมินตั๋ง ถอนกำลังจากจีนในระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม ทั้งนี้ไม่ห้ามหน่วยนาวิกโยธินที่จะมอบอาวุธสงครามเหลือใช้ก่อนที่หน่วยรบดังกล่าวจะถอนกำลังออกจากจีน ซึ่งเป็นความช่วยเหลือครั้งสุดท้ายที่สหรัฐฯให้แก่จีน…
...............................................
ทันทีทีสงครามกลางเมืองครั้งใหม่เกิดขึ้น ซีซีพีนำนโยบายการต่อสู้ทางชนชั้นกลับมาใช้อีกโดยมุ่งไปที่การกำจัดอิทธิพลของนายทุนเจ้าของที่ดินและชาวนาผู้มั่งคั่ง การประกาศแนวทางนี้ เกิดขึ้นมาอย่างไม่ได้คาดคิดและไม่ไ้ด้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซึ่งแม้แต่บรรดาผู้นำพรรคก็ไม่แน่ใจว่าผลจะออกมาแบบใด และดำเนินไปในทิศทางใด หรือขอบเขตของการปฏิรูปควรจะอยู่ที่ใด
ในช่วงเปิดศึกกับญี่ปุ่น พรรคซีซีพียังคงดำเนินนโยบายการต่อสู้ทางชนชั้นอยู่อย่างต่อเนือง ซึ่งการกำหนดค่าเช่าที่ดินในอัตราต่ำ การประกาศใช้วิธีการเก็บภาษีในอัตราที่เพ่ิมขึ้น รวมั่งการแต่างตั้งให้ชาวไร่ชาวนาขึ้นดำรงตำแน่างสูงในสังคม มีส่วทำลายโครงสร้างางสังคมดั้งเดิม อย่างไรก็ดีการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังไม่สามารถขุดรากถอนโคนบทบาทของอดีตผุ้นำในสังคมเดิมลงได้ นายทุนเจ้าของที่ดินและชาวนาผุ้มั่งคั่งก็บังคงยึดถือที่ดินแยู่ รวมทั้งค่านิยมของสังคมที่ยกย่องผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีกวา ด้วยเหตุนี้ ปี 1945-1946 แผนการกว่าล้างบุคคลเหล่านี้นเริ่มกำหนดขึ้น เริ่มต้นด้วยการสนับสนุนให้ชาวไรชาวนารวมตัวกัน เรียกตนเองว่า "สมาคมชาวไร่ชาวนาและกรรมกร" ต่อต้านผุ้ให้การช่วยเหชือแก่ญี่ปุ่น จากนันก็มุ่งไปที่นายทุนเจ้าของที่ดินผู้หากินกับการเก็บค่าเช่า หรือคิดอัตราดอกเบี้ยในอัตราที่สูง เกินกำหนด้วยมาตรการดังกล่าวทำให้ในปลายปี 1946 ซีซีพีสามารถกำจัดนายทุนได้ในหลายๆ พื้นที่ แต่การยึดที่ดินจากนายทุนและชาวนาผุ้มั่งคั่งมาแจกจ่ายให้แก่ชาวไรชาวนายากจน ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาความยากจนและทำให้ชาวไร่ชาวนารอดพ้นจากความหิวโหยอดอาหารตายได้ ผู้นำพรรคเริ่มขยายขอบข่ายการยึดที่ดินกลางออกไปอีก คราวนี้รวมทั้งทรัพย์สินและสมบัติอื่น ๆ เท่าที่จะหาได้ เป้าหมายของการปฏิบัติการครั้งนี้นอกจากมุ่งไปที่การริบที่ดินของชาวนาผู้มั่งคั่ง ชาวนาชั้นกลางที่ครอบครองที่ดินเกินอัตรากำหนดยังรวมถึงเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และสุดท้ายก้าวไปถึงบุคคลที่พอกินพอใช้ไม่ถึงกับขัดสน แต่อดีตเคยมีบิดามารดาที่เคยมีที่ดิน หรืออยุ่ในขั้นร่ำรวยมาก่อนและได้รับมรดกตกทอกันมา โดยอ้างวาเป็นทรัพย์สินที่แย่งมาจากคนจน
เมื่อดำเนินการมาถึงจุดนี้ บรรดาผุ้นำของพรรคเริ่มตั้งข้อสงสัยในความจริงใจและความบริสุทธิของเจ้าหน้าที่ในระดับล่างลงไป เพราะแม้มีการปฏิรูปมากเท่าไร แต่พรรคยังไม่สามารถแก้ปัญหาความยากจนได้ ข้อสงสัยนี้มีส่วนถูก มีเจ้าหน้าที่บางคนยักยอกที่ดินเป็นของตน...
ช่วงกลางปี 1947 พรรคดำินินนโยบายปฏิรูปที่ดินค่อนข้างรุนแรงที่เคยประกาศใช้เป็นหลักการแต่กอ่นเข้ามาใช้ โดยเฉพาะในพื้ที่ครอบครองทางภาคเหนือทั้งนี่เพื่อสร้างความเท่าเียมกับชนชั้นอื่น ๆ ทางเศรษฐกิจแก่ชาวไร่ชาวนาที่ยากจน ตลอดจนผู้อยูในภาคเกษตรกรรมทางภาคเหนือ อันได้แก่การจัดสรรที่ิดน เครื่องมือ เกษตรกรรม สัตว์เลี้ยง เมล็ดพันธ์ข้าว ทุนทรัพย์ และอื่น ๆ ที่สำคัญต่อการผลิตในอัตราส่วนที่เท่า ๆ กันต่อไปจะไม่มีคนมั่งมี ไม่มีคนยากจน ทุกคนมีฐานะความเป็นอยุเท่ากันหมด ผุ้ที่ยังทีทรัพย์สินอยู่จะถูกยึด ถูกขับไล่ออไปจากสังคมหรือไม่ก็ถูกฆ่า และพรรคยังชักจูงให้ชาวไร่ชานาที่ยากจนโดยทั่วๆ ไป เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของพรรค ปลดผุ้กระทำผิดต่อพรรค ตั้งชาวไร่ชาวนาขึ้นเป็นผู้พิพากษาพิจารณาความผิดฐานทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวงเบียดบังทรัพย์สินที่ยึดมาได้มาเป็นของตนเอง และวิพากษ์วิจารณ์ พระนามผู้ทียังประพฤติตนเป็นดั่งศักดินา ..
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ เกิดมาจากความขัดกันในด้านชีวิตความเป็นอยู่ของคนรุ่นเก่ากับความคิดเห็นทางการเมืองของคนรุ่นใหม่ กล่าวคือ โดยธรรมเนียมแล้วสังคมจีนโบราณเป็นสังคมที่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด สมาชิกแต่ละคนต่างยอมรับว่าสังคมหนึ่ง ๆ ต้องมีความแตกต่างกันโดยคนมั่งมีและมีอิทธิพลสามารถจะทำอย่างไรก็ได้ตามอำเภอใจกับคนอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งยากจนและไร้อำนาจ ในช่วงแรกๆ ชาวไร่ชาวนาก้าวขึ้นสู่อำนาจ บุคคลเหล่านี้ด้วยความเข้าใจผิด คิดว่าการเป็นผุ้นำนั้นหมายถึงตนจะทำอะไรก็ได้ดังที่ผู้นำในอดีตเคยปฏิบัติกัน จึงเกิดการฉ้อราษฎรบังหลวงอย่างในระบอบการปกครองเดิม ในระดับผู้นำระดับสูงความประพฤติเช่นนี้เป็นการฉ้อราษฎร์บังหลวงที่มีโทษอย่างร้ายแรง และยังขัดกับอุดมการณ์ของพรรคที่เน้นความเสมอภาคกันทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง และต่อต้านกรสืบทอดตำแหน่งตลอดจนความมั่งมีในแต่ละครอบครัว การยอมให้ถือปฏิบัติตามธรรมเนียมประเพณีที่ไม่พึงปรารถนา หรือการปล่อยให้ชาวไร่ชาวนาที่กลายมาเป็นผู้นำในสังคมใช้ตำแหน่งหน้าที่แยกตัวเองออกจาสังคมเป็นคนอีกชนชั้นหน่ง หรือการดำรงตนเป็นผู้มีอภิสิทธิเหนือคนอื่นดังเช่นผู้นำในอดีต ซึ่งทั้งหมดย่อมเป็นการบ่อนทำลายหลักการแห่งการปฏิวัติทั้งสิ้น
บรรดาผู้นำระดับสูงพยายามปกปิดความผิดพลาดของพรรค เหมือที่เคยทำมาในอดีต แต่เมื่อไม่บรรลุผลก็หันไปโทษเจ้าหน้าที่ระดับล่าง โดยปราศากการให้คำแนะนำที่มีคุณค่าเพื่อเรียกร้องความร่วมือโดยสมัครใจ อันที่จริงปัญหาเช่นนี้ทางพรรคเพียงประวิงเวลาและให้การศึกษาในแนวทางแห่งการปฏิวัติที่ถูกต้อง ปัญหาต่าง ๆ ก็จะไม่เกิดขึ้น
ต้นปี่ 1948 พรรคเิริ่มผ่อนคลายนโยบายสร้างความเสมอภาคในสังคม ด้วยความจริงที่ว่า การสร้างความเสมอภาคกันในสังคมของกายึดถือที่ดินนั้น พรรคจำเป็นต้องยึดที่ดินเพิ่มอีก แม้จากผู้ที่มีที่ดินเกินมาตรฐานเพียงเล็กน้อย หรือแม้แต่จากชาวไร่ชาวนาผู้มั่งคั่งที่วิธีการผลิตของเขาไม่ได้เอารัดเอาเปรียบสังคมมากเกินไป เพราะผลผลิตของเขายังพอมีประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจของชุมชนอยู่ หรือมีที่ดินในครอบครองที่ไม่มากเพียงพอต่อการจัดสรรให้แก่ชาวไร่ชาวนาผู้ยากจนอื่นๆ
แม้ว่าพรรคจะมีนโยบายปฏิรูปอยางค่อยเป็นค่อยไป แต่ทางพรรคยังคงดำเนินการปฏิรูปอย่างรุนแรงในอีกรูปแบบหนึ่ง โดยเฉพาะในหมู่บ้านที่คอมมิวนิสต์ยึดครองมาเป็นเวลานานแล้ว พรรคใช้นโยบายลงโทษอย่างรุนแรงต่อสมาชิกผู้ทำตนเป็นชนชั้นศักดินา หรือใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่ผิด เว้นแต่ในเขตที่เพิ่งถูกปลดปล่อยพรรคจะใช้วิธีการที่ประนีประนอม
.........................................
ก่อนที่สงครามกลางเมืองจะยุติลงโดยชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์นั้น เชียง ไค เชค ใช้ความพยายามขั้นสุดท้ายเพื่อพิชิตกองทัพซีซีพีที่เปิดฉากการรุกทางภาคตะวันออกของแมนจูเรียในปลายปี 1946 ด้วยการส่งกองทหารทีดีที่สุดที่มีอยู่ขึ้นสู่พื้นที่ทางภาคเหนือ และในแมนจูเรีย ยึดได้เมืองหลวงที่ว่างเปล่า ของซีซีพีที่เมืองเยนานรวมทั้งพื้นที่ตลอดแนวสองข้างทางรถไฟลึกเข้าไปในแมนจูเรีย แต่เชียง ไม่อาจปฏิบัิติการในเชิงรุกได้เพราะพื้นที่ถูกกองกำลังซีซีพีปิดล้อมเส้นทางเดิน นอกเสียจากการใช้กำลังตอบโต้เมืองถูกโจมตีจากหน่วยจรยุทธ์ของพรรคซีซ๊พี ที่รายล้อมกองทัพของเซียง ในวันที่ 4 กรกฎาคม 1947 เชียง ไค เชค ประการวาซีซีพีเป็นกบฏ และเรียกกองบัญชาการของเขาว่า "กองบัญชาการปราบโจร"พร้อมส่งกำลังหลักเข้าโจมตฐานที่มั่นของซีซีพีในแมนจูเรียอย่างต่อเนือง อย่างไรก็ดีการรบในครั้งนี้แม้กองทัพของเชียงจะมีจำนวนมากกวา อาวุธทันสมัยกว่าแต่ไม่ทำให้ เชียง ไค เชค เป็นฝ่ายชนะได้
ภายในรัฐบาลก๊กมินตั๋งไม่แตกต่างไปจากกองทัพมากนัก การฮ้อราษฎร์บังหลวงเกิดขึ้นโดยทั่วไป ทุกคนต่างแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบใส่ตัว ปัญหาเงินเฟ้อ รัฐบาลไม่สามารถแก้ไขได้ ทำให้ชนชั้นกลาง เร่ิมแสดงความไม่พอใจต่อการบริหารงานของรัฐบาลก๊กมินตั๋งที่ล้มเหลว นอกเหนือจากการเป็นรัฐบาลเผด็จการมากขึ้น ความพ่ายแพ้ทางทหารแต่ละครั้งของพรรคก๊กมินตั๋ง ต่อซีซีพีภายใต้การนำของหลินเปียว เป็ง เต-ฮุย และเชน ยี ในระหว่างปี 1948 เชียง ไค เชค เริ่มที่จะยอมรับความพ่ายแพ้ หลังจากที่เขาพยายามชักจูงใจให้ผุ้สนับสนุนเขาหันมาร่วมมือกันแก้ไขอีกครั้ง แม้จะล้มเหลวอีกก็ตาม
กลางปี 1947 เมื่อซีซีพีสามารถเข้าครอบครองพื้นที่รอบเมืองใหญ่ ๆ ได้ตั้งแต่แมนจูเรียเรื่อยลงมาถึงที่ราบเหนือลุ่มแม่นำ้ฮวงโห และอีก 1 ปีต่อมา สภานการณ์ของพรรคก๊กมินตั๋งยิงเลวร้ายลงอีกเมืองกองกำลังก๊กมินตั๋งหนีทัพและเข้าไปร่วมกับ พีแอลเอ ซึ่งในที่สุดกองทัพก๊กมินตั๋งตกอยู่ในวงล้ามของพีแอลเอ ซึ่งพร้อมที่จะเข้าทำลายได้ทุกเมือ แต่พีแอลเอ เลือกที่จะปล่อย ก๊กมินตั๋งลงทางภาคใต้เพื้อขยายพื้นที่ปลดปล่อยลงสู่ภาคใต้เหนือลุ่มแม่น้ำแยงซี เพื่อสร้างฐานกำลังให้แก่พีแอลเอ ในกรณีที่ตัดสินใจเข้าทำลาย ก๊กมินตั๋งที่เหลืออยู่ทางภาคเหนือ กองทัพดังกล่าวจะไม่สามรถหนีลงสูภาคใต้เพื่อขอความช่วยเหลือจากกองกำลงส่วนหใหญ่ทางภาคใต้ได้ นอกจากนี้ เมา เช ตุง ยังเห็นว่าการปิดล้อมไม่ให้กองกำลังทางเหนือติดต่อกับกองกำลังทางใต้ได้นานเท่าไรก็จะเป็นผลดีต่อซีซ๊พีเพราะจะทำให้กองทัพก๊กมินตั๋งขาดกำลังใจที่จะต่อสู้ และหาก เชียง ปล่อยให้กองกำลังของเขาตกอยู่ในวงล้อมโดยไม่เข้าช่วยเหลือ ย่อมได้ชัยชนะอย่างง่ายดาย
เมื่อเป็นที่ประัจักษ์แล้วว่ากองกำลังพีแอลเอเริ่มได้เปรียบในเชิงรุก ไม่ว่าจะเป็นในด้านการตัดตอนกองกำลังของก๊กมินตั๋งทางภาคเหนืออกจากภาคใต้ รวมทั้งชัยชนะในการรบย่อยแต่ละครั้ง ย่อมเป็นเครื่องประกันได้ว่าชัยชนะย่อมเป็นของพีแอลเออย่างแน่นอน
เชียง ไค เชค มีนโยบายที่จะคงกองกำลังไง้ทางเหนือเพื่อคุ้มครองเมืองสำคัญๆ โดยไม่สนใจที่จะให้มีการเคลื่อนย้าย แม้ในกรณีที่มีหน่วยรบอื่นขอความช่วยเหลือมาก็ตาม ทำให้กองกำลังแตกแยกและง่ายต่อการโจมตี
ชัยชนะขั้นเด็ดขาดของพีแอลเอเกิดในช่วงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 1948 เมื่อพีแอลเอสามรถทำลายกองทัพก๊กมินตั๋งทางภาคเหนือลงอย่างย่อยยับและอีกครั้งในการรบที่ฮัวไฮ ด้วยการพ่ายปพ้ทั้ง 2 ครั้งเป็นการยุติการสู้รบของก๊กมินตั้งอย่างสิ้นเชิง เวลาเพียง 4 เดือนครึ่ง ก๊กมินตั๋งสูญเสยกำลังพลไปมากกว่า 1 ล้านคนในขณะที่พีแอลเอสูญเสียเพียงเล็กน้อย
เมื่อเห็นวาไม่มีทางจะต้อนกำลังของพีแอลเอได้ เชียง ไค เชค ประกาศลาออกจาตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ในวันที่ 21 มกราคม 1949
ทันที่ที่เชียง จากไป พีแอลเอ ก็เิดินทัพข้ามแม่น้ำแยงซี ในเดือนเมษาปีเดียวกันนั้นเอง และยึดกวางโจว ในอีกในอีก 6 เดือนต่อมา ชัยชนะครั้งนี้ถือเป็นการยุติสงครามกลางเมืองที่มีมากว่าสิบปี จีนทั้งหมดตกอยู่ใต้อำนาจการปกครองของพีแอลเอ (ยกเว้นไต้หวัน) และในวันที่ 1 ตุลาคม 1949 เมา เช ตุง ผู้นำคนใหม่ประกาศเรียกชื่อประเทศนี้อย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน หรือ พีอาร์ซี พร้อมเปลี่ยนชื่อจากเปยปิง เป็นเป่ยจิงประเทศจีนตกเป็นของพรรคซีซีพีนับจากวันนั้นเป็นต้นมา...
วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556
coming..
ความสัมพันธ์ของสามมหาพันธมิตรเมื่อใกล้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 เริ่มมีปัญหาความขัดแย้งด้วยเรื่องผลประโยชน์ที่ยังไม่มีข้อยุติให้เป็นที่พอใจแก่อังกฤษและสหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง ปละรุสเซียอีกฝ่ายหนึ่ง
ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ แสดงให้เห็นชัดขึ้นเรื่อยๆ ในระหว่างการประชุมการรบเพื่อพิชิตฝ่ายอักษะ การประชุมที่เตหะราน 28 พฤศจิกายน 1943 การประชุมที่ยัลตา 4-11 กุมภาพันธ์ 1945 การประชุมที่พอตสมดัม กรกฎาคม 1945
ในระหว่างสงคราม สหรัฐอเมริกามุ่งมั่นที่จะปราบฝ่ายอักษะและสถาปนาสันติภาพ โดยจะจัดตั้งองค์การขึ้นเพื่อให้มีหน้าที่ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพโลก คือ องค์การสหประชาชาติ สหรัฐจึงต้องการรักษาความเป็นพันธมิตรไว้มิให้มีวามแตกแยก อันจะทำให้การรบรุกขากประสิทธิภาพ ความร่วมมือจากทุกฝ่ายจึงถือเป็นเรื่องหลักโดยเรื่องผลประโยชน์เป็นเรื่องรองลงมา และต้องเร่งแก้ไขให้ยุติเพื่อมิให้มหาพันธมิตรเกิดรอยร้าวได้ สหรัฐอเมริกาจึงมีทีท่าโอนอ่อนผ่อนปรนต่อรัสเซียในเรื่องต่าง ๆ
อังกฤษนั้นเฝ้าติดตามพฤติกรรมของรุสเซียตั้งแต่ปี 1943 มาแล้วอังกฤษมีความเห็นโดยทั่วไปเหมือนชาวยุโรปในสมัยนั้นว่า การที่รุสเซียรุกรบจนเข้ายึดครองยุโรปตะวันออกเกือบทั้งหมดนั้น มีเหตุมาจากความพยายามที่จะสร้างแนวป้องกันตนเองเพื่อความมันคงปลอดภัยของรุสเซีย ความได้เปรียบทางการทหารมีข้อเท็จจริงที่ชาวยุโรปต้องยอมรับ และเห็นว่าควรหาหนทางประสานผลประโยชน์กับรุสเซีย โดยนำหลักการรักษาดุลยภาพแห่งอำนาจมาใช้
สหรัฐอเมริกาไม่ยอมรับหลักการนี้ เพราะถือว่าเป็นการดำเนินการทูตแบบเดิม ที่เคยเป็นบ่อเกิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 มาแล้ว อีกประการหนึ่ง ถ้ามีการใช้หลักการดุลอำนาจ สหรัฐอเมริกาอาจจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องก่อเกิดภาระผูกพันทางการเมืองอันไม่พึงประสงค์ สหรัฐฯต้องการให้ยุติสงครามโลกและคืนสู่สภาวะปกตอโดยเร็ว
เมื่อสหรัฐสามารถโน้มนำให้อังกฤษคล้อยตามนโยบายสร้างความร่วมมือกับรุสเซียในระหว่างสงคราม รุสเซียย่อมมีโอกาสใช้เชิงการทูตให้เป็นประโยชน์และประสามนกับการปฏิบัติการทางทหารเพื่อเป็นพลังเสริมต่อรองในการทูต ซึ่งรัสเซียตระหนักดีว่าอเมริกามีทัศนะคติอย่างไรต่อตน
ตั้งแต่ปฏิวัติรุสเซียในปี 1917 บรรดามหาอำนาจตะวันตกแทรกแซงกิจการการเมืองภายในอันไม่นคงของรุสเซีย และร่วมปฏิบัติการแทรกแซงทางทหารเพื่อล้มล้างรัฐบาลบอลเชวิค พฤติกรรมเช่นนั้นย่อมทำให้เซียมีความหวาดระแวงไม่ไว้ใจบรรดามหาอำนาจตะวันตกตลอดมา ซึ่งสหรัฐฯและอังกฤษมีความรู้สึกผิดในเรื่องดังกล่าว จึงพยายามแสดงความอดทนและเพียรแสดงเจตนารมณ์อันดี่อรุสเซีย
รุสเซียได้ใช้ความรู้สึกผิดของฝ่ายสหรัฐฯเป็นข้อต่อรองของความเห็นใจที่รุสเซียจำเป็นต้องสร้างความมั่นคงของตน ผลของการปรุชุมที่เตหะรานเป็นมาล้วนเอื้ออำนวยผลประโยชน์ต่อรุสเซียสมประสงค์
สิ่งหนึ่งที่รุสเซียมุ่งมาดปรารถนาจากการประชุมคือ ผลประโยชน์ในยุโรปตะวันออกและในเอเซียตะวันออกในระยะยาว รุสเซียมีความอดทนในการเจรจาต่อรอง โดยเฉพาะสตาลินนั้น ได้ชื่อว่าเป็นนักการทูตผู้ชำนาญการคนหนึ่งของวงการทูต เขาเจรจาหว่านล้อมจนนักการเมืองและนักการทูตของสหรัฐอเมริกาอดมิได้ที่จะมีความเมตตาต่อความรู้สึกไม่มั่นคงของรุสเซีย และได้หยิบยื่นผลประโยชนจ์ให้แก่สตาลินมากมาย ซึ่งต่อมาตกเป็นที่วิพากษ์วิจารย์ว่าเป็นการโอนอ่อนเกินจำเป็นหรือไม่
ที่ยัลตา แลพอตสดัม รุสเซียแสดงบทบาทให้เป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่า รุสเซียพร้อมที่จะร่วมรบและร่วมสร้างสันติภาพโลก แต่เมื่อสงครามใกล้สิ้นสุด ทีท่าของรุสเซียก็ค่อยๆ ลดลงจาเดิม ค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสงวยท่าที ชัยชนะในแนวรบได้ทำให้ยุโรปเกิดความนิยมศรัทธารุสเซีย นับถือศักยภาพทางทหารของรุสเซีย และเห็นว่า รุสเซียเป็นมหาอำนาจที่มีเจตจำนงแน่วแน่มากที่สุดประเทศหนึ่งในการปราบฝ่ายอักษะและเป็นผู้ชุบชีวิตชาวยุโรป โดยเฉพาะยุโรปตะวันออก เกียรติภูมิอันยิ่งใหญ่และศักยภาพทางทหารย่อมทำให้รุสเซียเริ่มดำนินการทูตที่แข.ขึ้น พร้อมด้วยอำนาจต่อรองที่สูงขึ้น
สหรัฐเชื่อว่าการปฏิบัติดีต่อรุสเซียเช่นนั้น รุสเซียจะมีไมตรีตอบสนอง เพราะสหรัฐเชื่อว่าชาวรุสเซียเป็นผู้มีเหตุผลมองการไกลพอที่จะประสานไม่ตรีโดยสันติเพื่อประโยชน์สุขร่วมกัน แต่การณ์กับไม่เป็นดังนั้น
ในปี 1950 ผู้นำรัสเซียได้บอกกล่าวแก่ประชาชนของตนว่า ศัตรูอันดับต่อไปคือ ลัทธิทุนนิยม และกล่าวหา สหรัฐฯและอังกฤษว่ามีเจตนาที่จะทำลายความเป็นรัฐของสหภาพโซเวียต และแสดงธาติแท้ของการต่างประเทศของตนออกมา โดยกล่าวถึงการพลิกฟื้นของการปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์ภายใต้การนำของรุสเซีย
เมื่อเกิดความขัดแย้งในส่วนของผู้นำ โดยสตาลินถือนโยบายสร้างสังคมนิยมในหนึ่งประเทศก่อน กับทรอตสกี ผู้ถือนโยบายปฏิวัติโลก สตาลินเน้นการแสวงหาความร่วมมือ กับบรรดามหาอำนาจตะวันตกเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาชาติและเพื่อความมั่นคงขอรุสเซีย “มีข้อคิดที่ว่า การพัฒนาสังคมนิยมในหนึ่งประเทศนั้นบรรลุผลแล้วหรือ จึงดำเนินนโยบายคลายความร่วมมือกับพันธมิตรของตน และมุ่งปฏิวัติโลก”
สถานการณ์ระหว่าง ปี 1945-1947 เอื้อประโยชน์แก่ฝ่ายรุสเซีย ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียกับพันธมิตรได้เปลี่ยนโฉมหน้าไปแล้วอย่างเห็นได้ชัด บรรดามหาอำนาจตะวันตกได้ตระหนักแล้วว่า ภัยคอมมิวนิสต์นั้นร้ายแรงไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภัยจาก ลัทธินาซี รัฐมนตรีการต่างประเทศรุสเซียได้ประกาศในปี 1946 ว่า “ปัจจุบัน ไม่มีประเด็นใดของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่จะสามารถยุติได้โดยปราศจากสหภาพโซเวียต หรือปราศจากาการฟังเสียงของปิตุภูมิของเรา”
ภัยคอมมิวนิสต์คืบคลานเข้าครอบงำยุโรป กว่ากึ่งหนึ่งในปี 1945 การแบ่งฝ่ายโดยปริยายได้ปรากฎแล้วระหว่างฝ่ายบรรดามหาอำนาจตะวันตกและสหรัฐอเมริกา เรียกกันโดยทั่วไปว่า
“โลกเสรี กับฝ่าย คอมมิวนิสต์”
ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ แสดงให้เห็นชัดขึ้นเรื่อยๆ ในระหว่างการประชุมการรบเพื่อพิชิตฝ่ายอักษะ การประชุมที่เตหะราน 28 พฤศจิกายน 1943 การประชุมที่ยัลตา 4-11 กุมภาพันธ์ 1945 การประชุมที่พอตสมดัม กรกฎาคม 1945
ในระหว่างสงคราม สหรัฐอเมริกามุ่งมั่นที่จะปราบฝ่ายอักษะและสถาปนาสันติภาพ โดยจะจัดตั้งองค์การขึ้นเพื่อให้มีหน้าที่ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพโลก คือ องค์การสหประชาชาติ สหรัฐจึงต้องการรักษาความเป็นพันธมิตรไว้มิให้มีวามแตกแยก อันจะทำให้การรบรุกขากประสิทธิภาพ ความร่วมมือจากทุกฝ่ายจึงถือเป็นเรื่องหลักโดยเรื่องผลประโยชน์เป็นเรื่องรองลงมา และต้องเร่งแก้ไขให้ยุติเพื่อมิให้มหาพันธมิตรเกิดรอยร้าวได้ สหรัฐอเมริกาจึงมีทีท่าโอนอ่อนผ่อนปรนต่อรัสเซียในเรื่องต่าง ๆ
อังกฤษนั้นเฝ้าติดตามพฤติกรรมของรุสเซียตั้งแต่ปี 1943 มาแล้วอังกฤษมีความเห็นโดยทั่วไปเหมือนชาวยุโรปในสมัยนั้นว่า การที่รุสเซียรุกรบจนเข้ายึดครองยุโรปตะวันออกเกือบทั้งหมดนั้น มีเหตุมาจากความพยายามที่จะสร้างแนวป้องกันตนเองเพื่อความมันคงปลอดภัยของรุสเซีย ความได้เปรียบทางการทหารมีข้อเท็จจริงที่ชาวยุโรปต้องยอมรับ และเห็นว่าควรหาหนทางประสานผลประโยชน์กับรุสเซีย โดยนำหลักการรักษาดุลยภาพแห่งอำนาจมาใช้
สหรัฐอเมริกาไม่ยอมรับหลักการนี้ เพราะถือว่าเป็นการดำเนินการทูตแบบเดิม ที่เคยเป็นบ่อเกิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 มาแล้ว อีกประการหนึ่ง ถ้ามีการใช้หลักการดุลอำนาจ สหรัฐอเมริกาอาจจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องก่อเกิดภาระผูกพันทางการเมืองอันไม่พึงประสงค์ สหรัฐฯต้องการให้ยุติสงครามโลกและคืนสู่สภาวะปกตอโดยเร็ว
เมื่อสหรัฐสามารถโน้มนำให้อังกฤษคล้อยตามนโยบายสร้างความร่วมมือกับรุสเซียในระหว่างสงคราม รุสเซียย่อมมีโอกาสใช้เชิงการทูตให้เป็นประโยชน์และประสามนกับการปฏิบัติการทางทหารเพื่อเป็นพลังเสริมต่อรองในการทูต ซึ่งรัสเซียตระหนักดีว่าอเมริกามีทัศนะคติอย่างไรต่อตน
ตั้งแต่ปฏิวัติรุสเซียในปี 1917 บรรดามหาอำนาจตะวันตกแทรกแซงกิจการการเมืองภายในอันไม่นคงของรุสเซีย และร่วมปฏิบัติการแทรกแซงทางทหารเพื่อล้มล้างรัฐบาลบอลเชวิค พฤติกรรมเช่นนั้นย่อมทำให้เซียมีความหวาดระแวงไม่ไว้ใจบรรดามหาอำนาจตะวันตกตลอดมา ซึ่งสหรัฐฯและอังกฤษมีความรู้สึกผิดในเรื่องดังกล่าว จึงพยายามแสดงความอดทนและเพียรแสดงเจตนารมณ์อันดี่อรุสเซีย
รุสเซียได้ใช้ความรู้สึกผิดของฝ่ายสหรัฐฯเป็นข้อต่อรองของความเห็นใจที่รุสเซียจำเป็นต้องสร้างความมั่นคงของตน ผลของการปรุชุมที่เตหะรานเป็นมาล้วนเอื้ออำนวยผลประโยชน์ต่อรุสเซียสมประสงค์
สิ่งหนึ่งที่รุสเซียมุ่งมาดปรารถนาจากการประชุมคือ ผลประโยชน์ในยุโรปตะวันออกและในเอเซียตะวันออกในระยะยาว รุสเซียมีความอดทนในการเจรจาต่อรอง โดยเฉพาะสตาลินนั้น ได้ชื่อว่าเป็นนักการทูตผู้ชำนาญการคนหนึ่งของวงการทูต เขาเจรจาหว่านล้อมจนนักการเมืองและนักการทูตของสหรัฐอเมริกาอดมิได้ที่จะมีความเมตตาต่อความรู้สึกไม่มั่นคงของรุสเซีย และได้หยิบยื่นผลประโยชนจ์ให้แก่สตาลินมากมาย ซึ่งต่อมาตกเป็นที่วิพากษ์วิจารย์ว่าเป็นการโอนอ่อนเกินจำเป็นหรือไม่
ที่ยัลตา แลพอตสดัม รุสเซียแสดงบทบาทให้เป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่า รุสเซียพร้อมที่จะร่วมรบและร่วมสร้างสันติภาพโลก แต่เมื่อสงครามใกล้สิ้นสุด ทีท่าของรุสเซียก็ค่อยๆ ลดลงจาเดิม ค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสงวยท่าที ชัยชนะในแนวรบได้ทำให้ยุโรปเกิดความนิยมศรัทธารุสเซีย นับถือศักยภาพทางทหารของรุสเซีย และเห็นว่า รุสเซียเป็นมหาอำนาจที่มีเจตจำนงแน่วแน่มากที่สุดประเทศหนึ่งในการปราบฝ่ายอักษะและเป็นผู้ชุบชีวิตชาวยุโรป โดยเฉพาะยุโรปตะวันออก เกียรติภูมิอันยิ่งใหญ่และศักยภาพทางทหารย่อมทำให้รุสเซียเริ่มดำนินการทูตที่แข.ขึ้น พร้อมด้วยอำนาจต่อรองที่สูงขึ้น
สหรัฐเชื่อว่าการปฏิบัติดีต่อรุสเซียเช่นนั้น รุสเซียจะมีไมตรีตอบสนอง เพราะสหรัฐเชื่อว่าชาวรุสเซียเป็นผู้มีเหตุผลมองการไกลพอที่จะประสานไม่ตรีโดยสันติเพื่อประโยชน์สุขร่วมกัน แต่การณ์กับไม่เป็นดังนั้น
ในปี 1950 ผู้นำรัสเซียได้บอกกล่าวแก่ประชาชนของตนว่า ศัตรูอันดับต่อไปคือ ลัทธิทุนนิยม และกล่าวหา สหรัฐฯและอังกฤษว่ามีเจตนาที่จะทำลายความเป็นรัฐของสหภาพโซเวียต และแสดงธาติแท้ของการต่างประเทศของตนออกมา โดยกล่าวถึงการพลิกฟื้นของการปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์ภายใต้การนำของรุสเซีย
เมื่อเกิดความขัดแย้งในส่วนของผู้นำ โดยสตาลินถือนโยบายสร้างสังคมนิยมในหนึ่งประเทศก่อน กับทรอตสกี ผู้ถือนโยบายปฏิวัติโลก สตาลินเน้นการแสวงหาความร่วมมือ กับบรรดามหาอำนาจตะวันตกเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาชาติและเพื่อความมั่นคงขอรุสเซีย “มีข้อคิดที่ว่า การพัฒนาสังคมนิยมในหนึ่งประเทศนั้นบรรลุผลแล้วหรือ จึงดำเนินนโยบายคลายความร่วมมือกับพันธมิตรของตน และมุ่งปฏิวัติโลก”
สถานการณ์ระหว่าง ปี 1945-1947 เอื้อประโยชน์แก่ฝ่ายรุสเซีย ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียกับพันธมิตรได้เปลี่ยนโฉมหน้าไปแล้วอย่างเห็นได้ชัด บรรดามหาอำนาจตะวันตกได้ตระหนักแล้วว่า ภัยคอมมิวนิสต์นั้นร้ายแรงไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภัยจาก ลัทธินาซี รัฐมนตรีการต่างประเทศรุสเซียได้ประกาศในปี 1946 ว่า “ปัจจุบัน ไม่มีประเด็นใดของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่จะสามารถยุติได้โดยปราศจากสหภาพโซเวียต หรือปราศจากาการฟังเสียงของปิตุภูมิของเรา”
ภัยคอมมิวนิสต์คืบคลานเข้าครอบงำยุโรป กว่ากึ่งหนึ่งในปี 1945 การแบ่งฝ่ายโดยปริยายได้ปรากฎแล้วระหว่างฝ่ายบรรดามหาอำนาจตะวันตกและสหรัฐอเมริกา เรียกกันโดยทั่วไปว่า
“โลกเสรี กับฝ่าย คอมมิวนิสต์”
Economic system
สังคมนิยม คือระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ทร่รวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลางของประเทศ คือคณะรัฐบาลและประมุขของประเทศ เป็ฯระบอบการปกครองที่ไม่มีกษัตริย์เป็นประมุขจึงมีลักษณะเป็นสาธารณรับเสมอ ทรัพย์สินส่วนใหญ่รัฐบาลจะเป็นผู้รวบรมไว้ และแจกจ่ายให้ประชาชนอย่างเท่าเทียมกันที่สุด เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมและความไม่เท่าเทียม
ระบบสังคมนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากความคิดของผู้คนที่ต้องการที่จะสร้างระบบเศรษฐกิจที่ พยายามลวล้างข้อด้อยของทุนนิยม โดยช่วงแรก ๆ ยังเป็นเพียงแค่ในจินตนาการเพราะการปฏิบัติทำได้ยากมาก กระทั่ง ระบบสังคมนิยมเกิดขึ้นอย่างเป็นวิทยาศาสตร์แบบแผนครั้งแรกที่สหภาพสาธารณาฐสังคมนิยมโซเวียต โดยโค่นรัฐบาลที่โค่นราชวงศ์โรมานอฟ เมื่อปี 1917 โดยกานำของ วลาดิมีร์ เลนิน
ระบบสังคมนิยมในจินตนาการตั้งอยู่บนความคิดที่ต้องการให้ระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างยุติธรรมโดยไม่ต้องมีระบบงิน ทุกคนรวมกันทำงานเพื่อสร้างผลผลิตส่วนรวม และได้รับรัฐสวัสดิการที่ทำได้ยาก เช่นมีโรงอาหารให้รับประทานอาหารฟรี แต่ระบบสังคมนิยมที่เป็นวิทยาศาสตร์จะพยายามกระจายรายได้โดยรัฐให้ประชาชนให้ทั่วถึงทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน มีรัฐสวัสดิการที่ควรมีอยู่พอสมควร ระบบสังคมนิยมไม่จำเป็นที่จะภายใต้ระบอบการปกครองแบบเผด็จการหรือระบอบใดระบอบหนึ่งแต่สามรถอยู่ได้ทุกระบอบเพราะเป็นเพียงระบบเศรษฐกิจเท่านั้นไม่ใช่ระบอบการปกครอง
ประเภทของสังคมนิยม
สังคมนิยมแบบบังคับ เป็นรัฐควบคุมกิจการของเอกชนในประเทศทั้งหมดโดยจะใช้ในประเทศกลุ่มควอมมิวนิสต์ ได้แก่ จีน เกาหลีเหนือ เวียดนาม ลาว คิวบา
สังคมนิยมเสรี เป็นการที่รัฐให้อิสระในการบริหารของเอกชน แต่จะผูกขาดกิจการรัฐวิสาหกิจภายในแระเทศโดยจะใช้ในประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียและบางประเทศในยุโรป
ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมบังคัย ระบบเศรษฐกิจคอมมิวนิสต์ จะมีการวางแผนจากส่วนกลาง ประเทศแม่แบบคือสหภาพโซเวียต
ลักษณะเด่นของระบบ กลไกราคามิได้เข้ามามีบทบาทสำคัญ การวางเป้าหมายการผลิตถูกกำหนดทางปริมาษโดยตรง กระบวนการแจกจ่ายทรัพยากรเป็นไปตามการวางแผนส่วนกลาง กระบวนการทางเศรษฐกิจเป็นไปตามแผนส่วนกลาง เพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม อำนาจอธิปไตยการบริโภค ถูกควบคุมโอกาสเพียงเลือกการบริโภค
ภายใต้ระบบสังคมนิยมแบบบังคับ ไม่ส่งเสริมอำนาจอธปไตยผู้บริโภค กรณี่อุปสงค์ส่วนรวมในสินค้าบริโภคเพิ่มสูงขึ้น รัฐจะเข้าควบคุมปริมาณผลิตให้คงอยู่ ณ ระดับคงเดิม ระดับระคาเพ่มขึ้นแต่เพียงด้านเดียว รัฐบาลจะใช้มาตการเพ่มภาษ๊การเปลี่ยนมือในสินค้า ซึ่งจะทำให้ความพอใจของผู้บริโภคลดลง รัฐบาลกลางเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทั้งหมด จุดมุ่งหมายการผลิตมิไดมุ่กำรสูงสุด เน้นปริมาณการผลิตปริมาณมากที่สุด
ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมเสรี สังคมนิยมประชาธิปไตย มีลักษณะเฉพาะระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมเสรีมีลักษณะเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ของระบบคือ รัฐบาละข้าควบคุมและเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตขนาดใหญ่ ด้วยเหตุผลคือต้องการให้ระบเศรษฐกิจมีการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกัน บทบาทของรัฐจะเข้าแทรกแซงเศรษฐกิจด้านกำหนดราคาสินค้า ส่งเสริมการลงทุน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างม่ประสิทธิภาพการตัดสินใจที่จะทำการผลิต ตลอดถึงการจ้างงานในระบบ
เศรษฐกิจ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจส่วนรวมทั้งสิ้น รัฐถือว่าบรรดากิจกรรมการลงทุน และสะสมทุนทั้งหมดจะต้องตกเป็นของรัฐอยางสินเชิง ผลกำรอันเกิดจากกิจการผูกขาดในธุรกิจใหญ่โตจะต้อตกเป็นของรัฐทั้งสิ้น ไม่เปิดโอกาสให้มีธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะไปมีบทบาทที่สำคัญด้านการให้เงินกู้ลงทุนเท่านั้นเอง รัฐบาลจะทำหน้าที่ด้านนี้เอง ภายใต้ระบบนี้เปิดโอกาศให้ผู้บริโภคมีอำนาจอธิไตยการบริโภค
ระบบนี้ส่งเสริมให้มีอำนาจอธิปไตยของผู้บริโภคจึงทำให้เกิด
ความแตกต่างกับระบบสังคมนิยมแบบบังคับ การที่ระบบเษรษฐกิจใด ประชาชนภายใต้ระบบจะเกิดอำนาจอธิปไตยของผู้บริโภคมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับระบบกลไกราคา เข้ามามีโอกาสการกำหนดราคามากน้อยเพียงใด ต้องมีสถาบันธุรกิจเอกชนเปิดโอกาสแข่งขันนหน่วยผลิตเป็นตัวส่งเสริมการแข่งขัน แต่สภาพที่ปรากฎเข้าควบคุมการผลิตขนาดใหญ่ ปัจจัยการผลิตเป็นของรัฐ ภายในระบบยังขาดสถาบันธุรกิจเอกชน อันได้แก่กรรมสิทธิในปัจจัยกาผลิต กระบวนการแข่งขันการผลิต ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ใช้เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมให้เกิดอำนาจอธิปไตยของผู้บริโภค ทั้งสิ้น จึงเป็นข้อสังเกตว่าระบบนี้สามารถบรรลุได้มาเพียงใด
ระบบทุนนิยม ทุนนิยมจะกล่าวถึง ทุนและที่ดินเป็นสมบัติส่วนบุคคล การตัดสินใจทางเศรษฐกิจเป็นกิจกรรมส่วนบุคคลไม่ใช่การควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็นตัวกำหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็นที่สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันของโลกตะวันตกคือระบบุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่าในบางประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบผสมกล่าวคือมีลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม
ระบบธุรกิจเอกชน ถ้าจะศึกษาจุดเริ่มต้นของระบบทุนนิยม เริ่มเกิดปรากฎให้เห็นอย่างเด่นชัดตั้งแต่มีการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมา เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษ ตั้งแต่ระหว่างปี 1770-1840 อันเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาเทคโนโยใหม่มาใช้ในการผลิต ต่อจากนั้นได้เกิดมีการตื่นตัวที่จะมีความรู้สึกชาตินิยม จะมารวมตัวกันในรูป “รัฐชาติ”ขึ้นในแถบประเทศยุโรป ตังนั้น อาจกล่าวได้ว่าผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมส่งผลให้เกิดการพฒนาระบบตลาด
เท่าที่ผ่านมาระบบทุนนิยมักจะประสบปัญกาด้านพื้นฐานทางเศรษฐกิจ นับตั้งแต่หลังสังครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ปัญกาคือ จะผลิตสินค้าอะไร ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใครเดิมอาศัยกลไกราคามาเป็นตัวหลักในการแก้ไข ต่มารัฐบาลมีบทบาทเข้าแทรกแซงเศรษฐกิจ
ลักษณะเด่นของระบบ ตำเนินกลไกเศรษฐกิจโดยอาศัย “กลไกราคา”เป็นตัวจักรสำคัญสร้าง “แรงจูงใจ”ให้เกิดขึ้นภายในระบบเศรษฐกิจ ปราศจากการควบคุมจากส่วนกลางการจะแจกจ่ายปัจจัยการผลิตสิ่งใดและปริมาณเท่าใดอาศัย
อุปสงค์และอุปทานในตลาดเป็นตัวกำหนด การตัดสินใจการบริโภคขึ้ยอยู่กับความพังพอใจสูงสุดเป็นหลักโดยอาศัยอรรถประโยชน์ เป็นเกณฑ์การตัดสินใจ ยินยอมให้มีการถือกรรมสิมธิ์ในทรัพย์สินส่วนตัว การให้มีกรรมสิทธิในปัจจัยการผลิตและทรัพย์สินการตัดสินใจในการผลิต การออม การลงทุน เปิดโอกาสให้มีอิสรภาพในการทำงาน ระบบเศรษฐฏิจดำเนินไปตามกลไกราคา โดยใช้แรงจูงใจด้วยกำไร มาเป็นตัวกำหนดการผลิต ระบบตลาดโดยมีอุปสงค์และอุปทานเข้ามาเป็นตัวกำหนด ยอมรับความสำคัญอำนาจอธิปไตยของผุ้บริโภคผุ้บระโภคมีเสรีภาพในการเลือกบริโภคสินค้าใดก็ได้ตามใจชอบภายใต้การผลิตดำเนินในรูปแบบของการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ลักษณะการผลิตมุ่งประสิทธิภาพการปลิตไม่ว่าจะเป็นด้านการผลิต การปรับปรุงประสทิธิภาพการผลิตมุ่งประสิทธิภาพการผลิต ไม่ว่าจะเป็นด้านการผลิต การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ก่อใกดการแจกจ่ายทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมลังคับ ซึ่งมีความสอดคล้องกับเผด็จการ หรือระบบเศรษฐกิจแบบฟาสซิสม์ รูปแบบเศรษฐกิจยังคงเปิดโอกาสให้เอกชนมีกรรมสิทธิในทรัพย์สินส่วนบุคคลการดำเนินกลไกเศรษฐกิจมิได้เป็นไปตามกลไกราคา อาศัยการวางแผนส่วนกลาง จากรัฐบาลเป็นตัวแทนการแจกจ่ายรัพยาก เพื่อนำมาใช้ในการผลิตตามแผนที่ได้วางไว้
ลักษณะเด่นของระบบ รัฐบาลจะเข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติให้บรรลุผลสำเร็จในระยะสั้น เป็ฯรูปแบบเศรษฐกิจดำเนินในยามสงครา ซึ่งเยอรมันและอิตาลีนำมาใช้ระหว่าสงครามโลกครั้งที่สอง การดำเนินกลไกทางเศรษฐกิจตงข้ามกับลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยเหตุนี้พวกนายทุนและชนชั้นกลางจึงให้การสนับสนุนระบบเศรษฐกิจธุรกิจเอกชนบังคับไม่เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันการผลิต ลักษณะตลาดดำเนินในปแบบผูกขาด ดำเนินกจิการผูกขาดโดยนายทุนขนาดใหญ่ ลักษณะการผลิตเป็นการรวมกลุ่มเป็น “คาร์เทล” อำนาจอธิปไตยของผู้บริโภค ถูกละเลย การดำเนินการผลิตควบคุมโดยหน่วยงานวางแผนจากส่วยกลาง เสรีภาพการเลือกบริโภคถูกจำกัดจาการควบคุมปริมาณการผลิต เสรีภาพของการเลือกอาชีพ ถูกจำกัด เพราะรัฐบาลจะเข้าควบคุมวางแยนการใช้แรงงานในโรงงานแต่ละประเภท แต่การผลิตและการตัดสินใจเลือกใช้ปัจจัยการผลิตยังคงควบคุมอย่างใกล้ชิดและคำสั่งจากรัฐโดยอาศัยคำสั่ง เรียได้ว่าเป็นระบบเผด็จการทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ลัทธิชาตินิยมเป็นจุดเด่นของระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม มักเกิดกับประเทศกำลังพัฒนาเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะสำคัญยังคงไว้ซึ่งกรรมสิทธิในทรัพย์สินส่วนบุคคล แต่รัฐบาลกลางจะเข้ามามรส่วนในการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต นับเป็นบทบาทที่สำคัญของรัฐบาล ที่เข้ามารยุ่งเกี่ยวในกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากกว่าประเทศทุนนิยม
มูลเหตุแห่งการดำเนินระบบเศรษฐกิจแบบผสม ต้องการสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ โดยอาศัยกลไกราคามาเป็นตัวช่วย อีกประการหนึ่งง ประเทศเหล่านี้ประบปัญหาความไม่เท่าเทียมด้านกระจายรายได้ บ่อยครั้งที่การควบคุมจากฝ่ายรัฐบาลไม่มีประสิทธิภาพไม่สามารถดำเนินให้ลุล่วงไปได้ ราคาสินค้าในท้องตลดไม่สามรถที่จะบรรลุเป้าหมายไปได้
ลักษณะเศรษฐกิจแบบผสม
- การจัดสรรปัจจัยการผลติ อาศัยกลไกราคา
- ราคาสินค้าถูกควบคุมโดยรัฐบาล
- มีการวางแผนจากส่วนกลาง
- กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ยังคงถูกควบคุมโดยรัฐบาล
- รัฐบาลจะมีบทบาสำคัญในการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ ระบบเศรษฐกิจแบบผสมจะมีการเน้นบทบาทรัฐมากกว่าทุนนิยมก้าวหน้า ระบบเศรษกิจแบบผสมเป็นการดำเนินการระหว่างระบบเศรษฐกิจแบบตลาดควบคู่กันไปกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง
ระบบสังคมนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากความคิดของผู้คนที่ต้องการที่จะสร้างระบบเศรษฐกิจที่ พยายามลวล้างข้อด้อยของทุนนิยม โดยช่วงแรก ๆ ยังเป็นเพียงแค่ในจินตนาการเพราะการปฏิบัติทำได้ยากมาก กระทั่ง ระบบสังคมนิยมเกิดขึ้นอย่างเป็นวิทยาศาสตร์แบบแผนครั้งแรกที่สหภาพสาธารณาฐสังคมนิยมโซเวียต โดยโค่นรัฐบาลที่โค่นราชวงศ์โรมานอฟ เมื่อปี 1917 โดยกานำของ วลาดิมีร์ เลนิน
ระบบสังคมนิยมในจินตนาการตั้งอยู่บนความคิดที่ต้องการให้ระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างยุติธรรมโดยไม่ต้องมีระบบงิน ทุกคนรวมกันทำงานเพื่อสร้างผลผลิตส่วนรวม และได้รับรัฐสวัสดิการที่ทำได้ยาก เช่นมีโรงอาหารให้รับประทานอาหารฟรี แต่ระบบสังคมนิยมที่เป็นวิทยาศาสตร์จะพยายามกระจายรายได้โดยรัฐให้ประชาชนให้ทั่วถึงทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน มีรัฐสวัสดิการที่ควรมีอยู่พอสมควร ระบบสังคมนิยมไม่จำเป็นที่จะภายใต้ระบอบการปกครองแบบเผด็จการหรือระบอบใดระบอบหนึ่งแต่สามรถอยู่ได้ทุกระบอบเพราะเป็นเพียงระบบเศรษฐกิจเท่านั้นไม่ใช่ระบอบการปกครอง
ประเภทของสังคมนิยม
สังคมนิยมแบบบังคับ เป็นรัฐควบคุมกิจการของเอกชนในประเทศทั้งหมดโดยจะใช้ในประเทศกลุ่มควอมมิวนิสต์ ได้แก่ จีน เกาหลีเหนือ เวียดนาม ลาว คิวบา
สังคมนิยมเสรี เป็นการที่รัฐให้อิสระในการบริหารของเอกชน แต่จะผูกขาดกิจการรัฐวิสาหกิจภายในแระเทศโดยจะใช้ในประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียและบางประเทศในยุโรป
ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมบังคัย ระบบเศรษฐกิจคอมมิวนิสต์ จะมีการวางแผนจากส่วนกลาง ประเทศแม่แบบคือสหภาพโซเวียต
ลักษณะเด่นของระบบ กลไกราคามิได้เข้ามามีบทบาทสำคัญ การวางเป้าหมายการผลิตถูกกำหนดทางปริมาษโดยตรง กระบวนการแจกจ่ายทรัพยากรเป็นไปตามการวางแผนส่วนกลาง กระบวนการทางเศรษฐกิจเป็นไปตามแผนส่วนกลาง เพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม อำนาจอธิปไตยการบริโภค ถูกควบคุมโอกาสเพียงเลือกการบริโภค
ภายใต้ระบบสังคมนิยมแบบบังคับ ไม่ส่งเสริมอำนาจอธปไตยผู้บริโภค กรณี่อุปสงค์ส่วนรวมในสินค้าบริโภคเพิ่มสูงขึ้น รัฐจะเข้าควบคุมปริมาณผลิตให้คงอยู่ ณ ระดับคงเดิม ระดับระคาเพ่มขึ้นแต่เพียงด้านเดียว รัฐบาลจะใช้มาตการเพ่มภาษ๊การเปลี่ยนมือในสินค้า ซึ่งจะทำให้ความพอใจของผู้บริโภคลดลง รัฐบาลกลางเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทั้งหมด จุดมุ่งหมายการผลิตมิไดมุ่กำรสูงสุด เน้นปริมาณการผลิตปริมาณมากที่สุด
ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมเสรี สังคมนิยมประชาธิปไตย มีลักษณะเฉพาะระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมเสรีมีลักษณะเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ของระบบคือ รัฐบาละข้าควบคุมและเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตขนาดใหญ่ ด้วยเหตุผลคือต้องการให้ระบเศรษฐกิจมีการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกัน บทบาทของรัฐจะเข้าแทรกแซงเศรษฐกิจด้านกำหนดราคาสินค้า ส่งเสริมการลงทุน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างม่ประสิทธิภาพการตัดสินใจที่จะทำการผลิต ตลอดถึงการจ้างงานในระบบ
เศรษฐกิจ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจส่วนรวมทั้งสิ้น รัฐถือว่าบรรดากิจกรรมการลงทุน และสะสมทุนทั้งหมดจะต้องตกเป็นของรัฐอยางสินเชิง ผลกำรอันเกิดจากกิจการผูกขาดในธุรกิจใหญ่โตจะต้อตกเป็นของรัฐทั้งสิ้น ไม่เปิดโอกาสให้มีธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะไปมีบทบาทที่สำคัญด้านการให้เงินกู้ลงทุนเท่านั้นเอง รัฐบาลจะทำหน้าที่ด้านนี้เอง ภายใต้ระบบนี้เปิดโอกาศให้ผู้บริโภคมีอำนาจอธิไตยการบริโภค
ระบบนี้ส่งเสริมให้มีอำนาจอธิปไตยของผู้บริโภคจึงทำให้เกิด
ความแตกต่างกับระบบสังคมนิยมแบบบังคับ การที่ระบบเษรษฐกิจใด ประชาชนภายใต้ระบบจะเกิดอำนาจอธิปไตยของผู้บริโภคมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับระบบกลไกราคา เข้ามามีโอกาสการกำหนดราคามากน้อยเพียงใด ต้องมีสถาบันธุรกิจเอกชนเปิดโอกาสแข่งขันนหน่วยผลิตเป็นตัวส่งเสริมการแข่งขัน แต่สภาพที่ปรากฎเข้าควบคุมการผลิตขนาดใหญ่ ปัจจัยการผลิตเป็นของรัฐ ภายในระบบยังขาดสถาบันธุรกิจเอกชน อันได้แก่กรรมสิทธิในปัจจัยกาผลิต กระบวนการแข่งขันการผลิต ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ใช้เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมให้เกิดอำนาจอธิปไตยของผู้บริโภค ทั้งสิ้น จึงเป็นข้อสังเกตว่าระบบนี้สามารถบรรลุได้มาเพียงใด
ระบบทุนนิยม ทุนนิยมจะกล่าวถึง ทุนและที่ดินเป็นสมบัติส่วนบุคคล การตัดสินใจทางเศรษฐกิจเป็นกิจกรรมส่วนบุคคลไม่ใช่การควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็นตัวกำหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็นที่สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันของโลกตะวันตกคือระบบุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่าในบางประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบผสมกล่าวคือมีลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม
ระบบธุรกิจเอกชน ถ้าจะศึกษาจุดเริ่มต้นของระบบทุนนิยม เริ่มเกิดปรากฎให้เห็นอย่างเด่นชัดตั้งแต่มีการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมา เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษ ตั้งแต่ระหว่างปี 1770-1840 อันเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาเทคโนโยใหม่มาใช้ในการผลิต ต่อจากนั้นได้เกิดมีการตื่นตัวที่จะมีความรู้สึกชาตินิยม จะมารวมตัวกันในรูป “รัฐชาติ”ขึ้นในแถบประเทศยุโรป ตังนั้น อาจกล่าวได้ว่าผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมส่งผลให้เกิดการพฒนาระบบตลาด
เท่าที่ผ่านมาระบบทุนนิยมักจะประสบปัญกาด้านพื้นฐานทางเศรษฐกิจ นับตั้งแต่หลังสังครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ปัญกาคือ จะผลิตสินค้าอะไร ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใครเดิมอาศัยกลไกราคามาเป็นตัวหลักในการแก้ไข ต่มารัฐบาลมีบทบาทเข้าแทรกแซงเศรษฐกิจ
ลักษณะเด่นของระบบ ตำเนินกลไกเศรษฐกิจโดยอาศัย “กลไกราคา”เป็นตัวจักรสำคัญสร้าง “แรงจูงใจ”ให้เกิดขึ้นภายในระบบเศรษฐกิจ ปราศจากการควบคุมจากส่วนกลางการจะแจกจ่ายปัจจัยการผลิตสิ่งใดและปริมาณเท่าใดอาศัย
อุปสงค์และอุปทานในตลาดเป็นตัวกำหนด การตัดสินใจการบริโภคขึ้ยอยู่กับความพังพอใจสูงสุดเป็นหลักโดยอาศัยอรรถประโยชน์ เป็นเกณฑ์การตัดสินใจ ยินยอมให้มีการถือกรรมสิมธิ์ในทรัพย์สินส่วนตัว การให้มีกรรมสิทธิในปัจจัยการผลิตและทรัพย์สินการตัดสินใจในการผลิต การออม การลงทุน เปิดโอกาสให้มีอิสรภาพในการทำงาน ระบบเศรษฐฏิจดำเนินไปตามกลไกราคา โดยใช้แรงจูงใจด้วยกำไร มาเป็นตัวกำหนดการผลิต ระบบตลาดโดยมีอุปสงค์และอุปทานเข้ามาเป็นตัวกำหนด ยอมรับความสำคัญอำนาจอธิปไตยของผุ้บริโภคผุ้บระโภคมีเสรีภาพในการเลือกบริโภคสินค้าใดก็ได้ตามใจชอบภายใต้การผลิตดำเนินในรูปแบบของการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ลักษณะการผลิตมุ่งประสิทธิภาพการปลิตไม่ว่าจะเป็นด้านการผลิต การปรับปรุงประสทิธิภาพการผลิตมุ่งประสิทธิภาพการผลิต ไม่ว่าจะเป็นด้านการผลิต การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ก่อใกดการแจกจ่ายทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมลังคับ ซึ่งมีความสอดคล้องกับเผด็จการ หรือระบบเศรษฐกิจแบบฟาสซิสม์ รูปแบบเศรษฐกิจยังคงเปิดโอกาสให้เอกชนมีกรรมสิทธิในทรัพย์สินส่วนบุคคลการดำเนินกลไกเศรษฐกิจมิได้เป็นไปตามกลไกราคา อาศัยการวางแผนส่วนกลาง จากรัฐบาลเป็นตัวแทนการแจกจ่ายรัพยาก เพื่อนำมาใช้ในการผลิตตามแผนที่ได้วางไว้
ลักษณะเด่นของระบบ รัฐบาลจะเข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติให้บรรลุผลสำเร็จในระยะสั้น เป็ฯรูปแบบเศรษฐกิจดำเนินในยามสงครา ซึ่งเยอรมันและอิตาลีนำมาใช้ระหว่าสงครามโลกครั้งที่สอง การดำเนินกลไกทางเศรษฐกิจตงข้ามกับลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยเหตุนี้พวกนายทุนและชนชั้นกลางจึงให้การสนับสนุนระบบเศรษฐกิจธุรกิจเอกชนบังคับไม่เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันการผลิต ลักษณะตลาดดำเนินในปแบบผูกขาด ดำเนินกจิการผูกขาดโดยนายทุนขนาดใหญ่ ลักษณะการผลิตเป็นการรวมกลุ่มเป็น “คาร์เทล” อำนาจอธิปไตยของผู้บริโภค ถูกละเลย การดำเนินการผลิตควบคุมโดยหน่วยงานวางแผนจากส่วยกลาง เสรีภาพการเลือกบริโภคถูกจำกัดจาการควบคุมปริมาณการผลิต เสรีภาพของการเลือกอาชีพ ถูกจำกัด เพราะรัฐบาลจะเข้าควบคุมวางแยนการใช้แรงงานในโรงงานแต่ละประเภท แต่การผลิตและการตัดสินใจเลือกใช้ปัจจัยการผลิตยังคงควบคุมอย่างใกล้ชิดและคำสั่งจากรัฐโดยอาศัยคำสั่ง เรียได้ว่าเป็นระบบเผด็จการทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ลัทธิชาตินิยมเป็นจุดเด่นของระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม มักเกิดกับประเทศกำลังพัฒนาเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะสำคัญยังคงไว้ซึ่งกรรมสิทธิในทรัพย์สินส่วนบุคคล แต่รัฐบาลกลางจะเข้ามามรส่วนในการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต นับเป็นบทบาทที่สำคัญของรัฐบาล ที่เข้ามารยุ่งเกี่ยวในกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากกว่าประเทศทุนนิยม
มูลเหตุแห่งการดำเนินระบบเศรษฐกิจแบบผสม ต้องการสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ โดยอาศัยกลไกราคามาเป็นตัวช่วย อีกประการหนึ่งง ประเทศเหล่านี้ประบปัญหาความไม่เท่าเทียมด้านกระจายรายได้ บ่อยครั้งที่การควบคุมจากฝ่ายรัฐบาลไม่มีประสิทธิภาพไม่สามารถดำเนินให้ลุล่วงไปได้ ราคาสินค้าในท้องตลดไม่สามรถที่จะบรรลุเป้าหมายไปได้
ลักษณะเศรษฐกิจแบบผสม
- การจัดสรรปัจจัยการผลติ อาศัยกลไกราคา
- ราคาสินค้าถูกควบคุมโดยรัฐบาล
- มีการวางแผนจากส่วนกลาง
- กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ยังคงถูกควบคุมโดยรัฐบาล
- รัฐบาลจะมีบทบาสำคัญในการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ ระบบเศรษฐกิจแบบผสมจะมีการเน้นบทบาทรัฐมากกว่าทุนนิยมก้าวหน้า ระบบเศรษกิจแบบผสมเป็นการดำเนินการระหว่างระบบเศรษฐกิจแบบตลาดควบคู่กันไปกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง
วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Thirteen Colonies
มลรัฐ 13 แห่งได้ยอมรับเป็นหลักในการปกครองในเดือนมีนาคม 1781 มีข้อบกพร่อง นั่นคือการปกครองระบบนี้เป็นเพียง “การรวมกันฉันมิตร”ไม่มีระบบบริหารของชาติอย่างงแท้จริง มีสภาคอนติเนนตัลเพียงสภาเดียงซึ่งขาดอำนาจในการเหก็บภาษี เกณฑ์ทหาร ลงโทษผู้ละเมิดกฎหมาย หรือบังคับให้มลรัฐต่าง ๆ ปฏิติตามสนธิสัญญาที่สภาทำกับต่างประเทศ รวมถึงาภาไม่อาจเรียกเก็บเงินสำหรับใช้จายในภารกิจต่าง ๆ ของรัฐบาลกลาง หรือชะระดอกเบี้ยหนี้สินของประเทศได้ อย่างไรก็ตามแม้บทบัญญัตินี้จะไม่สามรถแก้ไขปัญหาการปกครองร่วมกันได้ แต่ก็เป็นแนวทางนำไปสู่กาตกลงที่สำคัญเกียกับการแบ่งปยกอำนาตทั่งไป และอำนาจท้องถ่นอันเหมาะสม บทบัญญัติสมาพันธ์เป็นหลักการดำเนินงานขั้นสำคัญ และที่จำเป็นในการเปลี่ยนแปลงจากความเป็นอสระของมลรัฐต่าง ๆ ซึ่งไม่ขึ้นต่อกัน มาสู่ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในรูปการปกครองแบบสหพันธรัฐในปี 1789
ไม่เพียงแต่ประเทศจะขาดรัฐบาลกลางที่เข้มแข็งเท่านั้น มลรัฐทั้ง 13 แห่งก็ยังปราศจากระเบียบการปกครองอันมั่นคงด้วย ธอมัน เพน ได้เสนอให้มี “การประชุมภาคพื้นทวีปเพื่อรางกฏบัตรการปกครองใหม่” ข้อเสนอดังกล่าวนี้ได้ปรากฏเป็นรูปเป็นร่างขึ้นเมื่อมีการประชุมเพื่อพิจารณาปัญหาทางการค้า ดังนั้นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่มีลักษณะเข้าแข็งมั่นคงเป็นพิเศษ จึงได้ถูกราขึ้นในที่สุด
การดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญได้เริ่มขึ้นเมื่ออเล็กซานเดอร์ แฮมิลตันเสนอให้มลรัฐต่าง ๆ แต่งตั้งผู้แทนไปประชุมกันที่เมืองฟิลาเดลเฟียในเดือนพฤษภาคม 1787 เพื่อพิจารณาสถานกาณ์โดยทั่งไปของสหรัฐอเมริกา และ “กำหนดเงื่อไขเท่าที่จำเป็นในอันที่จะยังให้ธรรมนูญแห่งรัฐบาลสหพันธ์เป็นหลักในการปกครองอันเพียงพอแก่ความจำเป็นเร่งด่วนของหภาพมลรัฐทุก ๆ รัฐยกเว้นโรดไอแลนด์ได้ดำเนินการเลือตั้งผู้แทนเข้าร่วมประชุมโดยสภานิติบัญญัติของมลรัฐทำหน้าที่เลื่อกผู้แทนที่จะเข้าประชุม และวอชิงตันได้รัเลือกจาผู้แทนทั้งหมดให้เป็นประธานการประชุมด้วย ผู้แทนเหล่านี้ได้เตรียมร่างหลักการใหม่ซึ่งต่อมาคือรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา และได้ใช้เป็นแนวการพิจารณามากกว่าการยึดตามบทบัญญัติสมาพันธ์เดิม
หลักการโดยทั่งไปของการจัดตังรูปแบบการปกครองของชาติ คือ แบ่งการปกครองเป็น 3 สาขา แต่ละสาขามีอำนาจเท่าเทียมกันและประสานงานกับสาขาอื่นๆ สาขาทั้งสาม คือ นิติบัญญํติ บริหาร และตุลาการ จะต้องรัดกุมและสอดคล้องกัน เพื่อให้การปฏิบัติงานเหมาะสมกลมเกลียวกัน แต่ในเวลาเดียวกันก็จะต้องถ่วงดุลอำนาจกันอย่างดี ในลักษณะที่ไม่ให้ผลประโยชน์ของฝ่ายใดล่วงล้ำกำเกินฝ่ายอื่นได้ บรรดาผู้แทนเห็นชอบให้กำหนดว่า สาขานิตดบัญญัติควรประกอบด้วยสภา 2 สภา คือสภาเซเนต และสภาผู้แทนราษฎร โดยมีข้อยุติคือ มลรัฐเล็กจะมีเสียงในสภาเซเนตเท่ากับมลรัฐใหญ่ แต่ในสภาผู้แทนราษฎรให้กำหนดจำนวนผุ้แทนตามส่วยประชากรของมลรัฐ ในสาขาบริหาร การกำหนดวิธีการเลือกตั้งประธานาธิบดีได้ข้อสรุปว่า ให้มีการจัดตั้งคณะผู้แทนของมลรัฐเพื่ออกเสียเลือกตั้งประธานาธิบดี แต่ละมลรัฐมีจำนวนผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีก็มิได้เป็นไปตามเจตนาของผุ้ร่างรัฐธรรมนูญทั้งนี้เพราะไม่มีผู้ใดคาดคิดล่วงหน้าว่า พรรคการเมืองจะวิวัฒนาการขึ้นตั้งแต่เริ่มแรก ส่วนอำนาจสาขาที่สาม คือสาขาตุลาการ ประธานาธิบดีเป็นผุ้แต่งตั้งผู้พิพากษาศาลสูงสุด โดยคำแนะนำและด้วยความยินยอมของสภาเซเนต ให้ดำรงตำแหน่งตลอดชีวิตตราบเท่าที่มีควาประพฤติดี
ความสุขุมและแยบยลในการกำหนดหลักการดำเนินงานของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ได้จัดตั้งระบอบการปกครองที่สลับซับซ้อนที่สุดแต่มั่นคงที่สุดเท่าที่มนุษย์ได้จัดตั้งมา อำนาจแต่ละสาขาเป็นอิสระ ไม่ขึ้นต่อกันประสานงานกันแต่ก็ยับยั้งควบคุมซึ่งกันแลกัน ร่างกฏหมายของสภาคองเกรสจะมีผลบังคับใช้ก็ต่อเมือได้รับการับรองของประธานาธิบดี ในทำนองเดียวกัน ประธานาธิบดีต้องเสนอการแต่งตั้งข้าราชการดำนงตำแหน่างสำคัญ ๆ และสนองสนธิสัญญาทั่งปวงที่ทำขึ้น ต่อสภาเซเนตเพื่อของความเห็นชอบ อนึ่ง สภาคองเกรสยังอาจพิจารณาไต่สวนประธานธิบดีในข้อหาใช้อำนาจในทางที่ผิด และถอดถอนจากตำแน่งได้ด้วย สาขาตุลาการมีอำนาจพิจารณาคดีความทั้งปวงตามตัวบทกฎหมายมูลฐานและกฏหมายที่ออกโดยสภานิตดบัญญัติ แต่ผู้พิพากษาซึ่งประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้งและได้รับความเห็นชอบของสภเซเนต ก็อาจจะถูกสภาคองเกรสพิจารณาและถอดถอนจากตำแหน่งได้เช่นกัน โดยที่วุฒิสมาชิกของสภาเซเนตเป็นตำแหน่งที่ได้รับเลือกตั้งโดยสภานิติบัญญัติแห่งมลรัฐ ให้ปฏิบัติหน้าที่คราวละ 6 ปี ส่วนปรธานาธิบดีได้รัเลือกตั้งโดยสภานิติบัญญัติของมลรัฐ และผู้พิพากษาได้รับการแต่งตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจึงเป็นข้ารัฐการพวกเดียวที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
หลังสงครามกลางเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาได้เจริญก้าวหน้าอย่างมาก โดยเฉพาะหลังปี 1894 สาขาอุตสาหกรรมได้ก้าวขึ้นมาเป็นอันดับ 1 แทนที่สาขาการเกษตร ในบางอุตสาหกรรมได้มีการพัฒนาการผลิตขึ้นเป็นการผลิตขนาดใหญ่ นั้นคือเมื่อระบบทุนนิยมพัฒนาไป จะมีการรวมหน่วยธุรกิจเข้าเป็นหน่วนใหญ่ เป้าหมายเพื่อควบคุมตลาดและขจัดการแข่งขัน พยายามเป้นผู้ผูกขาดในตลาด ในกรณ๊เยอรมันเกิดระบบคาร์เตลและกรณีญี่ปุ่นเกิดระบบไซบัตซึ ส่วนในกรณีของสหรัฐอเมริกาปรากฏการณ์นี้เป็นไปอย่างรุนแรงที่สุด การรวมกลุ่มผูกขาดมีขนาดใหญ๋มาก รวมทั้งมีอำนาจทางเศรษฐกิจมากด้วย
การผลิตส่วนใหญ่อยู่ภายใต้การควบคุมของกิจการจำนวนน้อย หมายถึงว่า กิจการเพียงกลุ่มน้อยจะเป็นกลุ่มอิทธิพลครอบงำอุสาหกรรมส่วนใหญ่เอาไว้ และการที่ในอุตสาหกรรมหนึ่งมีกิจการขนาดใหญ่อยู่เพียงไม่กี่กิจการ หากมีการแข่งขันระหว่างกิจการใหญ่ ๆ ด้วยกันด้านราคาก็อาจนำปสู่สงครามราคา แข่งขันตัดราคากันจนอาจนำไปสุ่การล้มละลายของกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ด้วยเหตุนี้จึงไม่น่าแปลกใจที่กิจการใหญ่ ๆ พยายามหลีกเลียงการแข่งขันแบบนี้ ด้วยการหันไปตกลงและรวมตัวกันในแบบต่าง ๆ ซึงวิธีการแบบนี้ไม่เพียงหลีกเลียงการแข่งขันกันตัดราคาเท่านั้น ในบางโอกาสยังทำให้สามารถขึ้นราคาและเพิ่มกำไรได้ด้วย
การรวมกลุ่มผูกขาดนี้ ปรากฎในสหรัฐอเมริกามาตั้งแต่ทศวรรษ 1890 การรวมกิจการเพื่อผูกขาดทำกัน 3 วิธี โดยมีการพัฒนาตั้งแต่วิธีแรก เรียกว่า การตกลงรวมตัว วิธีที่ 2 คือการก่อตั้งทรัสต์ และวิธีสุดท้ายคือการก่อตั้งบริษัทถือครองหุ้น
เมื่อถึงปี 1905 ประมาณ สองในห้าของอุตสาหกรรมในสหรัฐอเมริกาถูกควบคุมด้วยบริษัทใหญ่มากเพียง 300 บริษัทเท่านั้น และด้วยเงินทุนรวมกว่า 7 พันล้านเหรียญทุนผูกขาดครอบำกิจการรถไฟ เนื้อบรรจุหีบห่อ เหล็กกล้า ทองแดงฯ ตระกูลมอแกนซึ่งคบลคุมธนาคารเพื่อการลงทุน เป็นกรรมการบริษัท 112 แห่ง ซึ่มีสินทรัพย์กว่า 22 พันล้านเหรียญ หมายึวามว่าคนเพียงไม่กี่คน มีอำนาจเศรษฐกิจมากล้น เนื่องจากการรวมทุนเป็นทุนผูกขาด
การควบคุมโดยรัฐบาลกลาง
โดยทั่วไปการที่รัฐบาลกลางจะเข้าควบคุมการดำเนินธุรกิจนั้น มักจะเป็นในช่วงที่เกิดภาวะสงครามหรือเกิดภาวะความปั่นป่วนของตลอดเงินหรือของระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งการเรียกร้องให้รัฐบาลเข้าแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ การเช้าแทรกแซงรของรัฐบาลอาจทำให้รูปของการออกกฎหมายเศรษกิจหลักๆ และการจัดตั้งอง์กรควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจจากการศึกษาระบบเศรษฐกิจอเมริกันชี้ให้เห็นว่า ระดับการออกกฎหมายควบคุมธุรกิจ และการจัดตั้งองค์กรควบคุมต่อทศวรรษ มีวงจรคล้ายกับการขยายตัวของปริมาณเงินและอัตราเงินเฟ้อนั่นก็คือ มีอัตราการเพิ่มที่พุ่งขึ้นถึงจุดสุงสุดในทุก ๆ 3 ทศวรรษ ยกเว้นในช่วงหลังสงครามกลางเมือง
“ระเบียบกฎหมาย” อาจนิยามได้ว่า คือ การที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงในกระบวนการตัดสินใจของเอกขน ตัวอย่งเช่น การออกกฎหมายหรือรัฐบัญญัติกำหนดค่าแรงขั้นต่ำ มาตรฐานคุณภาพสินค้า รัฐบัญญัติว่าด้วยการห้ามกีดกันการว่าจ้างแรงงานเป็ฯต้น เมื่ออกกฏหมายขึ้นใช้บังคับกิจการใดกิจการหนึ่งแล้ว ก็จะต้องจัดตั้งองค์กรส่วนกลางขึ้นเพื่อควบคุมดูแลให้ปฏิบัติตามกฏหมายนั้น ๆ
การวัดระดับการควบคุมธุรกิจอาจทำได้ 2 วิธี คือ
- พิจารณาจำนวนองค์กรใหม่ๆ ที่ตั้งขึ้นมาควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจในแต่ละทศวรรษ หากมีจำนวนมากแสดงวาระดับการควบคุมธุรกิจในช่วงนั้นมีมาก
- พิจารณาจากจำนวนร่างรัฐบัญญัติหรือกฏหมายทางเศรษฐกิจหลัก ๆ ที่สภาคองเกรสฝ่านให้ประกาศใช้เป็นรัฐบัญญัติได้ หากมีจำนวนมากแสดงว่าการแทรกแซงของรัฐบาลมีมากขึ้น ซึ่งการควบคุมธุรกิจก็คือ การที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงการดำเนินงานของตลาดนั้นเอง
ดังนั้นเมื่อระบบเศรษฐกิจขยายตัว มาตรการที่จะนำมาใช้ควบคุมธุรกิจย่อมเพิ่มขึ้นด้วย ถ้าระบบเศรษฐกิจขยายตัวแต่องค์กรที่ควบคุมดูแลไม่ได้เพิ่มขึ้น แสดงว่าระดัยการควบคุมต่อธุรกิจลดลงหรือเรียกว่า “ดิเรกกูเรชั่น”สำหรับร่างรัฐบัญญัติเศรษฐกิจหลัก ๆ ก็เช่นเดียวกัน ฉะนั้นในระบบเศรษฐกิจที่ขยายตัว มาตรการที่เหมาะสมในการควบคุมธุรกิจก็คือ จำนวนขององค์กรควบคุมที่ตั้งขึ้นใหม่ หรือจำนวนรัฐบัญญัติเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่ประกาศใช้บังคับเพ่มขึ้นในแต่ละทศวรรษ อย่างไรก็ตามก็ควรจะคำนึงถึงองค์กรหรือรัฐบัญญัติที่เลิกล้มหรือเลิกใช้แล้วด้วย
องค์กรควบคุมที่ได้เกิดขึ้นต่อทศวรรษรัฐบาลกลางเริ่มก่อตั้งองค์กรควบคุมส่วนกลางในปี 1836 และในทศวรรษที่ 1860 มีการตั้งองค์กรใหม่ 2 องค์กร ภายหลังสงครามกลางเมืองวงจรได้ชะงักไปและกลับเข้าสูงวงจรปกติโดยพุ่งขึ้นถึงจุดสูงสุดในทศวรรษที่ 1910,1940และ1970 จึงสรุปได้ว่า จากวงจรที่ 1 การขยายตัวขององค์กรควบคุมธุรกิจดำเนินไปเป็นวงจรโดยพุ่งถึงจุดสูงสุดในทุก ๆ 3 รอบทศวรรษ ยกเว้นภายหลังสงครามกลางเมือง
การบัญญัติกฏหมายเกียวกับเศรษฐกิจของรัฐ ฉบับสำคัญๆ ที่ผ่านออกมาต่อทศวรรษ แม้วาก่อนหน้าทศวรรษ 1830 ยังไม่มีการก่อตั้งองค์กรควบคุมธุรกิจแต่สภาคองเกรสได้ผ่านร่างรัฐบัญญัติเศรษฐกิจหลัก ๆ แล้ว นับตั้งแต่สมัยที่ยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษอยู่ ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจอเมริกันอย่างชัดแจ้ง การออกกฏหมายเศรษฐกิจเพื่อควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจ ขึ้นถึงจุดสูงสุดในทุก ๆ 3 ทศวรรษ ยกเว้นช่วงหลังสงครามกลางเมือง เพราะฉะนั้นในช่วงกลางระหว่างจุดสูงสุดเหล่นี้ ก็แสดงถึงระดับของการยกเลิกฏหมายด้วย เนื่องจากรัฐบัญญัติที่ประกาศใช้ในระหว่างสงคราม จะถูกยกเลิกไปเมือสงครามยุติลง จำนวนของรัฐบัญญํติท่ตราขึ้นระหว่างช่วง 10 ปีก็อาจเป็นได้ว่าอัตราเพิ่มของรัฐบัญญัติจะติดลบ เมื่อคำนึกถึงข้อเท็จจริงดังนี้แล้วจะเห็นว่าทศวรรษหลังสงคราม คือ ทศวรรษ 1780,1870,1920และ 1950 เป็นทศวรรษที่แสดงว่าระดับของการยกเลิกกฎหมาย หรือรัฐบัญญัติขึ้ถึงจุดสูสุด ดังนั้นระดับการการยกเลิกกฏหมายจะขึ้นถึงจุดสูงสุดในทุก ๆ 3 ทศวรรษเช่นกัน นับตั้งแต่ก่อตั้งประเทศเรื่อยมา(ยกเว้นช่วงสงครามกลางเมือง)
ไม่เพียงแต่ประเทศจะขาดรัฐบาลกลางที่เข้มแข็งเท่านั้น มลรัฐทั้ง 13 แห่งก็ยังปราศจากระเบียบการปกครองอันมั่นคงด้วย ธอมัน เพน ได้เสนอให้มี “การประชุมภาคพื้นทวีปเพื่อรางกฏบัตรการปกครองใหม่” ข้อเสนอดังกล่าวนี้ได้ปรากฏเป็นรูปเป็นร่างขึ้นเมื่อมีการประชุมเพื่อพิจารณาปัญหาทางการค้า ดังนั้นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่มีลักษณะเข้าแข็งมั่นคงเป็นพิเศษ จึงได้ถูกราขึ้นในที่สุด
การดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญได้เริ่มขึ้นเมื่ออเล็กซานเดอร์ แฮมิลตันเสนอให้มลรัฐต่าง ๆ แต่งตั้งผู้แทนไปประชุมกันที่เมืองฟิลาเดลเฟียในเดือนพฤษภาคม 1787 เพื่อพิจารณาสถานกาณ์โดยทั่งไปของสหรัฐอเมริกา และ “กำหนดเงื่อไขเท่าที่จำเป็นในอันที่จะยังให้ธรรมนูญแห่งรัฐบาลสหพันธ์เป็นหลักในการปกครองอันเพียงพอแก่ความจำเป็นเร่งด่วนของหภาพมลรัฐทุก ๆ รัฐยกเว้นโรดไอแลนด์ได้ดำเนินการเลือตั้งผู้แทนเข้าร่วมประชุมโดยสภานิติบัญญัติของมลรัฐทำหน้าที่เลื่อกผู้แทนที่จะเข้าประชุม และวอชิงตันได้รัเลือกจาผู้แทนทั้งหมดให้เป็นประธานการประชุมด้วย ผู้แทนเหล่านี้ได้เตรียมร่างหลักการใหม่ซึ่งต่อมาคือรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา และได้ใช้เป็นแนวการพิจารณามากกว่าการยึดตามบทบัญญัติสมาพันธ์เดิม
หลักการโดยทั่งไปของการจัดตังรูปแบบการปกครองของชาติ คือ แบ่งการปกครองเป็น 3 สาขา แต่ละสาขามีอำนาจเท่าเทียมกันและประสานงานกับสาขาอื่นๆ สาขาทั้งสาม คือ นิติบัญญํติ บริหาร และตุลาการ จะต้องรัดกุมและสอดคล้องกัน เพื่อให้การปฏิบัติงานเหมาะสมกลมเกลียวกัน แต่ในเวลาเดียวกันก็จะต้องถ่วงดุลอำนาจกันอย่างดี ในลักษณะที่ไม่ให้ผลประโยชน์ของฝ่ายใดล่วงล้ำกำเกินฝ่ายอื่นได้ บรรดาผู้แทนเห็นชอบให้กำหนดว่า สาขานิตดบัญญัติควรประกอบด้วยสภา 2 สภา คือสภาเซเนต และสภาผู้แทนราษฎร โดยมีข้อยุติคือ มลรัฐเล็กจะมีเสียงในสภาเซเนตเท่ากับมลรัฐใหญ่ แต่ในสภาผู้แทนราษฎรให้กำหนดจำนวนผุ้แทนตามส่วยประชากรของมลรัฐ ในสาขาบริหาร การกำหนดวิธีการเลือกตั้งประธานาธิบดีได้ข้อสรุปว่า ให้มีการจัดตั้งคณะผู้แทนของมลรัฐเพื่ออกเสียเลือกตั้งประธานาธิบดี แต่ละมลรัฐมีจำนวนผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีก็มิได้เป็นไปตามเจตนาของผุ้ร่างรัฐธรรมนูญทั้งนี้เพราะไม่มีผู้ใดคาดคิดล่วงหน้าว่า พรรคการเมืองจะวิวัฒนาการขึ้นตั้งแต่เริ่มแรก ส่วนอำนาจสาขาที่สาม คือสาขาตุลาการ ประธานาธิบดีเป็นผุ้แต่งตั้งผู้พิพากษาศาลสูงสุด โดยคำแนะนำและด้วยความยินยอมของสภาเซเนต ให้ดำรงตำแหน่งตลอดชีวิตตราบเท่าที่มีควาประพฤติดี
ความสุขุมและแยบยลในการกำหนดหลักการดำเนินงานของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ได้จัดตั้งระบอบการปกครองที่สลับซับซ้อนที่สุดแต่มั่นคงที่สุดเท่าที่มนุษย์ได้จัดตั้งมา อำนาจแต่ละสาขาเป็นอิสระ ไม่ขึ้นต่อกันประสานงานกันแต่ก็ยับยั้งควบคุมซึ่งกันแลกัน ร่างกฏหมายของสภาคองเกรสจะมีผลบังคับใช้ก็ต่อเมือได้รับการับรองของประธานาธิบดี ในทำนองเดียวกัน ประธานาธิบดีต้องเสนอการแต่งตั้งข้าราชการดำนงตำแหน่างสำคัญ ๆ และสนองสนธิสัญญาทั่งปวงที่ทำขึ้น ต่อสภาเซเนตเพื่อของความเห็นชอบ อนึ่ง สภาคองเกรสยังอาจพิจารณาไต่สวนประธานธิบดีในข้อหาใช้อำนาจในทางที่ผิด และถอดถอนจากตำแน่งได้ด้วย สาขาตุลาการมีอำนาจพิจารณาคดีความทั้งปวงตามตัวบทกฎหมายมูลฐานและกฏหมายที่ออกโดยสภานิตดบัญญัติ แต่ผู้พิพากษาซึ่งประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้งและได้รับความเห็นชอบของสภเซเนต ก็อาจจะถูกสภาคองเกรสพิจารณาและถอดถอนจากตำแหน่งได้เช่นกัน โดยที่วุฒิสมาชิกของสภาเซเนตเป็นตำแหน่งที่ได้รับเลือกตั้งโดยสภานิติบัญญัติแห่งมลรัฐ ให้ปฏิบัติหน้าที่คราวละ 6 ปี ส่วนปรธานาธิบดีได้รัเลือกตั้งโดยสภานิติบัญญัติของมลรัฐ และผู้พิพากษาได้รับการแต่งตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจึงเป็นข้ารัฐการพวกเดียวที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
หลังสงครามกลางเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาได้เจริญก้าวหน้าอย่างมาก โดยเฉพาะหลังปี 1894 สาขาอุตสาหกรรมได้ก้าวขึ้นมาเป็นอันดับ 1 แทนที่สาขาการเกษตร ในบางอุตสาหกรรมได้มีการพัฒนาการผลิตขึ้นเป็นการผลิตขนาดใหญ่ นั้นคือเมื่อระบบทุนนิยมพัฒนาไป จะมีการรวมหน่วยธุรกิจเข้าเป็นหน่วนใหญ่ เป้าหมายเพื่อควบคุมตลาดและขจัดการแข่งขัน พยายามเป้นผู้ผูกขาดในตลาด ในกรณ๊เยอรมันเกิดระบบคาร์เตลและกรณีญี่ปุ่นเกิดระบบไซบัตซึ ส่วนในกรณีของสหรัฐอเมริกาปรากฏการณ์นี้เป็นไปอย่างรุนแรงที่สุด การรวมกลุ่มผูกขาดมีขนาดใหญ๋มาก รวมทั้งมีอำนาจทางเศรษฐกิจมากด้วย
การผลิตส่วนใหญ่อยู่ภายใต้การควบคุมของกิจการจำนวนน้อย หมายถึงว่า กิจการเพียงกลุ่มน้อยจะเป็นกลุ่มอิทธิพลครอบงำอุสาหกรรมส่วนใหญ่เอาไว้ และการที่ในอุตสาหกรรมหนึ่งมีกิจการขนาดใหญ่อยู่เพียงไม่กี่กิจการ หากมีการแข่งขันระหว่างกิจการใหญ่ ๆ ด้วยกันด้านราคาก็อาจนำปสู่สงครามราคา แข่งขันตัดราคากันจนอาจนำไปสุ่การล้มละลายของกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ด้วยเหตุนี้จึงไม่น่าแปลกใจที่กิจการใหญ่ ๆ พยายามหลีกเลียงการแข่งขันแบบนี้ ด้วยการหันไปตกลงและรวมตัวกันในแบบต่าง ๆ ซึงวิธีการแบบนี้ไม่เพียงหลีกเลียงการแข่งขันกันตัดราคาเท่านั้น ในบางโอกาสยังทำให้สามารถขึ้นราคาและเพิ่มกำไรได้ด้วย
การรวมกลุ่มผูกขาดนี้ ปรากฎในสหรัฐอเมริกามาตั้งแต่ทศวรรษ 1890 การรวมกิจการเพื่อผูกขาดทำกัน 3 วิธี โดยมีการพัฒนาตั้งแต่วิธีแรก เรียกว่า การตกลงรวมตัว วิธีที่ 2 คือการก่อตั้งทรัสต์ และวิธีสุดท้ายคือการก่อตั้งบริษัทถือครองหุ้น
เมื่อถึงปี 1905 ประมาณ สองในห้าของอุตสาหกรรมในสหรัฐอเมริกาถูกควบคุมด้วยบริษัทใหญ่มากเพียง 300 บริษัทเท่านั้น และด้วยเงินทุนรวมกว่า 7 พันล้านเหรียญทุนผูกขาดครอบำกิจการรถไฟ เนื้อบรรจุหีบห่อ เหล็กกล้า ทองแดงฯ ตระกูลมอแกนซึ่งคบลคุมธนาคารเพื่อการลงทุน เป็นกรรมการบริษัท 112 แห่ง ซึ่มีสินทรัพย์กว่า 22 พันล้านเหรียญ หมายึวามว่าคนเพียงไม่กี่คน มีอำนาจเศรษฐกิจมากล้น เนื่องจากการรวมทุนเป็นทุนผูกขาด
การควบคุมโดยรัฐบาลกลาง
โดยทั่วไปการที่รัฐบาลกลางจะเข้าควบคุมการดำเนินธุรกิจนั้น มักจะเป็นในช่วงที่เกิดภาวะสงครามหรือเกิดภาวะความปั่นป่วนของตลอดเงินหรือของระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งการเรียกร้องให้รัฐบาลเข้าแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ การเช้าแทรกแซงรของรัฐบาลอาจทำให้รูปของการออกกฎหมายเศรษกิจหลักๆ และการจัดตั้งอง์กรควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจจากการศึกษาระบบเศรษฐกิจอเมริกันชี้ให้เห็นว่า ระดับการออกกฎหมายควบคุมธุรกิจ และการจัดตั้งองค์กรควบคุมต่อทศวรรษ มีวงจรคล้ายกับการขยายตัวของปริมาณเงินและอัตราเงินเฟ้อนั่นก็คือ มีอัตราการเพิ่มที่พุ่งขึ้นถึงจุดสุงสุดในทุก ๆ 3 ทศวรรษ ยกเว้นในช่วงหลังสงครามกลางเมือง
“ระเบียบกฎหมาย” อาจนิยามได้ว่า คือ การที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงในกระบวนการตัดสินใจของเอกขน ตัวอย่งเช่น การออกกฎหมายหรือรัฐบัญญัติกำหนดค่าแรงขั้นต่ำ มาตรฐานคุณภาพสินค้า รัฐบัญญัติว่าด้วยการห้ามกีดกันการว่าจ้างแรงงานเป็ฯต้น เมื่ออกกฏหมายขึ้นใช้บังคับกิจการใดกิจการหนึ่งแล้ว ก็จะต้องจัดตั้งองค์กรส่วนกลางขึ้นเพื่อควบคุมดูแลให้ปฏิบัติตามกฏหมายนั้น ๆ
การวัดระดับการควบคุมธุรกิจอาจทำได้ 2 วิธี คือ
- พิจารณาจำนวนองค์กรใหม่ๆ ที่ตั้งขึ้นมาควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจในแต่ละทศวรรษ หากมีจำนวนมากแสดงวาระดับการควบคุมธุรกิจในช่วงนั้นมีมาก
- พิจารณาจากจำนวนร่างรัฐบัญญัติหรือกฏหมายทางเศรษฐกิจหลัก ๆ ที่สภาคองเกรสฝ่านให้ประกาศใช้เป็นรัฐบัญญัติได้ หากมีจำนวนมากแสดงว่าการแทรกแซงของรัฐบาลมีมากขึ้น ซึ่งการควบคุมธุรกิจก็คือ การที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงการดำเนินงานของตลาดนั้นเอง
ดังนั้นเมื่อระบบเศรษฐกิจขยายตัว มาตรการที่จะนำมาใช้ควบคุมธุรกิจย่อมเพิ่มขึ้นด้วย ถ้าระบบเศรษฐกิจขยายตัวแต่องค์กรที่ควบคุมดูแลไม่ได้เพิ่มขึ้น แสดงว่าระดัยการควบคุมต่อธุรกิจลดลงหรือเรียกว่า “ดิเรกกูเรชั่น”สำหรับร่างรัฐบัญญัติเศรษฐกิจหลัก ๆ ก็เช่นเดียวกัน ฉะนั้นในระบบเศรษฐกิจที่ขยายตัว มาตรการที่เหมาะสมในการควบคุมธุรกิจก็คือ จำนวนขององค์กรควบคุมที่ตั้งขึ้นใหม่ หรือจำนวนรัฐบัญญัติเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่ประกาศใช้บังคับเพ่มขึ้นในแต่ละทศวรรษ อย่างไรก็ตามก็ควรจะคำนึงถึงองค์กรหรือรัฐบัญญัติที่เลิกล้มหรือเลิกใช้แล้วด้วย
องค์กรควบคุมที่ได้เกิดขึ้นต่อทศวรรษรัฐบาลกลางเริ่มก่อตั้งองค์กรควบคุมส่วนกลางในปี 1836 และในทศวรรษที่ 1860 มีการตั้งองค์กรใหม่ 2 องค์กร ภายหลังสงครามกลางเมืองวงจรได้ชะงักไปและกลับเข้าสูงวงจรปกติโดยพุ่งขึ้นถึงจุดสูงสุดในทศวรรษที่ 1910,1940และ1970 จึงสรุปได้ว่า จากวงจรที่ 1 การขยายตัวขององค์กรควบคุมธุรกิจดำเนินไปเป็นวงจรโดยพุ่งถึงจุดสูงสุดในทุก ๆ 3 รอบทศวรรษ ยกเว้นภายหลังสงครามกลางเมือง
การบัญญัติกฏหมายเกียวกับเศรษฐกิจของรัฐ ฉบับสำคัญๆ ที่ผ่านออกมาต่อทศวรรษ แม้วาก่อนหน้าทศวรรษ 1830 ยังไม่มีการก่อตั้งองค์กรควบคุมธุรกิจแต่สภาคองเกรสได้ผ่านร่างรัฐบัญญัติเศรษฐกิจหลัก ๆ แล้ว นับตั้งแต่สมัยที่ยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษอยู่ ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจอเมริกันอย่างชัดแจ้ง การออกกฏหมายเศรษฐกิจเพื่อควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจ ขึ้นถึงจุดสูงสุดในทุก ๆ 3 ทศวรรษ ยกเว้นช่วงหลังสงครามกลางเมือง เพราะฉะนั้นในช่วงกลางระหว่างจุดสูงสุดเหล่นี้ ก็แสดงถึงระดับของการยกเลิกฏหมายด้วย เนื่องจากรัฐบัญญัติที่ประกาศใช้ในระหว่างสงคราม จะถูกยกเลิกไปเมือสงครามยุติลง จำนวนของรัฐบัญญํติท่ตราขึ้นระหว่างช่วง 10 ปีก็อาจเป็นได้ว่าอัตราเพิ่มของรัฐบัญญัติจะติดลบ เมื่อคำนึกถึงข้อเท็จจริงดังนี้แล้วจะเห็นว่าทศวรรษหลังสงคราม คือ ทศวรรษ 1780,1870,1920และ 1950 เป็นทศวรรษที่แสดงว่าระดับของการยกเลิกกฎหมาย หรือรัฐบัญญัติขึ้ถึงจุดสูสุด ดังนั้นระดับการการยกเลิกกฏหมายจะขึ้นถึงจุดสูงสุดในทุก ๆ 3 ทศวรรษเช่นกัน นับตั้งแต่ก่อตั้งประเทศเรื่อยมา(ยกเว้นช่วงสงครามกลางเมือง)
The Communist Manifesto
ลัทธิมาร์กซิสม์เป็นผลงานร่วมกันของยุคคล 2 คน คือ คาร์ล มาร์กซ์ และฟรีดริช แองเกลส์
คาร์ล มาร์กซ์ เป็นบุตรทนายชาวยิว เกิดที่เมืองแตร์ ประเทศเยอรมันและในระยะต่อมาได้เปลี่ยนศษสนามานับถือศาสนาคริสต์ ขณะที่เป็นักศึกษาในมหาวิทยาลัยในเยอรมันได้ทำงานเป็นักหนังสือพิมพ์ และแสดงข้อคิดเห็นในแง่ที่เร่งเร้าให้ทำการปฏิวัติโจมตีลักาณะการปกครองในขณะนั้ เขาจึงถูกเนรเทศออกจากเยอรมันและไปใช้ชีวิตระยะหนึ่งในฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ในที่สุดไปตั้งหลักแหล่งอยู่ที่ลอนดอน ประเทศอังฏษ เขาได้ใช้เวลาทั้งหมดในการศึกษาค้นคว้าและขียนหนัสือ บทความที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของแนวความคิดสังคมนิยม และขบวนการสหพันธ์กรรมกรในศตวรรษที่ 19
ฟริตริช แองเกลส์ เป็นชาวอังกฤษเกิดในตระกูลชนชั้นกลางที่มีฐานะมั่งคั่งเขาเป็นเจ้าของอุตสาหกรรมทอผ้าและโรงงานทอผ้าหลายแหงในประเทศอังกฤษ แองเกิส์เป็นผู้หนึ่งที่สนใจในแนวความคิดแบบสังคมนิยม เป็นผู้ที่ให้เงินอุดหนุนและถุปถัมภ์มาร์กซ์ตลอดเวลาและยังได้ร่วมมือในการเขียนหนังสือกับมาร์กซ์ด้วย
ผลงานที่ทั้งสองเขียนด้วยกันคือ แถลงการณ์คอมมิวนิสต์ ตีพิมพ์ในปี 1848 จัดได้ว่าเป็นผลงานชิ้นหนึ่งที่มีอิทิพลต่อลัทธิสัคมนิยมมากที่สุด แต่ส่วนใหญ่มุ่งในการโฆษณาในเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิวัติ โครงสร้างของลัทธิเศรษฐกิจของมาร์กซ์อธิบายอย่างละเอียดในหนังสือ The Capital ซึ่งมีทั้งหมด 3 เล่ม จัดพิมพ์โดยแองเกลส์ในปี 1867,1893,และ1894 แนวคิดของมาร์กซ์อาจจะสรุปออกเป็นน 4 ด้าน คือ
-ปรัชญาทั่วไป ของปรากฎการณ์ทุกประการ
-ทฤษฏีประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
-การวิจารณ์ระบบนายทุน
-การทำนายพัฒนาการสังคมของมนุษย์ในอนาคตที่จะไปสู่ความสมบูรณ์แบบที่แท้จริง
อุดมการณ์ของลัทธิมาร์กซิสม์ มีดังนี้
- ประชาชนต้องทำงานเพื่อสังคมตามคามสามรถของตน และควรได้รับการตอบแทนด้วยผลผลิตแห่งงานของตนตามความจำเป็นของตน
- เอกชนไม่ควรมีกรรมสิทธ์ในทรัพย์สิน
- เพื่อประโยชน์ของลัทธิคอมมิวนิสต์นี้ งานสมองก็ด งานฝีมือก็ดี ถือว่ามีความสำคัญในระดับเดียวกัน
ตามปรัชญาของมาร์กซ์ ถือว่าเศรษฐกิจเป็นเครื่องกำหนดความรู้สึกนึกคิดและสภาวะความเป็นอยู่ของมนุษย์ นั่งคือเศรษฐกิจเป็นเครื่องกำหนด ซึ่งรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นปรากฎการณ์ของมนุษยชาติ ก็คือการต่อสู่ของชนชั้น ความขัดแย้งระหว่างผู้เอารัดเอาเปรียบและผู้ถูกเอาเปรียบในทุกสังคม
ตามทฤษฏีพัฒนาการเศรษฐกิจของมาร์กซ์ ระบบเศรษฐกิจและสังคมในประวัติศาสตร์อาจแบ่งออกเป็น 5 พน่
1 สังคมแรกเริ่ม เป้นสังคมที่บุคคลในสังคมจะถูกบังคับให้อยู่ร่วมกัน เป็นเจ้าของร่วมกัน ทำมาหากินร่วมกัน
2 สังคมที่มีการใช้ทาส สังคมนี้วิวัฒนาการมาจากสังคมแรกเริ่ม เป็นสังคมทาส การผลิตมีลักษณะเป็นการประกอบการส่วนตัว มีทั้งการทำงานดดยตนเองและโดยการใช้ทาส คนในสังคมแบ่งเป็น 2 ชั้น คือ เจ้าของทุนและทาส การขัดแย้งระหว่าบุคคลสองชั้นเป็นจุดอ่อนของสังคม และสังคมนี้สิ้นสุดลงเพราะการต่อสู้ระหว่าชน 2 ชั้นนี้
3 สังคมระบบศักดินา ที่ดินเป็นหลักสำคัญของสังคมแบบนี้ ชาวนาเป็นผู้ผลิต ผู้เป็นเจ้าของคือพวกขุนนางเจ้าของที่ดินซึ่งเป็นชนชั้นปกครอง ยิ่งกว่านั้นความเจริญทางด้านการผลิตได้ก้าวหน้าไปอย่ารวดเร็วเพราะมีการปฏิวัติอตสาหกรรมในศตวรรษที่ 18 และ 19 จึงเกิดมีเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งถือว่าเป็นชนชั้นใหม่ในสังคมและถือว่าเป็นนายทุนในสังคมนี้จึงมีการต่อสู้ระหว่างนายทุนหรือพวกขุนนางกับคนงานหรือพวกไพร่ จึงเป็นเหตุให้สังคมนี้เปลี่ยนไปเป็นสังคมนายทุนเร็วขึ้น
4 สังคมนายทุนหรือระบบทุนนิยม ในสังคมนี้มีชน 2 ชั้น คือชนชั้นกรรมาชีพ และชนชั้นนายทุน นายทุนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ชนชั้นกรรมาชีพคือคนงานที่ทำงานเพื่อรับค่าจ้างโดยขายแรงงาน ทุนจะอยู่ในมือของคนส่วนน้อยคือนายทุน ผลประโยชน์ของนายทุนคือกำไร ซึ่งพวกสังคมนิยมถือว่าเป็นการขูดรีดดังนั้นในสงคมนี้จะเกิดการต่อสู่ระหว่างชน 2 ชั้นอย่างรุนแรง
5 ลัทธิสังคมนิยม คลุมไปถึงลัทธิคอมมิวนิสม์ ผู้ที่เป็นเจ้าของเครื่องมือในการผลิตคือสังคม ชนชันปกครองคือสังคมซึ่งหมายถึงประชาชนทั้งหมด ในงคมนี้ชนชั้นที่ทำงานทั้งหลายจะโค่นระบบนายทุน และพวกรรมกรขึ้นปกครอง ไม่มีการต่อสู้ระหวางชนชั้นเพราะไม่มีชนชันอีกต่อไป
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสม์ซึ่งเป็นวิวัฒนาการขั้นสุดท้าย เพราะไม่มีการต่อสู้ระหว่างชนชั้น เป็นระบบที่ไม่มีชนชั้น แต่อย่างไรก็ตามก่อนการเปลี่ยนแปลงจากระบบนายทุนเป็นสังคมนิยม การ์กซ์เห็นว่าควรมีความเจรญในทางอุตสาหกรรมก่อน เพราะการอุตสาหกรรมจะช่วยให้กรรมกรและคนงานรวมตัวกันได้มันคงและภายใต้ระบบทุนนิยม สุดท้ายกลำกการดำเนินงานของระบบทุนนิยมเองจะเป็นสิ่งที่ทำลายระบบทุนนิยม
ทฤษฏีทางเศรษฐกิจ ที่มาร์กใช้นำมาอธิบายว่าระบบนายทุนทำลายตนเอง ก็คือทฤษฏีมูลค่าส่วนเกิน และทฤษฏีมูลค่าของแรงงาน ในความคิดของมาร์กซ์เห็นว่าสิ่งของจะมีค่าหรือไม่ขึ้นอยู่กับ 2 ประการคือ
1 ของนั้นมีประโยชนหรือไม่ เป็นิ่งที่ต้องการหรือเปล่า
2 ของนั้นต้องใช้แรงงานในการผลิตหรือไม่
ทฤษฏีเศรษฐกิจของมาร์กซ์ ย้ำว่าคุณค่าของสิ่งของและสินค้าต่าง ๆ เกิดขึ้นจากแรงงาน และระบบเศรษฐกิจในเวลาหนึ่ง ๆ สามรถผลิตได้มูลค่าเกินกว่าความจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของคนงานและมูลค่าของวัตถุดิบและทุนที่ในการผลิตนั้น ๆ มาร์กซ์เรียกส่วนเกินนี้ว่า surplus value หรือมูลค่าที่ผลิตได้เกิน ซึ่งส่สนนี้จะตกเป็นของนายทุน นอกไปจากนี้การแข่งขันกันเองทไห้นายทุนต้องสะสมทุนมากขึ้น ขณะเดียวกันการสะสมทุนมากขึ้นทำให้ทุนมารวมกันอยู่ในมือนายทุนไม่กี่คน นายทุนซึ่งแข่งขันสู้ไม่ได้ก็จะสลายตัวกลายเป็นชนชันกรรมาชีพไปนอกจากนี้จากการนำเอาเทคนิคใหม่ ๆ หรือเครื่องจักรมาใช้ ทำใหใช้แรงงานน้อยลก่อนให้เกิดคนว่างงานมากขึ้น นายทุนก็สามารถต่อรองลดค่าจ้างของกรรมกรลงไปอีก ทำให้กรรมกรได้รับความทุกข์ยาก เมื่อถึงจุดหนึ่งพวกกรรมกรก็จะรวมกันโค่นพวกนายทุน
จากแนวคิดดังกล่าวจะเห็นได้ว่า มาร์กซ์ได้อธิบายถึงการดำเนินการเศรษฐกิจในรูปแบบทีเรียกว่าเศรษฐกิจสังคมนิยม โดยเพ่งเล็งถึงการขัดแย้งภายในของระบบนายทุน ซึ่งในที่สุดจะนำไปสู่จุดจบและแทนที่ด้วยสังคมนิยมอันเป็นรูปแบบที่ดีที่สุดขององค์กรทางเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ตามมาร์กซ์ก็ไม่ได้สาธิตระบบหรือแบบของสังคมนิยมที่เขาเห็นว่าดีเยียมไว้อย่างชัดแจ้ง รวมทั้งวิธีการที่จะจัดการกับระบบเศรษฐกิจดังกล่าวนี้
อันที่จริงแล้วสภาพของรัศเซียนั้นแตกต่างจากทฤษฏีของมาร์กซ์ มาร์กซ์เองก็ไม่เคยคิดว่ารัสเซียจะเป็นประเทศที่ทำการปฏิวัติโค่นล้มระบบนายทุน เพราะรัสเซียยังไม่ก้าวเข้าสู่สังคมนายทุนอย่างสมบูรณ์ และการปฏิวัติบอลเชวิคในปี ค.ศ. 1917 ก็เป็นการปฏิวัติของชนชั้นกลาง ไม่ใช่การปฏิวัติของพวกกรรมกร เพราะว่าในขณะนั้นกรรมกรของรัสเซียยังคงมีน้อย ประชาชนส่วนใหญ๋ของประเทศคือชาวนา ซึ่งเป็นผู้ที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
ลัทธิมาร์กซ์เข้าสู่รัสเซียโดยผ่านทางนักศึกษาและปัญญาชนที่๔กเนรเทศออกจากรัสเซีย และตีพิมพ์แถลงการณ์คอมมิวนิสต์ออกเป็นภาษารัสเซีย ในปี 1860 และ The Capital ในปี 1872 .. ด้วยเหตุนี้ลัทธิมาร์กซ์จึงเป็นที่รู้จักและแพร่หลายในศเว๊ยในปลายศตวรรษที่ 19 นั้นเอง ประกอบกับสถานการณ์ในรัสเซียส่งเสริมให้ความนิยมในมาร์กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการที่อุตสาหรรมขยายตัว จำนนคนงานที่ทำงานในโรงงานเพ่มขึ้น การโฆษณาจึงได้ผล
ช่วงเริ่มแรกก่อนการปฏิวัติในรัฐเซียมีการเคลื่อนไหวจากคน 3 กลุ่ม คือกล่มแรกนั้นส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาและเห็นว่า ระบบการปกครองแบบสังคมนิยมเท่านั้นที่เหมาะกับรัสเซีย รัสเซียสามารถพัฒนาโดยผ่านขั้นตอนศักดินาเข้าสูระบบสังคมนิยมที่เดียว แนวคิดของพวก “นารอดนิค”เกียวกับสังคมนิยม จะเห็นว่าตรงข้ากับความคิดของมาร์กซ์และพวกนักสังคมนิยมในรัสเซียขณะนั้น ซึ่งมีความเนว่าการปฏิวัติไปสู่ระบบสังคมนิยมนั้นจะต้องเป็นไปตามขั้นตอน และผ่านพัฒนาการของระบบนายทุนเสียก่อน ด้วยเตนี้บรรดานักปปฏิวัติในรัสเซียในทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 19 จึงพยายามรวมกลุ่มกรรมกรกอ่น
กลุ่มที่ 2 เพลคานอฟ นับว่าเป็นบิดาของมาร์กซิสม์ในรัสเซีย เขาไม่เห็นด้วยกับพวกนารอดนิค เพนืองจากชาวนนาเป็นกลุ่มอนุรักษ์นิยมของสังคมพื้นฐานอยู่ห่างไกลจากชนชั้นกลางและกรรมกร การปฏิวัติที่จะเกิดขึ้นในรัสเซียระยะแรกจะต้องเป็นการปฏิวัติของพวกนายทุนชนชั้นกลาง ดังนั้นสิ่งสำคัญจะตองทำลายระบบศักดินา และกระตุ้นให้มีการพัฒราอุตสาหกรรม เมื่อสังคมนายทุนพัฒนาไปแล้วก็จะถึงเวลาสำหรับการปฏิวัติของกรรมกร เพลคานอฟเห็นว่ารัสเซียจะต้องผ่านระบบนายทุนก่อนและคนงานอุตาสหกรรมหรือชนชั้นกรรมาชีพ จะเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญมิใช่ชาวนา การต่อสู้จะต้องกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งเสรีภาพทางการเมือง และกรรมกรจะพอใจแต่การต่อสู้ทางเศรษฐกิจอย่างเดียวมิได้ นั้นคือจะต้องทำการปฏิวัตินายทุนในรัสเซียเสียก่อนเมื่อระบบทุนนิยมพัฒนาแล้ว จงจะมีการปฏิวัติสังคมนิยมหรือการปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ และเพลคานอฟ ก็เป็นผู้จัดตั้งหรือเป็นผุ้นำกลุ่มองค์การปลดปล่อยกรรมกร
บุคคลสำคัญอีกท่านหนึ่งที่เห็นด้วยกับเพลคานอฟคือ วลาดิมีร์ อิลลิช อุลิยานอฟ หรือ “เลนิน” ผู้ซึ่งต่อมาเป็นผู้นไของบอลเชวิค เขาได้เข้าร่วมมือกับมาร์ตอฟ จัดตั้ง “สหภาพการต่อสู้เพื่อการปลดแอกชนชั้นคนงานแห่งเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก”เพื่อเผยแพร่แนวความคิดของมร์กซ์ในหมู่กรรมกร ในที่สุดเขาถูกเนรเทศไปอยู่ไซบีเรีย ในช่วงเวลานี้เขาใช้เวลารวบรวมเอกสารต่าง ๆ เขียนหนังสือการพัฒนาระบบนายทุนในรัสเซีย ซึ่งเป็นหนังสือที่โจมตีพวกปอปปูลิสต์และยืนยันว่านายทุนตามแบบยุโรปตะวันตกได้เกิดขึ้นแล้วในรัสเซียอันเป็นสภาวะการณ์ที่สำคัญของการพัฒนาทางสังคมที่มาร์กซ์ได้ทำนายไว้
สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่เลนินได้ขยายเพ่มเติมลัทธิมาร์กซืและมีอิทธพลต่อสังคมนิยมรัสเซียในปัจจุบันคือ แนวความคิดของเขาในจุลสารที่ระบุว่าประมาณ ปี 1900 ระบบนายทุนในยุโรปและอเมริกาจะเข้าสู่ก้าวใหม่นั้คือระบบจักรวรรดินิยม หรือการผูกขาดของระบบนายทุน ซึ่งจะเข้าแทนที่ระบบการแข่งขันดดยเสรีที่ดำเนินอยู่ ผลิตผลจะมีจำนวนมากขึ้น และอยู่ในกำมือของผุ้ลทุนที่มีเงินทุนมากจำนวนไม่กี่ราซึงจะก่อให้เกิดระบอบคณาธิปไตยทางการเงนิ ซึ่งจะเป็นผู้ควบคุมวิธีการ การดำเนินงานตลอดทั้งโครงสร้างของผลผลิตต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจอันสลับซับซ้อน โดยผ่านทางการเข้าควบคุมธนคารซึ่งเป็นผู้กษาและเป็นผุ้ตัดสินใจในการจัดจหน่ายเงินทุนและสินเชื่อที่ยอมให้เพาะผุ้ผลิตบางคน และอาจจะปกิเสธกับบางคน ซึ่งเมื่อถึงขึ้นนี้แล้วก็เป็นการแยกให้เห็นชัดว่าเป็นผู้ที่มีเงินทุนและผู้ที่ไม่มีเงินทุน…
แนวคิดของเลนินเกี่ยวกับการจัดการเศรษฐกิจภายในของรัฐสังคมนิยมเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง และจัดว่าเป็นระยะเริ่มต้นของระบอบคอมมิวนิสต์ที่ถือว่า ประชาชนทุกคนจะต้องเปลี่ยนไปเป็นลูกจ้างและคนงานของรัฐในรูปของ ซินดิเคท ซึ่งถือว่ากรรมกรเป็นผู้ควบคุมอุตสาหกรรมของประเทศรวมทั้งการกระจายรายได้และการบริโภค ซึ่งในรูปนี้ทุกคนจะทำงานเท่ากันและทำงานในส่วนของตนเป็นประจำและรับค่าจ้าเท่ากัน วิธีการจัดระบบเศรษฐกิจแบบนี้เป็นหลักการที่ดำเนินในสหภาพโซเวียตภายหลังจากการปฏิวัติในปี 1917
……
คาร์ล มาร์กซ์ เป็นบุตรทนายชาวยิว เกิดที่เมืองแตร์ ประเทศเยอรมันและในระยะต่อมาได้เปลี่ยนศษสนามานับถือศาสนาคริสต์ ขณะที่เป็นักศึกษาในมหาวิทยาลัยในเยอรมันได้ทำงานเป็นักหนังสือพิมพ์ และแสดงข้อคิดเห็นในแง่ที่เร่งเร้าให้ทำการปฏิวัติโจมตีลักาณะการปกครองในขณะนั้ เขาจึงถูกเนรเทศออกจากเยอรมันและไปใช้ชีวิตระยะหนึ่งในฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ในที่สุดไปตั้งหลักแหล่งอยู่ที่ลอนดอน ประเทศอังฏษ เขาได้ใช้เวลาทั้งหมดในการศึกษาค้นคว้าและขียนหนัสือ บทความที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของแนวความคิดสังคมนิยม และขบวนการสหพันธ์กรรมกรในศตวรรษที่ 19
ฟริตริช แองเกลส์ เป็นชาวอังกฤษเกิดในตระกูลชนชั้นกลางที่มีฐานะมั่งคั่งเขาเป็นเจ้าของอุตสาหกรรมทอผ้าและโรงงานทอผ้าหลายแหงในประเทศอังกฤษ แองเกิส์เป็นผู้หนึ่งที่สนใจในแนวความคิดแบบสังคมนิยม เป็นผู้ที่ให้เงินอุดหนุนและถุปถัมภ์มาร์กซ์ตลอดเวลาและยังได้ร่วมมือในการเขียนหนังสือกับมาร์กซ์ด้วย
ผลงานที่ทั้งสองเขียนด้วยกันคือ แถลงการณ์คอมมิวนิสต์ ตีพิมพ์ในปี 1848 จัดได้ว่าเป็นผลงานชิ้นหนึ่งที่มีอิทิพลต่อลัทธิสัคมนิยมมากที่สุด แต่ส่วนใหญ่มุ่งในการโฆษณาในเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิวัติ โครงสร้างของลัทธิเศรษฐกิจของมาร์กซ์อธิบายอย่างละเอียดในหนังสือ The Capital ซึ่งมีทั้งหมด 3 เล่ม จัดพิมพ์โดยแองเกลส์ในปี 1867,1893,และ1894 แนวคิดของมาร์กซ์อาจจะสรุปออกเป็นน 4 ด้าน คือ
-ปรัชญาทั่วไป ของปรากฎการณ์ทุกประการ
-ทฤษฏีประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
-การวิจารณ์ระบบนายทุน
-การทำนายพัฒนาการสังคมของมนุษย์ในอนาคตที่จะไปสู่ความสมบูรณ์แบบที่แท้จริง
อุดมการณ์ของลัทธิมาร์กซิสม์ มีดังนี้
- ประชาชนต้องทำงานเพื่อสังคมตามคามสามรถของตน และควรได้รับการตอบแทนด้วยผลผลิตแห่งงานของตนตามความจำเป็นของตน
- เอกชนไม่ควรมีกรรมสิทธ์ในทรัพย์สิน
- เพื่อประโยชน์ของลัทธิคอมมิวนิสต์นี้ งานสมองก็ด งานฝีมือก็ดี ถือว่ามีความสำคัญในระดับเดียวกัน
ตามปรัชญาของมาร์กซ์ ถือว่าเศรษฐกิจเป็นเครื่องกำหนดความรู้สึกนึกคิดและสภาวะความเป็นอยู่ของมนุษย์ นั่งคือเศรษฐกิจเป็นเครื่องกำหนด ซึ่งรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นปรากฎการณ์ของมนุษยชาติ ก็คือการต่อสู่ของชนชั้น ความขัดแย้งระหว่างผู้เอารัดเอาเปรียบและผู้ถูกเอาเปรียบในทุกสังคม
ตามทฤษฏีพัฒนาการเศรษฐกิจของมาร์กซ์ ระบบเศรษฐกิจและสังคมในประวัติศาสตร์อาจแบ่งออกเป็น 5 พน่
1 สังคมแรกเริ่ม เป้นสังคมที่บุคคลในสังคมจะถูกบังคับให้อยู่ร่วมกัน เป็นเจ้าของร่วมกัน ทำมาหากินร่วมกัน
2 สังคมที่มีการใช้ทาส สังคมนี้วิวัฒนาการมาจากสังคมแรกเริ่ม เป็นสังคมทาส การผลิตมีลักษณะเป็นการประกอบการส่วนตัว มีทั้งการทำงานดดยตนเองและโดยการใช้ทาส คนในสังคมแบ่งเป็น 2 ชั้น คือ เจ้าของทุนและทาส การขัดแย้งระหว่าบุคคลสองชั้นเป็นจุดอ่อนของสังคม และสังคมนี้สิ้นสุดลงเพราะการต่อสู้ระหว่าชน 2 ชั้นนี้
3 สังคมระบบศักดินา ที่ดินเป็นหลักสำคัญของสังคมแบบนี้ ชาวนาเป็นผู้ผลิต ผู้เป็นเจ้าของคือพวกขุนนางเจ้าของที่ดินซึ่งเป็นชนชั้นปกครอง ยิ่งกว่านั้นความเจริญทางด้านการผลิตได้ก้าวหน้าไปอย่ารวดเร็วเพราะมีการปฏิวัติอตสาหกรรมในศตวรรษที่ 18 และ 19 จึงเกิดมีเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งถือว่าเป็นชนชั้นใหม่ในสังคมและถือว่าเป็นนายทุนในสังคมนี้จึงมีการต่อสู้ระหว่างนายทุนหรือพวกขุนนางกับคนงานหรือพวกไพร่ จึงเป็นเหตุให้สังคมนี้เปลี่ยนไปเป็นสังคมนายทุนเร็วขึ้น
4 สังคมนายทุนหรือระบบทุนนิยม ในสังคมนี้มีชน 2 ชั้น คือชนชั้นกรรมาชีพ และชนชั้นนายทุน นายทุนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ชนชั้นกรรมาชีพคือคนงานที่ทำงานเพื่อรับค่าจ้างโดยขายแรงงาน ทุนจะอยู่ในมือของคนส่วนน้อยคือนายทุน ผลประโยชน์ของนายทุนคือกำไร ซึ่งพวกสังคมนิยมถือว่าเป็นการขูดรีดดังนั้นในสงคมนี้จะเกิดการต่อสู่ระหว่างชน 2 ชั้นอย่างรุนแรง
5 ลัทธิสังคมนิยม คลุมไปถึงลัทธิคอมมิวนิสม์ ผู้ที่เป็นเจ้าของเครื่องมือในการผลิตคือสังคม ชนชันปกครองคือสังคมซึ่งหมายถึงประชาชนทั้งหมด ในงคมนี้ชนชั้นที่ทำงานทั้งหลายจะโค่นระบบนายทุน และพวกรรมกรขึ้นปกครอง ไม่มีการต่อสู้ระหวางชนชั้นเพราะไม่มีชนชันอีกต่อไป
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสม์ซึ่งเป็นวิวัฒนาการขั้นสุดท้าย เพราะไม่มีการต่อสู้ระหว่างชนชั้น เป็นระบบที่ไม่มีชนชั้น แต่อย่างไรก็ตามก่อนการเปลี่ยนแปลงจากระบบนายทุนเป็นสังคมนิยม การ์กซ์เห็นว่าควรมีความเจรญในทางอุตสาหกรรมก่อน เพราะการอุตสาหกรรมจะช่วยให้กรรมกรและคนงานรวมตัวกันได้มันคงและภายใต้ระบบทุนนิยม สุดท้ายกลำกการดำเนินงานของระบบทุนนิยมเองจะเป็นสิ่งที่ทำลายระบบทุนนิยม
ทฤษฏีทางเศรษฐกิจ ที่มาร์กใช้นำมาอธิบายว่าระบบนายทุนทำลายตนเอง ก็คือทฤษฏีมูลค่าส่วนเกิน และทฤษฏีมูลค่าของแรงงาน ในความคิดของมาร์กซ์เห็นว่าสิ่งของจะมีค่าหรือไม่ขึ้นอยู่กับ 2 ประการคือ
1 ของนั้นมีประโยชนหรือไม่ เป็นิ่งที่ต้องการหรือเปล่า
2 ของนั้นต้องใช้แรงงานในการผลิตหรือไม่
ทฤษฏีเศรษฐกิจของมาร์กซ์ ย้ำว่าคุณค่าของสิ่งของและสินค้าต่าง ๆ เกิดขึ้นจากแรงงาน และระบบเศรษฐกิจในเวลาหนึ่ง ๆ สามรถผลิตได้มูลค่าเกินกว่าความจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของคนงานและมูลค่าของวัตถุดิบและทุนที่ในการผลิตนั้น ๆ มาร์กซ์เรียกส่วนเกินนี้ว่า surplus value หรือมูลค่าที่ผลิตได้เกิน ซึ่งส่สนนี้จะตกเป็นของนายทุน นอกไปจากนี้การแข่งขันกันเองทไห้นายทุนต้องสะสมทุนมากขึ้น ขณะเดียวกันการสะสมทุนมากขึ้นทำให้ทุนมารวมกันอยู่ในมือนายทุนไม่กี่คน นายทุนซึ่งแข่งขันสู้ไม่ได้ก็จะสลายตัวกลายเป็นชนชันกรรมาชีพไปนอกจากนี้จากการนำเอาเทคนิคใหม่ ๆ หรือเครื่องจักรมาใช้ ทำใหใช้แรงงานน้อยลก่อนให้เกิดคนว่างงานมากขึ้น นายทุนก็สามารถต่อรองลดค่าจ้างของกรรมกรลงไปอีก ทำให้กรรมกรได้รับความทุกข์ยาก เมื่อถึงจุดหนึ่งพวกกรรมกรก็จะรวมกันโค่นพวกนายทุน
จากแนวคิดดังกล่าวจะเห็นได้ว่า มาร์กซ์ได้อธิบายถึงการดำเนินการเศรษฐกิจในรูปแบบทีเรียกว่าเศรษฐกิจสังคมนิยม โดยเพ่งเล็งถึงการขัดแย้งภายในของระบบนายทุน ซึ่งในที่สุดจะนำไปสู่จุดจบและแทนที่ด้วยสังคมนิยมอันเป็นรูปแบบที่ดีที่สุดขององค์กรทางเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ตามมาร์กซ์ก็ไม่ได้สาธิตระบบหรือแบบของสังคมนิยมที่เขาเห็นว่าดีเยียมไว้อย่างชัดแจ้ง รวมทั้งวิธีการที่จะจัดการกับระบบเศรษฐกิจดังกล่าวนี้
อันที่จริงแล้วสภาพของรัศเซียนั้นแตกต่างจากทฤษฏีของมาร์กซ์ มาร์กซ์เองก็ไม่เคยคิดว่ารัสเซียจะเป็นประเทศที่ทำการปฏิวัติโค่นล้มระบบนายทุน เพราะรัสเซียยังไม่ก้าวเข้าสู่สังคมนายทุนอย่างสมบูรณ์ และการปฏิวัติบอลเชวิคในปี ค.ศ. 1917 ก็เป็นการปฏิวัติของชนชั้นกลาง ไม่ใช่การปฏิวัติของพวกกรรมกร เพราะว่าในขณะนั้นกรรมกรของรัสเซียยังคงมีน้อย ประชาชนส่วนใหญ๋ของประเทศคือชาวนา ซึ่งเป็นผู้ที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
ลัทธิมาร์กซ์เข้าสู่รัสเซียโดยผ่านทางนักศึกษาและปัญญาชนที่๔กเนรเทศออกจากรัสเซีย และตีพิมพ์แถลงการณ์คอมมิวนิสต์ออกเป็นภาษารัสเซีย ในปี 1860 และ The Capital ในปี 1872 .. ด้วยเหตุนี้ลัทธิมาร์กซ์จึงเป็นที่รู้จักและแพร่หลายในศเว๊ยในปลายศตวรรษที่ 19 นั้นเอง ประกอบกับสถานการณ์ในรัสเซียส่งเสริมให้ความนิยมในมาร์กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการที่อุตสาหรรมขยายตัว จำนนคนงานที่ทำงานในโรงงานเพ่มขึ้น การโฆษณาจึงได้ผล
ช่วงเริ่มแรกก่อนการปฏิวัติในรัฐเซียมีการเคลื่อนไหวจากคน 3 กลุ่ม คือกล่มแรกนั้นส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาและเห็นว่า ระบบการปกครองแบบสังคมนิยมเท่านั้นที่เหมาะกับรัสเซีย รัสเซียสามารถพัฒนาโดยผ่านขั้นตอนศักดินาเข้าสูระบบสังคมนิยมที่เดียว แนวคิดของพวก “นารอดนิค”เกียวกับสังคมนิยม จะเห็นว่าตรงข้ากับความคิดของมาร์กซ์และพวกนักสังคมนิยมในรัสเซียขณะนั้น ซึ่งมีความเนว่าการปฏิวัติไปสู่ระบบสังคมนิยมนั้นจะต้องเป็นไปตามขั้นตอน และผ่านพัฒนาการของระบบนายทุนเสียก่อน ด้วยเตนี้บรรดานักปปฏิวัติในรัสเซียในทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 19 จึงพยายามรวมกลุ่มกรรมกรกอ่น
กลุ่มที่ 2 เพลคานอฟ นับว่าเป็นบิดาของมาร์กซิสม์ในรัสเซีย เขาไม่เห็นด้วยกับพวกนารอดนิค เพนืองจากชาวนนาเป็นกลุ่มอนุรักษ์นิยมของสังคมพื้นฐานอยู่ห่างไกลจากชนชั้นกลางและกรรมกร การปฏิวัติที่จะเกิดขึ้นในรัสเซียระยะแรกจะต้องเป็นการปฏิวัติของพวกนายทุนชนชั้นกลาง ดังนั้นสิ่งสำคัญจะตองทำลายระบบศักดินา และกระตุ้นให้มีการพัฒราอุตสาหกรรม เมื่อสังคมนายทุนพัฒนาไปแล้วก็จะถึงเวลาสำหรับการปฏิวัติของกรรมกร เพลคานอฟเห็นว่ารัสเซียจะต้องผ่านระบบนายทุนก่อนและคนงานอุตาสหกรรมหรือชนชั้นกรรมาชีพ จะเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญมิใช่ชาวนา การต่อสู้จะต้องกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งเสรีภาพทางการเมือง และกรรมกรจะพอใจแต่การต่อสู้ทางเศรษฐกิจอย่างเดียวมิได้ นั้นคือจะต้องทำการปฏิวัตินายทุนในรัสเซียเสียก่อนเมื่อระบบทุนนิยมพัฒนาแล้ว จงจะมีการปฏิวัติสังคมนิยมหรือการปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ และเพลคานอฟ ก็เป็นผู้จัดตั้งหรือเป็นผุ้นำกลุ่มองค์การปลดปล่อยกรรมกร
บุคคลสำคัญอีกท่านหนึ่งที่เห็นด้วยกับเพลคานอฟคือ วลาดิมีร์ อิลลิช อุลิยานอฟ หรือ “เลนิน” ผู้ซึ่งต่อมาเป็นผู้นไของบอลเชวิค เขาได้เข้าร่วมมือกับมาร์ตอฟ จัดตั้ง “สหภาพการต่อสู้เพื่อการปลดแอกชนชั้นคนงานแห่งเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก”เพื่อเผยแพร่แนวความคิดของมร์กซ์ในหมู่กรรมกร ในที่สุดเขาถูกเนรเทศไปอยู่ไซบีเรีย ในช่วงเวลานี้เขาใช้เวลารวบรวมเอกสารต่าง ๆ เขียนหนังสือการพัฒนาระบบนายทุนในรัสเซีย ซึ่งเป็นหนังสือที่โจมตีพวกปอปปูลิสต์และยืนยันว่านายทุนตามแบบยุโรปตะวันตกได้เกิดขึ้นแล้วในรัสเซียอันเป็นสภาวะการณ์ที่สำคัญของการพัฒนาทางสังคมที่มาร์กซ์ได้ทำนายไว้
สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่เลนินได้ขยายเพ่มเติมลัทธิมาร์กซืและมีอิทธพลต่อสังคมนิยมรัสเซียในปัจจุบันคือ แนวความคิดของเขาในจุลสารที่ระบุว่าประมาณ ปี 1900 ระบบนายทุนในยุโรปและอเมริกาจะเข้าสู่ก้าวใหม่นั้คือระบบจักรวรรดินิยม หรือการผูกขาดของระบบนายทุน ซึ่งจะเข้าแทนที่ระบบการแข่งขันดดยเสรีที่ดำเนินอยู่ ผลิตผลจะมีจำนวนมากขึ้น และอยู่ในกำมือของผุ้ลทุนที่มีเงินทุนมากจำนวนไม่กี่ราซึงจะก่อให้เกิดระบอบคณาธิปไตยทางการเงนิ ซึ่งจะเป็นผู้ควบคุมวิธีการ การดำเนินงานตลอดทั้งโครงสร้างของผลผลิตต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจอันสลับซับซ้อน โดยผ่านทางการเข้าควบคุมธนคารซึ่งเป็นผู้กษาและเป็นผุ้ตัดสินใจในการจัดจหน่ายเงินทุนและสินเชื่อที่ยอมให้เพาะผุ้ผลิตบางคน และอาจจะปกิเสธกับบางคน ซึ่งเมื่อถึงขึ้นนี้แล้วก็เป็นการแยกให้เห็นชัดว่าเป็นผู้ที่มีเงินทุนและผู้ที่ไม่มีเงินทุน…
แนวคิดของเลนินเกี่ยวกับการจัดการเศรษฐกิจภายในของรัฐสังคมนิยมเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง และจัดว่าเป็นระยะเริ่มต้นของระบอบคอมมิวนิสต์ที่ถือว่า ประชาชนทุกคนจะต้องเปลี่ยนไปเป็นลูกจ้างและคนงานของรัฐในรูปของ ซินดิเคท ซึ่งถือว่ากรรมกรเป็นผู้ควบคุมอุตสาหกรรมของประเทศรวมทั้งการกระจายรายได้และการบริโภค ซึ่งในรูปนี้ทุกคนจะทำงานเท่ากันและทำงานในส่วนของตนเป็นประจำและรับค่าจ้าเท่ากัน วิธีการจัดระบบเศรษฐกิจแบบนี้เป็นหลักการที่ดำเนินในสหภาพโซเวียตภายหลังจากการปฏิวัติในปี 1917
……
วันพุธที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Dictatorship
ระบอบเผด็จการ หมายถึงการปกครองแบบอัตตาธิปไตย ซึ่งรัฐบาลอยู่ภายใต้การบริหารของบุคคลเพียงคนเดียว หรือ ผู้เผด็จการ โดยไม่มีการสืบทอดตำแหน่างตามสายเลือด
เผด็จการ หมายถึง
- ผู้เผด็จการของสาธารณรัฐโรมัน ซึ่งมีอำนาจปกครองเบ็ดเสร็จในยามฉุกเฉินของบ้านเมืองซึ่งอำนาจจากการใช้ตำแหน่งดังกล่าวไม่ต้องมีเหตุผลหรือไม่ต้องรับผิดชอบแต่อย่างได มีอำนาจอยู่เหนือกฎหมาย และถือว่าการกระทำทั้งหมดนั้นไม่ผิดกฏหมายย้อนหลัง
- รัฐบาลซึ่งปกครองโดยบุคคลเพียงคนเดียว หรือคณะบุคคลเพียงส่วนน้อย
- หรืออาจหมายถึง การปกครองซึ่งรัฐบาลมีอำนาจเด็ดขาด ไม่ถูกจำกัดโดยกฎหมาย รัฐธรรมนูญ หรือปัจจัยทางสังคมหรือการเมืองอืนภายในรัฐนั้น
Military dictatorship คือ รูปแบบการปกครองที่อำนาจทางการเมืองขึ้นอยู่กับกองทัพ โดยถือว่าเป็นการปกครองในระบอบเผด็จการอำนาจนิยม ซึ่งเป็นการจำกัดสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน
รัฐบาลเผด็จการทหารส่วนมากจัดตั้งหลังจากรัฐประหาร ซึ้งล้มล้างอำนาจรัฐบาลชุดก่อนหน้า ตัวอยางที่แตกต่างออกไป คือ การปกครองในสมัยของ ซัดดัม ฮุสเซน ซึ่งเริ่มจากรัฐที่ปกครองโดย รัฐบาลพรรคเดียว โดย พรคคบะอัธ แต่เมืองเวลาผ่านไปรัฐบาลดังกล่าวเปลี่ยนเป็นเผด็จการทหาร
ในอดีต เผด็จการทหารมักจะอ้างความชอบธรมให้แก่พวกเขาเองว่าเป็ฯการสร้างความสมานฉันท์แกติ และช่วยชาติให้พ้นจากภัยคุกคามของ “อุดมการณ์ที่อันตราย”อันเป็นการสร้างการข่มขวัญ ในละตินอเมิรกา ภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ และทุนนิยม ถูกนำเป็นข้ออ้างในการรัฐประหาร คณะทหารมักจะกล่าวว่าพวกเขาเป็นพวกไม่ฝักใฝ่พรรคการเมืองใด เป็นคณะที่มีความเป็นกลาง สามารถจัดการกับความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในระยะเวลสั้น ไ ได้ และกล่าวว่านักการเมืองที่มาจากปรระชาชนนั้นคดโกงและไร้ประสิทธิภาพ ลักษณะร่วมประการหนึ่งของรัฐบาลทหารคือการประกาศใช้กฏอัยการศึก หรือการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
รัฐบาลทหารมักจะไม่เคารพต่อสิทธิมนุษยชน และมักใช้วิธีการปิดปากศัตรูทางการเมืองรัฐบาลทหารมักจะไม่คืนอำนาจจนกว่าจะมีการปฏิวัติโดยประชาชน
Fascism ลัทธิฟาสซิสต์ เป็นชาติ-อำนาจมูลวิวัติอย่างหนึ่ง นักฟาสซิสต์มุ่งรวมชาติของตนผ่านรัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ ที่ระดมชุมชนแห่งชาติชนานใหญ่ผ่านวินัย การปลูกผังความเชื่อและการฝึกฝนทางกายภาพ ลัทธิฟาสซิสต์ใช้พรรคการเมืองแนวหน้า ในการริเริ่มการปฏิวัติเพื่อจัดระเบียบชาติตามหลักการลัธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์มองการปฏิบัติโดยตรงรวมถึงความรุนแรงทางการเมืองและสงคราม ว่าเป็นวิธีการบรรลุการคืนพลัง เจตนารมณ์และชีวิตนิยมของชาติ
Despotism ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด เป็นระบอบการปกครองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เริ่มจากการรมมกลุ่มของมนุษย์ ดดยให้บุคคลเพียงคนเดียวหรือกลุ่มบุคลเป็นผู้มีอำนาจปกครองกลุ่ม โดยมีอำนาขอย่างสมบูรณ์ในระบอบของตน
แนวคิดหลักคือ อำนาจอธิปไตยอยู่ในมือของคนคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลขนาดเล็ก โดยอาจเป็นได้ทั้งการปกครองแบบทรราช ซึ่งใช้อำนาจปราบปรามและลงโทษผู้อยู่ใต้การปกครองหรือการปกครองแบบเบ็ดเนร็จซึ่งผู้ปกครองอยู่เหนือกฎหมายใด ๆ
การปกครองแบบราชาธิปไตยซึ่งพระมหากาตริย์มีพระราชอำนาจเต็มและอยู่เหนือกฎหมายี้นเป็นระบอบเผด็จการแบบหนึ่ง แต่มองเตสกีเยอ ได้ระบุถึงความแตกต่าระหว่างระบอบทั้งสองว่า ระบอบราชาธิปไตยใช้อำนาจแบบเปบ็ดเสร็จโดยการตราและแก้ไขกฎหมายขณะที่ระบอบเผด็จการจะใช้อำนาจตามใจตน
แนวคิดเผด็จการ
- เผด็จการในฐานะที่เป็นแนวคิดทางการเมือง ที่เชื่อว่ารัฐเป็นเสมือนพระเจ้าที่เพียบพร้อม รํบเป็นผู้ถ่ายทอดความดีงามให้แก่ประชาชน ดังนั้นประชาชนจึงมีหน้าที่ที่จะต้องเชื่อฟังปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐยอมตนให้กับัฐโดยปราศจากเงื่อไข ผู้ผู้นำคือตัวแทนของรัฐในการออกคำสั่งให้ประชาชนปฏิบัติตาม อุดมการณ์เผด็จการนั้นมัอ้างว่าผู้นำเป็นผู้มีลักษณะพิเศษ เช่น สามารถล่วงรู้เจตนาราณ์ของประชาชนได้ การกรทำของผู้นำจึงเป็นการกระทำไปตามเจตนารมณ์ของประชาชน ผู้นำจึงอยู่ในฐานะที่ทำอะไรก็ไม่ผิด เป็นต้น
- เผด็จการในฐานที่เป็นรูปแบบการปกครอง โดยทั่วไป หมายถึง ระบอบรวมอำนาของผุ้ปกคอรงที่ต้องการอำนาจและสามารถยึดอำนาจรัฐไว้ได้ ส่วนใหญ่มักจะใช้วีธีการรุนแรง เช่น การทำรัฐประหาร กุมกองกำลังทหารตำตวจ และใช้ข่มขู่ สร้างความหวาดกลัวต่อผุ้คิดจะต่อต้าน ออกกฏหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน..
-เผด็จการในฐานที่เป็นวิถีชีวิต หมายถึง แนวความคิด ความเชื่อ ค่านิยม ตลอดจนแนวปฏิบัติของคนในสังคมใด ๆ ซึ่งอาจเป็นสังคมประชาธิปไตยก็ได้ พวกนี้เชื่อว่าคนเราเกิดมาแต่ละคนจะมีความแตกต่างกันในทุกด้านผู้ที่ด้อยกว่าจำเป็นต้องเชื่อฟังและปฏิบัติตามผู้ที่เหนือกวา ทั้งนี้เพื่อที่จะให้สังคมสามารถอยู่รอดปลอดภัยและก้าวหน้า ซึ่งจะพยายามไม่ให้มีความขัดแย้งในสังคม และจะนิยมใช้อำนาจในการกำจัดข้อขัดแย้งซึ่งเสมือนเป็นตัวบ่อนทำลายเสถียรภาพของสนังคมมากกว่าการใช้วิธีการประนีประนอม
ลักษณะสำคัญของเผด็จการ
ลัทธิเผด็จการไม่เห็นความสำคัญของความเสมอภาคหรือไม่เชื่อว่าบุคคลมีความเท่าเทียมกัน ไม่ว่าในด้านชาติกำเนิด การศึกษา ฐานะทางสังคม ด้วยเหตุนี้ลัทธิเผด็จกาจึงแบ่งคนในสังคมออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ผุ้นำ และประชาชนทั่งไป
ลัทธิเผด็จการเป็นลัทธิการเมืองที่ไม่ยอมรับว่าประชาชนทั่วๆ ไปเป็นผุ้ม่เหตุผล ลัทธินี้เชื่อว่าเหตุผลของประชาชนทั่วๆ ไป ไม่สามารถที่จะนำมาแก้ปัญหาของสังคมได้ การใช้เหตุผลเพื่อยตุปัญหาจะนำมาซึ่งความดกลาหล ขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสัคม ลัทธินี้จึงสรุปว่า ประชาชนทั่วๆ ไปเป็นผุ้ไร้เหตุผล ผุ้ปกครองจึงไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลใดๆ และประชาชนโดยทั่วไปต้องมีผู้ปกครองเป็นผู้นำให้ความคุ้มครองแก่พวกเขา
ลัทธิเผด็จการให้ความสำคัญกับเสรีภาพส่วนบุคคลน้อยกว่าอำนาจรัฐ ดังคำกล่าวของมุสโสลินี ว่า “รัฐเป็นนายและเป็นจุดมุ่งหมายปลายทางของชีวิตและสังคม นั้นคือ ลัทธิเผด็จการจะยึดมั่นว่ารัฐเป็นสิ่งสูงสุดที่ประชาชนจะต้องสักการบูชา และอุทิศตนเองเพื่อความิ่งใหญ่และความเจริญก้าวหน้าของรัฐ ประชาชนจะต้องมีภาระที่จะรับใช้รัฐ ฉะนั้นสิ่งใดที่รุฐกำหนดขึ้นทุกคนที่อยู่ในรัฐก็จะต้องปฏิบัติตามโดยไม่อาจหลีกเลี่ยง
ลัทธิเผด็จการไม่อดทนต่อความคิดที่แตกต่างกัน แนวความคิดที่ยึดถือคือ เรื่องอำนาจสูงสุดของรัฐและอำนาจเด็ดขาดของผุ้นำที่เป็นตัวแทนองรัฐ ดังนั้นกลุ่มต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นพรรคการเมือง สมาคมอาชีพ สหพันธ์กรรมกรจะต้องเป็นกลุ่มที่ให้การสนับสนุนผุ้นำจึงจะตั้งอยู่ได้
เผด็จการมีอยู่มานานแล้ว นับตั้งแต่มนุษย์รวมตัวกันเป็นสังคมยุคแรก ๆ สังคมเฟ่าส่วนใหญ่จะมีหัวหน้าเผ่าที่เป็นเผด็จการ ซึ่งปัจจุบันรูปแบบหรือประเภทของเผด็จการก็หลากหลายยิ่งขึ้น เนื่องด้วยความสอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจสัง และการเมือง โดยมีจุดประสงค์หลักคือการอยู่บนอำนาจนั้นให้นานที่สุด
เผด็จการอำนาจนิยม คือ รัฐบาลจะเข้าควบคุมสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน มักจะไม่ยอมให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง มีการตรวจสอบหรือใช้อำนาจรัฐสั่งิดหนังสือพิมพ์มักจะอ้างลัทธิชาตินิยมมาสร้าความชอบธรรมให้กับการใช้อำนาจของผุ้ปกครอง แตะรัฐจะยงคงให้เสรีภาพในทางเศรษฐกิจและสังคม พอสมควร จะมีการลงโทษผู้กระทำผิดต่อกฎเกณฑ์ของบ้านเมืองอย่างรุนแรง เพื่อให้ประชาชนเคารพเชื่อฟัง และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครด
เผด็จการเบ็ดเสร็จ คือ การปกครองดยมีผุ้นำที่มีอำนาจสุงสุดและใช้อำนาจเด็ดขาดคนเดีย พยายามที่จะสร้างอุดมการขึ้นมาสร้างวามชอบธรรมให้กับการใช้อำนาจ มีการจัดตั้งพรรคการเมือง หรืออาจอยู่ในรูปขององค์กรผุ้นำพรรคเดียวเข้าควบคุมอำนาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมนั้นคือ บุคลรวมทั้งกิจกรรมของบุคคลในสังคมทุกคน ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับการเมือง หรือเศรษฐกิจ หรือสังคม จะตกอยู่ภายใต้การสอดสอ่งดุแลและควบคุมกำกับโดยอำนาจรัฐ มีการลงโทษอย่างรุนแรง พยายามสร้างความสำนึกให้ประชาชนเคารพเชื่อฟัง และปฏืบัติตามอำนาจรัฐ หรือคำสั่งของผุ้นำโดยเคร่งครัดโดยถือเป็นหน้าที่ เผด็จการประเภทนี้จะไม่ยอมให้มีฝ่ายตรงข้าม สังคมที่ปกครองโดยลัทธิเผด็จการเบ็ดเสร็จจึงมีสภาพเป็นอาณาจักรแห่งความกลัว
เผด็จการ หมายถึง
- ผู้เผด็จการของสาธารณรัฐโรมัน ซึ่งมีอำนาจปกครองเบ็ดเสร็จในยามฉุกเฉินของบ้านเมืองซึ่งอำนาจจากการใช้ตำแหน่งดังกล่าวไม่ต้องมีเหตุผลหรือไม่ต้องรับผิดชอบแต่อย่างได มีอำนาจอยู่เหนือกฎหมาย และถือว่าการกระทำทั้งหมดนั้นไม่ผิดกฏหมายย้อนหลัง
- รัฐบาลซึ่งปกครองโดยบุคคลเพียงคนเดียว หรือคณะบุคคลเพียงส่วนน้อย
- หรืออาจหมายถึง การปกครองซึ่งรัฐบาลมีอำนาจเด็ดขาด ไม่ถูกจำกัดโดยกฎหมาย รัฐธรรมนูญ หรือปัจจัยทางสังคมหรือการเมืองอืนภายในรัฐนั้น
Military dictatorship คือ รูปแบบการปกครองที่อำนาจทางการเมืองขึ้นอยู่กับกองทัพ โดยถือว่าเป็นการปกครองในระบอบเผด็จการอำนาจนิยม ซึ่งเป็นการจำกัดสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน
รัฐบาลเผด็จการทหารส่วนมากจัดตั้งหลังจากรัฐประหาร ซึ้งล้มล้างอำนาจรัฐบาลชุดก่อนหน้า ตัวอยางที่แตกต่างออกไป คือ การปกครองในสมัยของ ซัดดัม ฮุสเซน ซึ่งเริ่มจากรัฐที่ปกครองโดย รัฐบาลพรรคเดียว โดย พรคคบะอัธ แต่เมืองเวลาผ่านไปรัฐบาลดังกล่าวเปลี่ยนเป็นเผด็จการทหาร
ในอดีต เผด็จการทหารมักจะอ้างความชอบธรมให้แก่พวกเขาเองว่าเป็ฯการสร้างความสมานฉันท์แกติ และช่วยชาติให้พ้นจากภัยคุกคามของ “อุดมการณ์ที่อันตราย”อันเป็นการสร้างการข่มขวัญ ในละตินอเมิรกา ภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ และทุนนิยม ถูกนำเป็นข้ออ้างในการรัฐประหาร คณะทหารมักจะกล่าวว่าพวกเขาเป็นพวกไม่ฝักใฝ่พรรคการเมืองใด เป็นคณะที่มีความเป็นกลาง สามารถจัดการกับความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในระยะเวลสั้น ไ ได้ และกล่าวว่านักการเมืองที่มาจากปรระชาชนนั้นคดโกงและไร้ประสิทธิภาพ ลักษณะร่วมประการหนึ่งของรัฐบาลทหารคือการประกาศใช้กฏอัยการศึก หรือการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
รัฐบาลทหารมักจะไม่เคารพต่อสิทธิมนุษยชน และมักใช้วิธีการปิดปากศัตรูทางการเมืองรัฐบาลทหารมักจะไม่คืนอำนาจจนกว่าจะมีการปฏิวัติโดยประชาชน
Fascism ลัทธิฟาสซิสต์ เป็นชาติ-อำนาจมูลวิวัติอย่างหนึ่ง นักฟาสซิสต์มุ่งรวมชาติของตนผ่านรัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ ที่ระดมชุมชนแห่งชาติชนานใหญ่ผ่านวินัย การปลูกผังความเชื่อและการฝึกฝนทางกายภาพ ลัทธิฟาสซิสต์ใช้พรรคการเมืองแนวหน้า ในการริเริ่มการปฏิวัติเพื่อจัดระเบียบชาติตามหลักการลัธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์มองการปฏิบัติโดยตรงรวมถึงความรุนแรงทางการเมืองและสงคราม ว่าเป็นวิธีการบรรลุการคืนพลัง เจตนารมณ์และชีวิตนิยมของชาติ
Despotism ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด เป็นระบอบการปกครองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เริ่มจากการรมมกลุ่มของมนุษย์ ดดยให้บุคคลเพียงคนเดียวหรือกลุ่มบุคลเป็นผู้มีอำนาจปกครองกลุ่ม โดยมีอำนาขอย่างสมบูรณ์ในระบอบของตน
แนวคิดหลักคือ อำนาจอธิปไตยอยู่ในมือของคนคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลขนาดเล็ก โดยอาจเป็นได้ทั้งการปกครองแบบทรราช ซึ่งใช้อำนาจปราบปรามและลงโทษผู้อยู่ใต้การปกครองหรือการปกครองแบบเบ็ดเนร็จซึ่งผู้ปกครองอยู่เหนือกฎหมายใด ๆ
การปกครองแบบราชาธิปไตยซึ่งพระมหากาตริย์มีพระราชอำนาจเต็มและอยู่เหนือกฎหมายี้นเป็นระบอบเผด็จการแบบหนึ่ง แต่มองเตสกีเยอ ได้ระบุถึงความแตกต่าระหว่างระบอบทั้งสองว่า ระบอบราชาธิปไตยใช้อำนาจแบบเปบ็ดเสร็จโดยการตราและแก้ไขกฎหมายขณะที่ระบอบเผด็จการจะใช้อำนาจตามใจตน
แนวคิดเผด็จการ
- เผด็จการในฐานะที่เป็นแนวคิดทางการเมือง ที่เชื่อว่ารัฐเป็นเสมือนพระเจ้าที่เพียบพร้อม รํบเป็นผู้ถ่ายทอดความดีงามให้แก่ประชาชน ดังนั้นประชาชนจึงมีหน้าที่ที่จะต้องเชื่อฟังปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐยอมตนให้กับัฐโดยปราศจากเงื่อไข ผู้ผู้นำคือตัวแทนของรัฐในการออกคำสั่งให้ประชาชนปฏิบัติตาม อุดมการณ์เผด็จการนั้นมัอ้างว่าผู้นำเป็นผู้มีลักษณะพิเศษ เช่น สามารถล่วงรู้เจตนาราณ์ของประชาชนได้ การกรทำของผู้นำจึงเป็นการกระทำไปตามเจตนารมณ์ของประชาชน ผู้นำจึงอยู่ในฐานะที่ทำอะไรก็ไม่ผิด เป็นต้น
- เผด็จการในฐานที่เป็นรูปแบบการปกครอง โดยทั่วไป หมายถึง ระบอบรวมอำนาของผุ้ปกคอรงที่ต้องการอำนาจและสามารถยึดอำนาจรัฐไว้ได้ ส่วนใหญ่มักจะใช้วีธีการรุนแรง เช่น การทำรัฐประหาร กุมกองกำลังทหารตำตวจ และใช้ข่มขู่ สร้างความหวาดกลัวต่อผุ้คิดจะต่อต้าน ออกกฏหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน..
-เผด็จการในฐานที่เป็นวิถีชีวิต หมายถึง แนวความคิด ความเชื่อ ค่านิยม ตลอดจนแนวปฏิบัติของคนในสังคมใด ๆ ซึ่งอาจเป็นสังคมประชาธิปไตยก็ได้ พวกนี้เชื่อว่าคนเราเกิดมาแต่ละคนจะมีความแตกต่างกันในทุกด้านผู้ที่ด้อยกว่าจำเป็นต้องเชื่อฟังและปฏิบัติตามผู้ที่เหนือกวา ทั้งนี้เพื่อที่จะให้สังคมสามารถอยู่รอดปลอดภัยและก้าวหน้า ซึ่งจะพยายามไม่ให้มีความขัดแย้งในสังคม และจะนิยมใช้อำนาจในการกำจัดข้อขัดแย้งซึ่งเสมือนเป็นตัวบ่อนทำลายเสถียรภาพของสนังคมมากกว่าการใช้วิธีการประนีประนอม
ลักษณะสำคัญของเผด็จการ
ลัทธิเผด็จการไม่เห็นความสำคัญของความเสมอภาคหรือไม่เชื่อว่าบุคคลมีความเท่าเทียมกัน ไม่ว่าในด้านชาติกำเนิด การศึกษา ฐานะทางสังคม ด้วยเหตุนี้ลัทธิเผด็จกาจึงแบ่งคนในสังคมออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ผุ้นำ และประชาชนทั่งไป
ลัทธิเผด็จการเป็นลัทธิการเมืองที่ไม่ยอมรับว่าประชาชนทั่วๆ ไปเป็นผุ้ม่เหตุผล ลัทธินี้เชื่อว่าเหตุผลของประชาชนทั่วๆ ไป ไม่สามารถที่จะนำมาแก้ปัญหาของสังคมได้ การใช้เหตุผลเพื่อยตุปัญหาจะนำมาซึ่งความดกลาหล ขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสัคม ลัทธินี้จึงสรุปว่า ประชาชนทั่วๆ ไปเป็นผุ้ไร้เหตุผล ผุ้ปกครองจึงไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลใดๆ และประชาชนโดยทั่วไปต้องมีผู้ปกครองเป็นผู้นำให้ความคุ้มครองแก่พวกเขา
ลัทธิเผด็จการให้ความสำคัญกับเสรีภาพส่วนบุคคลน้อยกว่าอำนาจรัฐ ดังคำกล่าวของมุสโสลินี ว่า “รัฐเป็นนายและเป็นจุดมุ่งหมายปลายทางของชีวิตและสังคม นั้นคือ ลัทธิเผด็จการจะยึดมั่นว่ารัฐเป็นสิ่งสูงสุดที่ประชาชนจะต้องสักการบูชา และอุทิศตนเองเพื่อความิ่งใหญ่และความเจริญก้าวหน้าของรัฐ ประชาชนจะต้องมีภาระที่จะรับใช้รัฐ ฉะนั้นสิ่งใดที่รุฐกำหนดขึ้นทุกคนที่อยู่ในรัฐก็จะต้องปฏิบัติตามโดยไม่อาจหลีกเลี่ยง
ลัทธิเผด็จการไม่อดทนต่อความคิดที่แตกต่างกัน แนวความคิดที่ยึดถือคือ เรื่องอำนาจสูงสุดของรัฐและอำนาจเด็ดขาดของผุ้นำที่เป็นตัวแทนองรัฐ ดังนั้นกลุ่มต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นพรรคการเมือง สมาคมอาชีพ สหพันธ์กรรมกรจะต้องเป็นกลุ่มที่ให้การสนับสนุนผุ้นำจึงจะตั้งอยู่ได้
เผด็จการมีอยู่มานานแล้ว นับตั้งแต่มนุษย์รวมตัวกันเป็นสังคมยุคแรก ๆ สังคมเฟ่าส่วนใหญ่จะมีหัวหน้าเผ่าที่เป็นเผด็จการ ซึ่งปัจจุบันรูปแบบหรือประเภทของเผด็จการก็หลากหลายยิ่งขึ้น เนื่องด้วยความสอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจสัง และการเมือง โดยมีจุดประสงค์หลักคือการอยู่บนอำนาจนั้นให้นานที่สุด
เผด็จการอำนาจนิยม คือ รัฐบาลจะเข้าควบคุมสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน มักจะไม่ยอมให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง มีการตรวจสอบหรือใช้อำนาจรัฐสั่งิดหนังสือพิมพ์มักจะอ้างลัทธิชาตินิยมมาสร้าความชอบธรรมให้กับการใช้อำนาจของผุ้ปกครอง แตะรัฐจะยงคงให้เสรีภาพในทางเศรษฐกิจและสังคม พอสมควร จะมีการลงโทษผู้กระทำผิดต่อกฎเกณฑ์ของบ้านเมืองอย่างรุนแรง เพื่อให้ประชาชนเคารพเชื่อฟัง และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครด
เผด็จการเบ็ดเสร็จ คือ การปกครองดยมีผุ้นำที่มีอำนาจสุงสุดและใช้อำนาจเด็ดขาดคนเดีย พยายามที่จะสร้างอุดมการขึ้นมาสร้างวามชอบธรรมให้กับการใช้อำนาจ มีการจัดตั้งพรรคการเมือง หรืออาจอยู่ในรูปขององค์กรผุ้นำพรรคเดียวเข้าควบคุมอำนาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมนั้นคือ บุคลรวมทั้งกิจกรรมของบุคคลในสังคมทุกคน ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับการเมือง หรือเศรษฐกิจ หรือสังคม จะตกอยู่ภายใต้การสอดสอ่งดุแลและควบคุมกำกับโดยอำนาจรัฐ มีการลงโทษอย่างรุนแรง พยายามสร้างความสำนึกให้ประชาชนเคารพเชื่อฟัง และปฏืบัติตามอำนาจรัฐ หรือคำสั่งของผุ้นำโดยเคร่งครัดโดยถือเป็นหน้าที่ เผด็จการประเภทนี้จะไม่ยอมให้มีฝ่ายตรงข้าม สังคมที่ปกครองโดยลัทธิเผด็จการเบ็ดเสร็จจึงมีสภาพเป็นอาณาจักรแห่งความกลัว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...