รัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ.2540 เป็นเหตุที่เกิดขึ้นในเดือนกรกฏา -สิงหาคม ผลที่ตามมาคือ ฮุน เซน นายกรัฐมนตรีร่วม ปลดเจ้านโรดม รณฤทธิ์นายกรัฐมนตรีร่วมอีกคนหนึ่งได้ มีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์นี้ 10 คน
มีนาคม 2535 คณะผู้บริหารของ UNTAC เดินทางมาถึงกัมพูชาเพื่อเตีรยมพร้อมสำหรับการจัการเลือกตั้ง ใน พ.ศ. 2536 เขมรแดงหรือพรรคกัมพูชาประชาะิปไตยไม่ยอมวางอาวุธ ไม่หยุดเคลื่อนไหว และไม่ให้ประชาชนในเขตของตนเข้าร่วมการเลือกตั้ง ผลการเลือกตั้ง ปรากฎว่าพระนโรดม รณฤทธิ์จากพรรค "ฟุนซินเปก"ชนะการเลือกตั้ง โดยฮุน เซน จากพรรค "ประชาชนกัมพูชา" ได้ลำดับที่ 2 ทั้งสองพรรคได้จัดตั้งรัฐบาลโดยมีพระนโรดม รณฤทธิ์และฮุน เซน เป็นนรายกรัฐมนตรีร่วม
ในปี พ.ศ. 2540 ความตึงเครียดที่ยาวนานระหว่างพรรคร่วมรัฐบาลทั้งสองพรรคกลายเป็นการต่อสู้ระหว่างพระนโรดม รณฤทธิ์กับฮุนเซน ซึ่งพยายามแย้งขิงโอกาสในการกุมอำนาจทั้งหมด รวมทั้งพยายามดึงแขมรแดงเข้าเป้นพวก ฮุนเซนได้ออกมากล่าวหาวว่าเจ้านโรดม รณฤทธิ์ วางแผนจะยึดอำนาจโดยมีทหารเขมรแดงหนุนหลัง จึงสั่งให้ทหารในฝ่ายของตนจับกุมฝ่ายของฟุนซินเปก
เหตุการณ์เริ่มขึ้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2540 เกิดการปะทะระหว่างมหารที่สนับสนุนฮุน เซนกับพระนโรดม รณฤทธิ์ที่มีพลเอกญึก บุญชัยเป็นหัวหน้าได้ล่าถอยมาตั้งมั่นที่โอร์เสม็ดติดแนวชายแดนที่จังหวัดสุรินทร์ โดยมีกองกำลังเขมรแดงส่วนหนึ่งเข้าช่วยเหลือฝ่าพระนโรดม รณฤทธิ์ คือกลุ่มของ เขียว สัมพัน และ ตา มก ที่ตั้งมั่นอยุ่ที่อันลองเวงอีกกลุ่มเข้าโจมตีฝ่ายรัฐบาลที่บ้านโอตาเตี๊ยะตรงข้ามกับ อ.บ่อไร่ จ.ตราด ผลการสู้รบกระสุนมาตกฝั่งไทยทหารไทยเสียชีวิต 1 นาย บาดเจ็บ 3 นาย ชาวกัมพูชาอพยพหนีเข้าฝั่งไทย 3,000 คน การสู้รบดำเนินไปจนถึงเดือนสิงหาคม ปีเดียวกัน นายฮุน เซนเป็นฝ่ายมีชัยเหนือ เจ้านโรดม รณรฤทธิ์ และขอลี้ภัยไปฝรั่งเศส ผุ้นำพรรคฟุนซิดเปกอีกหลายคนออานอกประเทศ อึง ฮวดได้เป็นนายกรัฐมนตรีร่วมแทน ผุ้นำของพรรคฟุนซินเปกกลับสู่กัมพูชาในช่วงสั้นๆ ระหว่างการเลือกตั้งปีะ 2541 พรรคประชาชนกัมพูชาของนายฮุนเซนเป็นฝ่ายชนะแต่เสียงไม่พอจัดตั้งรัฐบาลจึงต้องจัดตั้งรัฐบาลผสมกับพรรคฟุนซินเปก(wikipedia.org. รัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2540)
ฮุน เซน เกิดที่จังหวัดกำปงจาม เป็นลูกชาวนา อายุ 13 ก็ออกจากบ้านเป็นเด็กเร่ร่อน อาศัยข้าวก้นบาตรพระเพื่อให้ได้เรียนหนังสือ อายุ 19 ปีเข้าร่วมในกองทัพปฏิวัติ(เขมรแดง) ทำการสู้รบกับทหารลอนนอน (Lon Nol) ซึ่งสหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุน(CIA)
ฮุน เซน สูญเสียนัยน์ตาข้างซ้าย ก่อนจะชนะต่อกองกำลังลอนนอน เพียงวันเดียว ตอนนั้นเขามีตำแหน่งเป็นผุ้บัญชาการกองพัน ในปี 2518 ต่อมาอีกสองปีเขาหนีไปยู่เวียดนาม เวียดนามยอมรับในการติดต่อเจรจาของเขา มากกว่า เฮง สัมริน ดังนั้นเมื่อเวียดนามยึดครองกัมพูชา เขาจึงได้เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศใน พ.ศ.2522 ต่อมาฮุนเซน ได้เป็นสมาชิกกรรมการกลางกรมการเมืองและเป้นสมาชิกสำนักงานเลขาธิการซึ่งเป็นตำแหน่งบริหารพรรคด้วย และไดัรับตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีในปีเดียวกัน
อีกสี่ปีเขาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีซึ่งอายุน้อยที่สุดของโลกคนหนึ่ง เพราะขณะนั้นเขาอายุ 33 ปี ในปี พ.ศ. 2528 และในปี พ.ศ.2531 รัฐบาลไทยโดยพล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ ได้สร้างความประหลาดใจแก่ชาวโลกที่รับรองรัฐบาลเขมรสามฝ่ายที่มีสมเด็นเจ้านโรดม สีหนุเป็นผุ้นำ แต่กลับเชื้อเชิญ ฮุน เซน มาเยื่อนพร้อมตกลงทำชายแดนไทย-กัมพูชา เปลี่ยนสถานะจากสนามรบเป็นสนามการค้า
เมื่อเวียดนามถอนตัวจากัมพูชา ฮุน เซน ได้ตกลงร่วมประชุมตกลงให้ต่อสู้กันในสนามเลือกตั้งขณะที่เขมรแดงบอยคอต ผลการเลือกตังพรรคประชาชนกัมพูชาของเขา แพ้การเลือกตั้ง เจ้านโรดม รณฤทธิ์เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 1 ฮุนเซนเป็นรัฐมนตรีคนที่ 2
นับแต่ปี 2537 นักลงทุนชาวมาเลเซียเป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในกัมพูชา
กัมพูชา เป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบบกษัตริย์มาช้านาน แน่นอนว่าอิทธิพลของกษัตริย์ยังคงมีอยู่ จึงมีความจำเป็นที่ฮุน เซนจะต้องริดรอนอำนาจของกษัตริย์และระบบเพื่อให้ตนดำรงอยู่ในตำแหน่งได้นานที่สุด
ฮุน เซนมีลูกชายที่จบจาเวศปอยส์ สถาบันทางการทหารอันดับของสหรัฐ จึงต้องถ่วงดุลอำนาจระหว่างตะวันตกกับโลกอิสลาม เพื่อนำเสถียรภาพความมั่นควและมั่งคั่งมาสู่ราชอาณาจักรกัมพูชา (oknation.nationtv.tv ประวัติสมเด็จอัครมหาเสนาบดี เดโช ฮุน เซน, 11 กุมภาพันธ์2554)
"ผมขอขอบคุณคนที่บอกว่าผมเลว ผมขอขอบคุณคนที่บอกว่าผมดี ผมขอขอบคุณพวกเขาทุกคน"
"แน่นอนว่าผมเคยทำผิดพลาด แต่ได้โปรดไตรตรองเทียบกันระหว่างสิ่งที่ผมทำผิดและสิ่งที่ผมทำถูกด้วย"
สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซ็น นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ปราศรัยต่อผู้เข้าร่วมพิธีวางศิลาฤกษ์ในโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง "เนียกเลือง" ใน จ.กันดาล ของกัมพูชา ซึ่งตรงกับวันที่ฮุน เซน ดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลกัมพูชายุคต่างๆ ครบรอบ 30 ปี ทำให้เป็นผู้นำที่อยู่ในตำแหน่ง"ทางการเมือง"ยาวนานที่สุดในเอเซียอีกด้วย!!
หากมองจากประวัติศาสตร์กัมพูชาแต่งแต่ปี 2541 เป็นต้นมา และมองว่ารัฐประหารเป็นการ "ล้างกระดาน" เพื่อให้การเมืองเดินหน้าต่อไปได้ การจะกล่าวว่า ฮุน เซน เป็น "ผู้นำที่มาจาการเลือกตั้ง" เมื่อรัฐบาลมีเสถียรภาพทางการเมืองมากขึ้น ก็พลอยส่งผลดีต่อการบริหารประเทศ รวมถึงช่วยพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความเจริญเติบโตอย่างมั่นคงขึ้น
แต่ก็ใช้ว่าเหตุการณ์ในยุคหลังจะสามารถลบล้างรอยเลือดและน้ำตาที่เคยเกิดขึ้นในอดีตได้!! (thairath.co.th, "30 ปี ฮุน เซ็น", 18 มกราคม 2558)
วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560
Political Security & Investment
หลังการล่มสลายของกัมพูชาประชาธิปไตย กัมพูชาตกอยู่ใต้การรุกรานของเวียนดนามและรัฐบาลที่นิยมฮานอยซึ่งก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา สงครามกลางเมืองหลัง พ.ศ. 2523 เป็นการสู้รบระห่างกองทัพประชาชนปฏิวัติกัมพูชาของรัฐบาลกับแนวร่วมเขมรสามฝ่ายซึ่งถือเป็นรัฐบาลพลัดถิ่นองกลุ่มต่างๆ สามกลุ่มคือ พรรคฟุดซินเปกของพระนโรดม สีหนุ พรรค กัมพูชาประชาธิปไตยหรือเขมรแดง และแนวร่วมปลอปล่อยแห่งชาติประชาชนเขมร มีการเจรจาสันติภาพตั้งแต่ พ.ศ. 2532 และไปสู่การประชุมสันติภาพที่ปารีสเพื่อสงบศึกในปี พ.ศ. 2534 ในที่สุดมีกาจัดตั้งโดยสหประชาชาติในพ.ศ. 2536 เพื่อเริ่มต้นฟื้นฟูประเทศ พระนโรดม สีหนุกลับมาเป็นกษัตริย์อีกครั้ง มีการจัดตั้งรัฐบาลผสม หลังจากมีการเลือกตั้งโดยปกติใน พ.ศ. 2541 การเมืองมีความมั่นคงขึ้น หลังการล่มสลายของเขมรแดงใน พ.ศ. 2541
สถานะภาพการเมืองในกัมพูชาปัจจุบันถือว่มีเสถียรภาพ พรรคการเมืองสองพรรคหลักซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐบาลกัมพูชา คือ พรรคประชาชนกัมพูชา CCP ของสมเด็จฮุน เซน และพรรค ฟุนซินเปค FUNCINPEC ของสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ สามารถร่วมือกันได้อย่งราบรื่นทั้งในด้านบริหารและด้านนิติบัญญัติ รวมทั้งมีท่าทีที่สอดคล้องกันเป็นส่วนใหญ่ในประเด็นทางการเมืองสำคัญๆ ของประเทศ อาทิ เรื่องการนำตัวอดีตผุ้นำ เขมรแดงมาพิจารณาโทษ เป็นต้น
กลุ่มการเมืองฝายตรงข้ามรฐบาลยังไม่มีความเข้มแข็งมากพอ และคงสมารถทำได้เพียงแต่สร้างผลกระทบทางลบต่อภาพลักษณ์ของรัฐบาล โดยในทางการเมือง พรรคสม รังสี พรรคการเมืองฝ่ายค้านหนึ่งเดียวในสภาแห่งชาติกัมพุชา ได้เคลื่อนไหวตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลกัมพุชาอย่างแข็งขัน พยายามชี้ให้สาธารณะและนานาชาต เห็นถึงการทุจริตและประพฟติมิชอบของรัฐบาล รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมืองเพื่อผลประโยชน์ส่วนตนและของพรรค(wikipedia.co.th กัมพูชา)
จากสถิติสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของกัมพูชา ระบุว่าตั้งแต่ 2534-2536 มีนักลงทุนต่างชาติยื่นคำของอนุญาตดำเนินธุรกิจ ซึ่งนักลงทุนไทยยื่นคำขอสูงที่สุดในบรรดานักลงทุนต่างชาต รองลงมาได้แก่นักลงทุนจากสิงคโปร์, ฝรั่งเศส, และฮ่องกง
นักลงทุนไทยที่เข้าไปทำการต้า และลงทุนในจังหวัดเกาะกงมีหลายราย เช่น ธนิต ไตรวุฒิ ส.ส. ตราด ทำธุรกิจรับซื้อไมจากเกาะกง, สมพร สหวัฒน์ ทำสัมปทานไม่, ทัด สิงหพันธ์ นักลงทุนจากตราดเข้าไปเลี้ยงกุ้งกุลาดำบนพื้นที่กว่าร้อยไร่, ทด สิงหพันธ์ ลงทุนทำรีสอร์ทที่ปากคลอง, สุรศักดิ์ อิงประสาร พ่อค้าพลอย จากจันทบุรีเช่าวังสีหนุเก่าหรือตึกแดงเพื่อทำรีสอร์ทฯ
เมื่อศูนย์อำนาจในกัมพุชาด้ถูกถ่ายโอนจากคณะรัฐบาลฮุนเซ็น มาเป็นเจ้านโรดม รณฤทธิ์ ภายหลังที่พรรคฟุนซินเปคยึดครองชัยชนะในการเลือกตั้งสมรชิกสภาร่างรัฐะธรรมนูญเมื่อเดือนพฤษภาคม 2536 และมีการจัดตั้งรัฐบาลผสม โดยมีเจ้านโรดม รณฤทธิ์ เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่
เป็นที่รู้กันดีในหมู่นักลงทุนต่างชาติ และรัฐบาลพนมเปญก่อนหน้าที่จะมีการเลือกตั้ง ว่าหากพรรคฟุนซิเปคได้เป็นฝ่านจัดตั้งรัฐบาลนโยบายเร่งด่วนที่ฟุดซินเปคได้เป็นฝ่ายยจัดตั้งรัฐบาลนโยบายเร่งด่วนที่ฟุดซินเปคจะนำใช้คือ นโยบายการทบทวน และแก้ไขสัญญาการลงทุนของนักลวทุนต่างชาติ โดยเฉพาะนักลงทุนชาวไทยได้ถูกเพ่งเลงเป็นพิเศษ อันเนื่องมาจากความสัมพันะืที่ใกล้ชิดกับบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลพนมเปญ รวมทั้งข้อครหาว่านักลงทุนชาวไทยส่วนใหญ่นิยมติดสินบนใหแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อำนวยความสะดวกในการอนุมัติโครงการ
การขนนักร้องนักดนตรีชื่อดังจากเมืองไทยกว่า 50 ชีวิต ของกลุ่มชินวัตรซึ่งเข้าไปดำเนินกิจการเคเบิลทีวีและระบบโทรคมนาคมในกัมพูชา เข้าไปร่วมแสดงในการหาเสีงเลือกตั้งวันสุดท้ายของพรรคประชาชนกัมพูชาที่กรุงพนมเปญ พร้อมทั้งมีการถ่ายทอดสอทางเคเบิลทีวีไปทั่วประเทศจึงเสมอืนเป็นการ "แทงม้าแบบเทกระเป๋า" ของกลุ่มชินวัตร ซึงเป็นที่ไม่พอใจของพรรคฟุนซินเปค
เมื่อเส้นทางสู่ทำเนียบเกิดพลิกผันพรรคฟุนซนเปคเป็นฝ่ายชนะ ดังนนั้น นักธุรกิจไทยจึงโดนลงดาบกันถ้วนหน้า ตั้งแต่กลุุ่มชินวัตร, พนมเปญ โฟลทติ้ง ของโอฬาร อัศวฤทธิกุล สัญญาเช่ารีสอร์ทจ.เาะกง โดยนักธุรกิจค้าพลอยชาวไทยในนาม "สุรศักดิ์ อิงประสาร" นอกจากนี้ "เท้ง บุญมา" นักธุรกิจาวไทยผู้บุกเบิกการลงทุนในกัมพูชาในยุคแรกๆ ในนามของ บริษัทไทยบุญรุ่ง
บทเรียนของนักลงทุนไทยที่เข้าไปลงทุนในประเทศที่ยังไมม่มสเสถียรภาพทางการเมือง และไม่มีหลักประกันในการลงุทนใดๆ แม้ว่าจะมีกฎหมายรองรับการลงทุนออกมา เช่นประเทศกัมพุชานั้นคงจะเป็นอุธาหารณ์ให้นักลงทุนเพ่ิมความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น(http//www.info.gotomanager.com, "บทเรียนของนักลงทุนไทยในกัมพูชา" มกราคม 2537)
การรัฐประหารที่ล้มเหลวในวันที่ 2 กรกฎาคม 2537 กับการเข้าไปพวพันของบรรษัทข้ามชาติไทย การรัฐประการเริ่มขึ้นเมื่อเวลา 5.00 น.กองกำลังฝ่ายกบฎประมาณ 500 คน ได้ยกพลพร้อมด้วยรถถัง 20 คัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ 21 คัน และอาวุธสงครามประกอบด้วยเครื่องกระสุน จรวด ตลอดจนเครื่องมือตัดสายไฟฟ้า กองกำลังทั้งหมดเดินทางมาจากจังหวัดเปรเวง มุ่งหน้าเข้าสู่กรุงพนมเปญ
ต่อมาได้รับการสกัดกั้นจากกองทหารฝ่ายรัฐบาล สังกัดพรรคฟุนซินเปค ที่นำโดย นายฮุนเซน นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 แทนที่จะเป็นเจ้านโรดม รณฤทธิ์
กองกำลังพรรคฟุนซินเปฝ่ายรัฐบาลได้ทำการสกัดกั้นกองกำลังกลุ่มกบฎไว้จับกุมตัวพลเอก สินสอง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงมหาดไทย สังกัดพรรคประชาชน กับนายเตียซอย อดีตอธิบดีกรมตำรวจ ซึ่งทั้งสองคนเป็นผุ้บัญชาการกองกำลังฝ่ายกบฎหลังจากนั้นจึุงส่งกองกำลังฝ่ายกบฎกลับที่ตั้งโดยไม่มีการปะทะกัน
การรัฐประหารครั้งนี้ มีเสดต็กรมขุนเจ้านโรดม จักรพงษ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีโอรสต่างมารดาในสมเด็จเจ้านโรดม สีหนุ และนายพลเอก สินสอง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผุ้นำในการก่อรัฐประหาร กองทหารฝ่ายรับาลจึงเข้าควบคุมตัวเจ้านโรดม จักรพงษ์
เจ้านโรดม จักรพงษ์ ได้เรียกร้องขอความคุ้มครองจากผุ้สื่อข่าวชาวอเมริกัน และยังเรียกร้องไปยังสมเด็จเน้านโรดม สีหนุ ที่ทรงพำนักอยุ่ ณ กรุงปักกิ่ง เพื่อขออนุญาตเดินทางลบี้ภัยไปกรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
หลังจากนั้นกองทหารฝ่ายรัฐบาลเข้าจับกุมตัวนายพลสินสองที่บ้านพัก พร้อมกันนี้กองทหารฝ่ยรัฐบาลได้ยึดอาวุธปืนจำนวนหนึ่ง และเครื่องมือสิื่สาร ตลอดจนทำการกักตัวนายพลสินสองไว้ที่บ้านพัก สำหรับเจ้านโรดม จักรพงษ์ ต่อมาภายหลังก็ได้รับการอนุญาตจากเจ้านโรดม รณฤทธิ์ให้ลี้ภัยไปยังประเทศมาเลเซีย
!!จับกุม 14 คนไทยพัวพันการรัฐประหาร-ไล่ล่า ส.ส.ไทย พัวเครือชินวัตร?
นายฮุนเซนได้เคยพบปะกับนักธุรกิจชั้นนำ ที่กระทรวงการต่างประเทศ การพบปะดังกล่าว นายฮุนเซนได้กล่าวถึง การเข้าไปลงทุนของนักธุรกิจไทยว่านักธุรกิจไทยเป็นนักฑุุรกิจที่กล้าหาญที่ไปลงทุนในกัมพูชาก่อนที่จะมีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังจากที่มีการเลือกตั้งเชื่อว่านักธุรกิจไทยคงประสบความเสียหายน้อยลง
หลังจากที่ตนได้ร่วมลงนามกับเจ้ารณฤทธิ์เพื่อขอ มติขับนาย สัม รังษี อคีตรัฐมนตรีคลังออกจากตำแน่าง เหนืองจากเป็นบุคคลที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อธุรกิจของต่างประเทศ การหยิบยกสัญญาที่ได้ทำไว้กับรัฐบาลชุดก่อนขึ้นมาทบทวนแล้วบอกว่า เป้นวัญญาที่ไม่ถูกต้องหรือในกรณีที่ธนาคารต่างชาติไปลงทุนในกัมพูชาก็ถูกนาย สัม รังษีกล่าวหาว่าเป็นแหล่งฟอกเงิน
นายฮุนเซน กล่าวว่า เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการลงทุนในดัมพูชาตนขอเอาชีวิตเป็นประกันว่าธุรกิจและการลงทุนของไทยที่จะเข้าไปในกัมพูชาต่อไปนี้จะไม่มีปัญหาอีกต่อไป และขอย้ำว่าจะมอบชีวิตเป็นประกันธุรกิจไทยในกัมพูขา ทั้งยังจะเสนอให้มีการหยิบยกสัญญาที่ยังมีปัญหาขึ้นมาพิจารณาอย่างยุติธรรมอีกครั้งหนึ่้ง โดยจะเร่งให้เสร็จสิ้นปัญหาดดยเร็วที่สุด
การให้สัมภาษณ์ของนายฮุนเซน จึงเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความสำคัญ 2 ประการ ประการแรก ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านโรดม รณฤทธิ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 กันายฮุนเซน นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ไม่ดี นับแต่เริ่มจัดตั้งรัฐบาลผสมและต้องทำงานร่วมกัน
ประการที่สอง ชี้ให้เห็นถึงสายสัมพันธ์อันเกี่ยวเนืองเชื่อมโยง ระหว่างกลุ่มนักธุรแกจไทยกับนายฮุนเซนอย่งเห็นได้ชัด ฉะนั้นการที่นาย สัม รังษี และเจ้สนโรดม รณฤทโิ์เข้ามาทำการรอันเป็นผลกระทบต่อผลประโยชน์ของนักธุรกิจไทย
จึงเป็นที่ต้องสงสัยว่า การรัฐประหารในกัมพูชาครั้งนี้ ผู้ที่เข้าไปพัวพันกับการรัฐประหารก็คือ กลุ่มนักธุรกิจจากประเทศไทย กรณีดังกล่าวเห็นได้ชัดจากการที่กลุ่มนักธุรกิจซึ่งนำโดยอดีตสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรพรรคการเมืองหนึ่งกับพรรคพวก ได้ให้ความช่วยเหลือนำตัวพลเอก สินสอง ผุ้มีส่วนร่วมในการัฐประหารกับพรรคพวกหลบหนีเข้าเมืองทางชายแดนด้านจังหวัดตราด หลังจากที่กลุ่มเขมรเหล่านี้ก่อการรัฐประหารไม่สำเร็จ..(มติชนออนไลน์, เปิดวิทยานิพนธ์"ร้อน"-กลุ่มชินวัตรสัมพันะ์ลึก "ฮุนเซน" พวพันรัฐประหารซ่อนเงื่อนในกัมพูชา?)
สถานะภาพการเมืองในกัมพูชาปัจจุบันถือว่มีเสถียรภาพ พรรคการเมืองสองพรรคหลักซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐบาลกัมพูชา คือ พรรคประชาชนกัมพูชา CCP ของสมเด็จฮุน เซน และพรรค ฟุนซินเปค FUNCINPEC ของสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ สามารถร่วมือกันได้อย่งราบรื่นทั้งในด้านบริหารและด้านนิติบัญญัติ รวมทั้งมีท่าทีที่สอดคล้องกันเป็นส่วนใหญ่ในประเด็นทางการเมืองสำคัญๆ ของประเทศ อาทิ เรื่องการนำตัวอดีตผุ้นำ เขมรแดงมาพิจารณาโทษ เป็นต้น
กลุ่มการเมืองฝายตรงข้ามรฐบาลยังไม่มีความเข้มแข็งมากพอ และคงสมารถทำได้เพียงแต่สร้างผลกระทบทางลบต่อภาพลักษณ์ของรัฐบาล โดยในทางการเมือง พรรคสม รังสี พรรคการเมืองฝ่ายค้านหนึ่งเดียวในสภาแห่งชาติกัมพุชา ได้เคลื่อนไหวตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลกัมพุชาอย่างแข็งขัน พยายามชี้ให้สาธารณะและนานาชาต เห็นถึงการทุจริตและประพฟติมิชอบของรัฐบาล รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมืองเพื่อผลประโยชน์ส่วนตนและของพรรค(wikipedia.co.th กัมพูชา)
จากสถิติสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของกัมพูชา ระบุว่าตั้งแต่ 2534-2536 มีนักลงทุนต่างชาติยื่นคำของอนุญาตดำเนินธุรกิจ ซึ่งนักลงทุนไทยยื่นคำขอสูงที่สุดในบรรดานักลงทุนต่างชาต รองลงมาได้แก่นักลงทุนจากสิงคโปร์, ฝรั่งเศส, และฮ่องกง
นักลงทุนไทยที่เข้าไปทำการต้า และลงทุนในจังหวัดเกาะกงมีหลายราย เช่น ธนิต ไตรวุฒิ ส.ส. ตราด ทำธุรกิจรับซื้อไมจากเกาะกง, สมพร สหวัฒน์ ทำสัมปทานไม่, ทัด สิงหพันธ์ นักลงทุนจากตราดเข้าไปเลี้ยงกุ้งกุลาดำบนพื้นที่กว่าร้อยไร่, ทด สิงหพันธ์ ลงทุนทำรีสอร์ทที่ปากคลอง, สุรศักดิ์ อิงประสาร พ่อค้าพลอย จากจันทบุรีเช่าวังสีหนุเก่าหรือตึกแดงเพื่อทำรีสอร์ทฯ
เมื่อศูนย์อำนาจในกัมพุชาด้ถูกถ่ายโอนจากคณะรัฐบาลฮุนเซ็น มาเป็นเจ้านโรดม รณฤทธิ์ ภายหลังที่พรรคฟุนซินเปคยึดครองชัยชนะในการเลือกตั้งสมรชิกสภาร่างรัฐะธรรมนูญเมื่อเดือนพฤษภาคม 2536 และมีการจัดตั้งรัฐบาลผสม โดยมีเจ้านโรดม รณฤทธิ์ เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่
เป็นที่รู้กันดีในหมู่นักลงทุนต่างชาติ และรัฐบาลพนมเปญก่อนหน้าที่จะมีการเลือกตั้ง ว่าหากพรรคฟุนซิเปคได้เป็นฝ่านจัดตั้งรัฐบาลนโยบายเร่งด่วนที่ฟุดซินเปคได้เป็นฝ่ายยจัดตั้งรัฐบาลนโยบายเร่งด่วนที่ฟุดซินเปคจะนำใช้คือ นโยบายการทบทวน และแก้ไขสัญญาการลงทุนของนักลวทุนต่างชาติ โดยเฉพาะนักลงทุนชาวไทยได้ถูกเพ่งเลงเป็นพิเศษ อันเนื่องมาจากความสัมพันะืที่ใกล้ชิดกับบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลพนมเปญ รวมทั้งข้อครหาว่านักลงทุนชาวไทยส่วนใหญ่นิยมติดสินบนใหแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อำนวยความสะดวกในการอนุมัติโครงการ
การขนนักร้องนักดนตรีชื่อดังจากเมืองไทยกว่า 50 ชีวิต ของกลุ่มชินวัตรซึ่งเข้าไปดำเนินกิจการเคเบิลทีวีและระบบโทรคมนาคมในกัมพูชา เข้าไปร่วมแสดงในการหาเสีงเลือกตั้งวันสุดท้ายของพรรคประชาชนกัมพูชาที่กรุงพนมเปญ พร้อมทั้งมีการถ่ายทอดสอทางเคเบิลทีวีไปทั่วประเทศจึงเสมอืนเป็นการ "แทงม้าแบบเทกระเป๋า" ของกลุ่มชินวัตร ซึงเป็นที่ไม่พอใจของพรรคฟุนซินเปค
เมื่อเส้นทางสู่ทำเนียบเกิดพลิกผันพรรคฟุนซนเปคเป็นฝ่ายชนะ ดังนนั้น นักธุรกิจไทยจึงโดนลงดาบกันถ้วนหน้า ตั้งแต่กลุุ่มชินวัตร, พนมเปญ โฟลทติ้ง ของโอฬาร อัศวฤทธิกุล สัญญาเช่ารีสอร์ทจ.เาะกง โดยนักธุรกิจค้าพลอยชาวไทยในนาม "สุรศักดิ์ อิงประสาร" นอกจากนี้ "เท้ง บุญมา" นักธุรกิจาวไทยผู้บุกเบิกการลงทุนในกัมพูชาในยุคแรกๆ ในนามของ บริษัทไทยบุญรุ่ง
บทเรียนของนักลงทุนไทยที่เข้าไปลงทุนในประเทศที่ยังไมม่มสเสถียรภาพทางการเมือง และไม่มีหลักประกันในการลงุทนใดๆ แม้ว่าจะมีกฎหมายรองรับการลงทุนออกมา เช่นประเทศกัมพุชานั้นคงจะเป็นอุธาหารณ์ให้นักลงทุนเพ่ิมความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น(http//www.info.gotomanager.com, "บทเรียนของนักลงทุนไทยในกัมพูชา" มกราคม 2537)
การรัฐประหารที่ล้มเหลวในวันที่ 2 กรกฎาคม 2537 กับการเข้าไปพวพันของบรรษัทข้ามชาติไทย การรัฐประการเริ่มขึ้นเมื่อเวลา 5.00 น.กองกำลังฝ่ายกบฎประมาณ 500 คน ได้ยกพลพร้อมด้วยรถถัง 20 คัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ 21 คัน และอาวุธสงครามประกอบด้วยเครื่องกระสุน จรวด ตลอดจนเครื่องมือตัดสายไฟฟ้า กองกำลังทั้งหมดเดินทางมาจากจังหวัดเปรเวง มุ่งหน้าเข้าสู่กรุงพนมเปญ
ต่อมาได้รับการสกัดกั้นจากกองทหารฝ่ายรัฐบาล สังกัดพรรคฟุนซินเปค ที่นำโดย นายฮุนเซน นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 แทนที่จะเป็นเจ้านโรดม รณฤทธิ์
กองกำลังพรรคฟุนซินเปฝ่ายรัฐบาลได้ทำการสกัดกั้นกองกำลังกลุ่มกบฎไว้จับกุมตัวพลเอก สินสอง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงมหาดไทย สังกัดพรรคประชาชน กับนายเตียซอย อดีตอธิบดีกรมตำรวจ ซึ่งทั้งสองคนเป็นผุ้บัญชาการกองกำลังฝ่ายกบฎหลังจากนั้นจึุงส่งกองกำลังฝ่ายกบฎกลับที่ตั้งโดยไม่มีการปะทะกัน
การรัฐประหารครั้งนี้ มีเสดต็กรมขุนเจ้านโรดม จักรพงษ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีโอรสต่างมารดาในสมเด็จเจ้านโรดม สีหนุ และนายพลเอก สินสอง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผุ้นำในการก่อรัฐประหาร กองทหารฝ่ายรับาลจึงเข้าควบคุมตัวเจ้านโรดม จักรพงษ์
เจ้านโรดม จักรพงษ์ ได้เรียกร้องขอความคุ้มครองจากผุ้สื่อข่าวชาวอเมริกัน และยังเรียกร้องไปยังสมเด็จเน้านโรดม สีหนุ ที่ทรงพำนักอยุ่ ณ กรุงปักกิ่ง เพื่อขออนุญาตเดินทางลบี้ภัยไปกรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
หลังจากนั้นกองทหารฝ่ายรัฐบาลเข้าจับกุมตัวนายพลสินสองที่บ้านพัก พร้อมกันนี้กองทหารฝ่ยรัฐบาลได้ยึดอาวุธปืนจำนวนหนึ่ง และเครื่องมือสิื่สาร ตลอดจนทำการกักตัวนายพลสินสองไว้ที่บ้านพัก สำหรับเจ้านโรดม จักรพงษ์ ต่อมาภายหลังก็ได้รับการอนุญาตจากเจ้านโรดม รณฤทธิ์ให้ลี้ภัยไปยังประเทศมาเลเซีย
!!จับกุม 14 คนไทยพัวพันการรัฐประหาร-ไล่ล่า ส.ส.ไทย พัวเครือชินวัตร?
นายฮุนเซนได้เคยพบปะกับนักธุรกิจชั้นนำ ที่กระทรวงการต่างประเทศ การพบปะดังกล่าว นายฮุนเซนได้กล่าวถึง การเข้าไปลงทุนของนักธุรกิจไทยว่านักธุรกิจไทยเป็นนักฑุุรกิจที่กล้าหาญที่ไปลงทุนในกัมพูชาก่อนที่จะมีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังจากที่มีการเลือกตั้งเชื่อว่านักธุรกิจไทยคงประสบความเสียหายน้อยลง
หลังจากที่ตนได้ร่วมลงนามกับเจ้ารณฤทธิ์เพื่อขอ มติขับนาย สัม รังษี อคีตรัฐมนตรีคลังออกจากตำแน่าง เหนืองจากเป็นบุคคลที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อธุรกิจของต่างประเทศ การหยิบยกสัญญาที่ได้ทำไว้กับรัฐบาลชุดก่อนขึ้นมาทบทวนแล้วบอกว่า เป้นวัญญาที่ไม่ถูกต้องหรือในกรณีที่ธนาคารต่างชาติไปลงทุนในกัมพูชาก็ถูกนาย สัม รังษีกล่าวหาว่าเป็นแหล่งฟอกเงิน
นายฮุนเซน กล่าวว่า เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการลงทุนในดัมพูชาตนขอเอาชีวิตเป็นประกันว่าธุรกิจและการลงทุนของไทยที่จะเข้าไปในกัมพูชาต่อไปนี้จะไม่มีปัญหาอีกต่อไป และขอย้ำว่าจะมอบชีวิตเป็นประกันธุรกิจไทยในกัมพูขา ทั้งยังจะเสนอให้มีการหยิบยกสัญญาที่ยังมีปัญหาขึ้นมาพิจารณาอย่างยุติธรรมอีกครั้งหนึ่้ง โดยจะเร่งให้เสร็จสิ้นปัญหาดดยเร็วที่สุด
การให้สัมภาษณ์ของนายฮุนเซน จึงเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความสำคัญ 2 ประการ ประการแรก ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านโรดม รณฤทธิ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 กันายฮุนเซน นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ไม่ดี นับแต่เริ่มจัดตั้งรัฐบาลผสมและต้องทำงานร่วมกัน
ประการที่สอง ชี้ให้เห็นถึงสายสัมพันธ์อันเกี่ยวเนืองเชื่อมโยง ระหว่างกลุ่มนักธุรแกจไทยกับนายฮุนเซนอย่งเห็นได้ชัด ฉะนั้นการที่นาย สัม รังษี และเจ้สนโรดม รณฤทโิ์เข้ามาทำการรอันเป็นผลกระทบต่อผลประโยชน์ของนักธุรกิจไทย
จึงเป็นที่ต้องสงสัยว่า การรัฐประหารในกัมพูชาครั้งนี้ ผู้ที่เข้าไปพัวพันกับการรัฐประหารก็คือ กลุ่มนักธุรกิจจากประเทศไทย กรณีดังกล่าวเห็นได้ชัดจากการที่กลุ่มนักธุรกิจซึ่งนำโดยอดีตสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรพรรคการเมืองหนึ่งกับพรรคพวก ได้ให้ความช่วยเหลือนำตัวพลเอก สินสอง ผุ้มีส่วนร่วมในการัฐประหารกับพรรคพวกหลบหนีเข้าเมืองทางชายแดนด้านจังหวัดตราด หลังจากที่กลุ่มเขมรเหล่านี้ก่อการรัฐประหารไม่สำเร็จ..(มติชนออนไลน์, เปิดวิทยานิพนธ์"ร้อน"-กลุ่มชินวัตรสัมพันะ์ลึก "ฮุนเซน" พวพันรัฐประหารซ่อนเงื่อนในกัมพูชา?)
วันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2560
1MDB
1 Malaysia Development Berhad 1MDB กองทุนพัฒนามาเลเซีย ซึ่งก่อตั้งโดยนายกรัฐมนตรนี นาจิบ ราซัด ในปี 2009 โอนเอนอยู่บนขอบเหวแห่งการล้มละลาย ท่ามกลางการสืบสวนจากทั่วโลกต่อข้อกล่าวหามีการขโมเงินไปจากกองทุนแห่งนี้หลายพันล้านดอลลาร์ ขณะเดียวกัน นายนาจิบ ยังตกอยู่ภายใต้แรงกดดันต่อกรณีมีเงิน 681 ล้านดอลลาร์ โอนจากต่างแดนเข้าบัญชีส่วนตัวของเขาในปี 2013
ธนาคารกลางมาเลเซียไม่ได้เจาะจงว่ากองทุนต้องคืนเงินกลับประเทศมากน้อยเพียงใดเพียงธนาคารแห่งนี้เคยกดดัน เกี่ยวกับเงิน 1,830 ล้านดอลลาร์ที่กองทุนยอมรับว่าได้ส่งไปยังต่างแดน ณะที่มีคำถามมากมายหมุนวนอยุ่รอบๆ เงินหลายพันบล้านดอบบาร์ที่เคลื่อนไหวอู่ทั่วโลก ทางธนาคารกลางมาเลเซียบอกว่ากองทุนแห่งนี้ล้มเหลวในการพิสูจน์การใช้เงินดังกล่าว หรือปฏิบัติตามคำสั่งก่อนหน้าทนี้ให้คืนเงิน 1,830 ล้านดอลลาร์
1MDB ระบุว่า จะยอมจ่ายเงินค่าปรับทีไม่ระบุจำนวน ฐานไม่ยอมปฏิบัติตามคำสั่งของธนาคารกลางมาเลเซีย แต่ไม่บอกว่าจะคืนเงินส่วนที่ถูกสงสัยหรือไม่
ก่อนหน้านี้ กองทุนฯ ซึ่งมี นายนาจิบ ดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการทีปรึกษา ผิดนัดชำระหนี้พันธบัตร 1,750 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ หลังไม่จ่ายกอกเบี้ยจำนวน 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ กระพือความกังวลว่ารัฐบาลอาจเข้าแทรกแซงและปล่อยกู้แก่ 1MDB ที่อาจสั่นสะเทือนตลาดและส่งผลกระทบต่ออันดับความน่าเชื่อถือของมาเลเซีย
ปัจจุบัน 1NDB มีหนี้พันธบัตรรวมกว่า 11,000 ล้านดอลล่าร์ (ราว 387,046 ล้านบาท)และยืนยันว่า ไม่มีการถ่ายโอนเงินออกนอกกองทุน หรือมีปัญหาทางการเงิน แต่คณะกรรมการชุดหนึ่งในัฐสภากล่าวว่า กองทุนนี้โอนเงินไปต่าประเทศอย่างน่าสงสัยไม่ต่ำกว่า 4,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ...(ผู้จัดการ Online 28 เมษายน 2559, กองทุนฉาว 1MDB อ่ม ธนาคารกลางมาเลเซียบี้คืนเงินที่ส่งไปต่างประเทศ)
.... กองทุน 1MDB ก่อตั้งโดยนา ราจิบ ในปี 2008 โดยใช้เงินรัฐบาลเมือตอนเขาเป็น รองนายกรัฐมนตรีเพื่ออำนวยประโยชน์ให้เกิดการลงทุนในตะวันออกกลาง หลังจากตั้งไม่นานก็ก่อหนี้มูลค่า 11,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หลังซื้อสินทรัพย์ในด้านพังงานและอสังหาริมทรัพย์ เมื่อแผนการที่จะขยหุ้นพลังงานล้มเหลว กองทุนก็ประสบปัญหาในการชำระหนี้จนต้องเปลี่ยนผุ้ตรวจสอบบัญชีอย่างน้อย 2 ครั้ง
เมื่อมีการเปิดเผยการดำเนินงานของ 1MDB ประชาชนก็เห็นความซับซ้อนซ่อนเงือนของธุรกรรมของกองทุนสังเกตเห็นได้ว่ากองทุนมักจ่ายเงินซื้อทรัพย์สินจากบริษัทเอกชนในระคาที่สูงเกินจริง และบริษัทเหล่านี้ต่อมาบริจาคเงินให้การกุศลอีกทีโดยนาย นาจิบ เป็นหัวเรือใหญ่ของกองทุนการกุศลในช่วงเวลาก่อนหน้าเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหญ่ในบางรัฐในปี 2013
Jho Low หนุมนักต่อรองผลประโยชน์ธุรกิจ และเป็นเพื่อของลูกเลี้ยงนาย นาจิบ อีเมลที่ร่วออกมาระบุว่าเขากู้ยืมเงินก้อนใหญ่โดยใช้บริการค้ำประกันเงินกู้ของรัฐโดยไม่มีการอนุมัติจาธนาคารกลาย่ิงไปกว่านั้น เขามีบทบาทสำคัญในหารดำเนินงานร่วมลงทุนของกองทุนกับบริษัทน่าสงสัยในกาบูดาบีจนกองทุนสูญเงินไป 2,500 ล้านเหรียญสหรัฐ
กองทุนฯ อื้อฉาวในหลายเรื่องเกี่ยวกับการใช้เงินกองทุนในลักษณะซื้อทรัพย์สินจากเพื่อเศรษฐีที่คุ้นเคยผุ้บริหารกองทุนในระคาแพง แต่เวลาขายกลับขายราคาถูกจนหนี้ท่วมกองทุน นอกจานี้ยงยักย้ายถ่ายเทเงินแบบซ่อนเงื่อนเข้าบัญชีนาย นาจิบ อีกดังที่กล่าวแล้ว..(http//www.thaipublica.org,"หนังตื่นเต้นชื่อการเมืองมาเลเซีย".16 กรกฎาคม 2015)
กระทรวงยุติธรรมของสหรัฐฯ ได้ยื่นฟ้องต่อศาลใหยึดทรัพย์สินมูลค่ากว่า พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ ที่ยักยอกมาจากกองทันเพื่อพัฒนามาเลิเวีย พร้อมชีวา่ เงินจำนวนมหาศาลที่เข้าไปอยู่ในบัญชีของนายนาจิบ ราซัค นายกรัฐมนตรีมาเลิเซีย ไม่ได้มาจากการบริจาคของราชวงศ์ซาอุดิอาระเบียดังที่กล่าวอ้าง
สำนวนฟ้องของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ระบุว่า เงินจำนวนมากถูกโอนออกจากกองทุน เข้าบัญชีธนาคารหลายแห่งในหลายประเทศ โดยบุคคลใกล้ชิดของนายนาจิบหลายคนได้นำเงินจำนวนดังกล่าวมาใช้ซื้อของมีค่าต่างๆ
อัยการสูงสุดของสหรัฐฯ เปิดเผยว่า เงินจำนวนดังกล่าวเป็นเพียงส่วนหนึ่งของเงินมูลค่ากว่า 3 พันล้านดอลล่าร์ ซึ่งถูกยักยอกจากกองทุนฯ โดยมีสถาบันการเงินหลายแห่งนสหรัฐฯ ทำหน้าที่ฟอกเงิน พร้อมย้ำว่าต้องการปกป้องระบบการเงินของประเทศจกาากรถูกใช้เป็นชข่องทางในการคอร์รัปชั่น...(http//www.org, สหรัฐฯฟ้องอายัดทรัพย์สินจากการยักยอกเงินคดีกองทุน 1MDB, 24 กรกฎาคม 2016)
กลุ่มนักเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูปเลื้อกตั้ง "เอบร์ซิห์ Bersih" ได้นัดชุมนุมใหญ่เพื่อบีบให้การดำเนินคดีกับนายกฯ นาจิบ ซึ่งถูกกล่าวหาว่ายักยอกเงินนับพันๆ ล้านดอลลาร์ไปจากกองทุนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาว
สภานการณ์ทางการเมืองมาเลเซียทวีความตึงเครียดขึ้นเรื่อยๆ หลังจากกลุ่ม "เสื้อแดง" ที่มีแนวคิดขวาจัดประกาศจะระดมมวลชนที่สนับสนุน นาจิบ ออกมาชุมนุมต้านม็อบเสื้อเหลือง
รัฐบาลมาเลเซียได้สั่งจับกุมแกนนำทั้ง 2 ฝ่ายเพียงไม่กี่ชั่วโมงก่อนจะถึงเวลานัดชุมนุมใหญ่ แต่ยัไม่แน่ว่าการทำเช่นนี้จะโหมกระพือสถานการณ์ให้ย่ำแย่ลงอีกหรือไม่.
สถานการณ์ทางการเมืองในมาเลเซียปั่นป่วนมานานกว่าปี หลังจากที่ นาจิบ ถูกครหาว่ายักยอกเงินนับพันๆล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ ไปจากกองทุนพัฒนามาเลเซียซึ่งเขาเป็นผุ้ก่อตั้ง
นาจิบ วัย 63 ปี และกองทุนฯ ต่างยืนกรามในความบริสุทธิ์ ทว่ากระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ออกมาแฉข้อมูลอย่างเป็นนัยๆ ว่าคดียักยอกเงินจำนวนมหาศาลนี้พัวพันไปถึงผู้นำมาเลเซีย บุตรบุญรธรรม และคนสนิทอีกหลายคน
นาจิบ ใช้อิทธิพลยุติกระบวนการสอบสวนภายในประเทศเมือปีที่แล้ว ทำให้นักวิจารณ์หลายคนออกมาตำหนิ ว่าใช้อำนาจ"เผด็จการ"ปกปิดความฉาวโฉ่ ทั้งยังจับกุมฝ่ายตรงข้าม และปิดก้้นการทำงานของสื่อมวลชน
ผุ้นำมาเลเซียแถลงผ่านสื่อวิทยุ ว่า การเคลื่อหนไหวของกลุ่มเบอร์ซิห์เป็นเพียง "แผนลวง" เพื่อ "โค่นล้มรัฐบาลที่มาจาการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย"(ผุ้จัดการ Online หวั่นม๊อบชนม็อบ! "เหลืองมาเลย์" ชุมนุมใหญ่กลางกรุงขับไล่นายก เสี่ยงปะทะ "เสื้อแดง"หนุนนายกฯ, 19 พฤศจิกายน 2559)
4 ธันวาคม 2559 ชาวมาเลเซียและชาวดรฮิงญาที่พำนักในมาเลิเซียรราว หนึ่งหมือนคน ออกมาร่วมชุมนุมในกรุงกัวลาลัมเปอร์เพื่อประท้วงรัฐบาลพม่าที่เดินหน้ากวาดล้างชาวมุสลบิมโรฮิงญาในรัฐยะไข่ โดยนายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัค ได้เข้าร่วมการชุมนุมด้วย แม้ว่าก่อนหน้านี้รัฐบาลพม่าได้ออกมาเตือนผู้นำมาเลเซียมิให้เข้าร่วมเพราะจำถือว่าเป็นการละเมิดหลักไม่แทรกแซงกิจการภายในของเพื่อสมาชิกอาเซียน แต่นาจิบประกาศในที่ชุมนุมว่า ไม่แคร์!!!
"ใครบางคนช่วยบอกพม่าที่ว่า กฎบัตรอาเซียนคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอยุ่เช่นกัน พวกเขาตาบอดอยู่หรือ พวกเขาจะตีความอย่างที่ตัวเองชอบแค่นั้นไม่ได้" นายกรัฐมนตรีมาเลซียปราศรัยต่อนห้ามวลขนเรือนหมื่นอย่างดุเดือด ทั้งกล่าวหยัน นางอองซาน ซูจี ผู้นำรัฐบาลพม่าในทางพฟตินัยด้วยว่า มีรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพไว้เพื่ออะไร
"เราอย่างจะบออกอองซาน ซุจีว่า พอกันที เราต้อบงปกป้องมุสลิมและอิสลาม" ผู้นำมาเลเซียกล่าวท่ามกลางผู้สนับสนุนที่พากันร้องตะโกนสรรเสริญพระเจ้า...
มาเลเซีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นมุสลิม และให้ที่พักพิงแก่ชาวโรฮิงญาในานะผู้ขอลี้ภัยราว 5.6 หมื่นคน ยกระดับการวิพากษ์ตำหนิพม่ากรณีวิกฤตโรฮิงจาอย่างเห็นได้ชัด รวมถึงการออกแถลงการณ์ กล่าวหาพม่าว่ากำลังกำจัดชาติพันธ์..
อย่างไรก็ดี นายเจมส์ ชิน ผู้อำนวยการสถาบันเอเชีย มหาวิทยาลััทาสมาเนีย ให้สัมภาษณ์เอเอฟพีว่า การออกมาร่วมชุมนุมของนายนาจิบ ก็เพื่อยกสถานะองตนเองในฐานผู้นำมุสลิม ขณะการเลือกตั้งทั่วไปกำลังใกล้เข้ามา และตัวเขาเองกำลังต่อสู้กับข้อหาทุจริตยักยอกเงินหลายพันล้านดอบบาร์
เช่นเดียวกับ บริดเจ็ท เวลช์ ผุ้เชี่ยวชาญการเมืองมาเลเซีย มหาวิทยาลัย อีเปค ในตุรกี ที่มองว่า นายนาจิบ กำลังมองหาอะไรบางอย่างเพื่อทำให้ตนเองดูดีขึ้นและประเด็นโรฮิงจา ก็เป็นเครื่องมือง่ายๆ ที่นำมาใช้ได้ หากรัฐบาลอาทรโรฮิงจาจริงๆ ก็คงจะหันมาสำรวจการปฏิบัติต่อชุมชนกนกลุ่มนี้ภายในประเทศ ทั้งนี้ มาเลเซียอาจเป็นความหวังหนึ่งของโรฮิงจาที่หนีออกจากพม่า แต่สุดท้ายแล้ว พวกเขาจำนวนมากก็ยงคงตกอยู่ในสภาพไร้รัฐ และถุกเอารับเอาเปรีบในรูปแบบใหหม่ในมาเลเซีย( คม ชัด ลุึก "นาจิบ ซัด อองซาน ซูจี ต้องหยุดฆ่าล้างโรฮิงจา" 4 ธันวาคม 2599)
มหาเธร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีวัย 91 ปี เปิดเผยกับสำนักข่าวเอเอฟพี ว่า จะเดินหน้ากดดันนาจิบต่อไป การอยู่ในอำนาจต่อไปของนาจิบเป็นตัวการทำลายประเทศ เนื่องจากความวุ่นวายไม่เปิดทางให้กับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจชุลอตัวและอัตราเงินเฟ้อที่เพ่ิมสูงขึ้น อดีตนายกรัฐมนตรียังระบุอกีว่า นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันมีการจุดประเด็นด้านชาติพันธ์ด้วยการดึงฐานเสียนงขชาวมาเลเซียเชื้อชาติมาเลย์และนับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งจะสร้างความขัดแย้งทางชาติพัน
ธ์กับชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน
ก่อนหน้านี้ หนังสือพิมพ์เซาท์ ไชน่ามอร์นิ่งโพสต์ เปิดเผยว่า นาจิบเปิดเผยก่อนหน้าทนี้ต่อหน้าพรรคอัมโน ระบุว่า การเลือกตั้งครั้งหน้าจะเป็นการต่อสู้เพื่อความอยู่รอดระหว่างพรรค อัมโน พรรครัฐบาล และพันธมิตร ซึ่งสนับสนุนชาวมาเลเซยเชื้อสาย มาเลย์กับ พรรคฝ่ายค้าน นำโดยพรรคกิจประชาธิปไตย(ดีเอพี) ซึ่งนาจิบระบุว่า เป็นพรรคที่ส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลเซียเชื้อชาติจีน และมีการต่อ
ต้านชาวมุสลิม รวมถึงชาวมาเลเซียเชื้อสายมาเลย์
"ถ้าประเทศนี้ตกอยู่ในมือของดีเอพี ซึ่งมีแนวคิดเสรีนิยมสุดโต่งและแนวคิดไม่เชื่อในศาสนา จะส่งผลให้สิทธิและเอกสิทธิ์ของชาวมาเลเซีย ซึ่งอัมโนปกป้องมาโดยตลอด ต้องหายไป" นาจิบ กล่าว
สิวามุรุกัน ปานเตียน ผุ้เชียวชาญด้านรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ ไซแอนซ์ ในมาเลเซีย กล่าวว่า นาจิบพยายามดึงความภักดีและการอยู่ในโอวาทขึ้นมาเพื่อรวบรวมพรรคให้เป็นหนึ่งเดี่ยว และเพื่อต่อสู้กับฝ่ายดีเอพี รวมถึงกำจัดอิทธิพลของมหาเธร์ ซึ่งเคยเป้นหัวหน้าพรรคอัาโน นาจิบพยายามดึงความกลัวทางเชื้อชาติเพื่อรวบรวมพรรคมอัมโนอีกครั้ง
หนังสือพมิพ์ไฟแนนเซีลไทมส์ รายงานอ้างแหล่งข่าวว่า รัฐวิสาหกิจจากจีนเตรียมเป็นผุ้จ่ายค่ายอมความให้กับ 1MDB ในการยุติความขัดแย้งกับกองทีนดินเตอร์เนชันแนล ปิโตรเลียม อินเวสต์เมนต์ โค (IPIC) กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติของสหรัฐอาหรับ เอมิเรดส์ ซึ่งเรียกร้องค่าเสีย หายรวม 6,500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ(ราว2.2 แสนล้านบาท) IPIC ระบุว่า 1MDB ไม่ชำระหนี้กว่า พันล้านเหรียญสหรัญที่มีกำหนดชำระตั้งแต่ปีก่อน และยังเป็นผุ้จ่ายดอกเบี้ยหุ้นกู้แทนว1MDB เป็นเงิน 52,4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ(ราว 1,824 ล้านบาท) ในฐานะ ผุ้ค้ำประกันหุ้นกู้ซึ่งมีกำหนดไถ่ถอน ปี 2022 ก่อนที่IPICจะยื่นฟ้องต่อศาลอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศแห่งลอนดอน
ไฟแนนเชียลไทมส์ ระบุว่า ที่ผ่านมา จีนกลายเป็นแหล่งเงินทุนสำคัญสำหรับ 1MDB โดยรัฐวิสาหกิจจากจีนเข้าซื้อสินทรัพย์ ซึ่งหมายรวมถึงธุรกิจพลังงาน โดยนายนาจิบ เปิดเผยว่า กาเข้าซื้อของจีนช่วยให้ กองทุนฯ ลดหนี้ไปถึง 4.04 หมื่นล้าน ริงกิต (ราว 3.3ล้านบาทไทย) ทามกลางความสัมพัน
ธ์ระหว่างสองชาติที่แน่นแฟ้นขึ้น ขณะที่สหรัฐเข้าสอบสวนกองทุน ดังกล่าว และพบว่ามีความผิปกติของการเคลื่อนย้ายเงินทุนกว่า สามพันห้าร้อยล้านเหรียญสหรัฐณ(ราว 1.22แสนล้านบาท) ...(โพสต์ทูเดย์, วิเคราะห์, "การเมืองมาเลเซียปั่นป่วนจุดประกายขัดแย้งเชื้อชาติ" 8 ธันวาคม 2599)
ธนาคารกลางมาเลเซียไม่ได้เจาะจงว่ากองทุนต้องคืนเงินกลับประเทศมากน้อยเพียงใดเพียงธนาคารแห่งนี้เคยกดดัน เกี่ยวกับเงิน 1,830 ล้านดอลลาร์ที่กองทุนยอมรับว่าได้ส่งไปยังต่างแดน ณะที่มีคำถามมากมายหมุนวนอยุ่รอบๆ เงินหลายพันบล้านดอบบาร์ที่เคลื่อนไหวอู่ทั่วโลก ทางธนาคารกลางมาเลเซียบอกว่ากองทุนแห่งนี้ล้มเหลวในการพิสูจน์การใช้เงินดังกล่าว หรือปฏิบัติตามคำสั่งก่อนหน้าทนี้ให้คืนเงิน 1,830 ล้านดอลลาร์
1MDB ระบุว่า จะยอมจ่ายเงินค่าปรับทีไม่ระบุจำนวน ฐานไม่ยอมปฏิบัติตามคำสั่งของธนาคารกลางมาเลเซีย แต่ไม่บอกว่าจะคืนเงินส่วนที่ถูกสงสัยหรือไม่
ก่อนหน้านี้ กองทุนฯ ซึ่งมี นายนาจิบ ดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการทีปรึกษา ผิดนัดชำระหนี้พันธบัตร 1,750 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ หลังไม่จ่ายกอกเบี้ยจำนวน 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ กระพือความกังวลว่ารัฐบาลอาจเข้าแทรกแซงและปล่อยกู้แก่ 1MDB ที่อาจสั่นสะเทือนตลาดและส่งผลกระทบต่ออันดับความน่าเชื่อถือของมาเลเซีย
ปัจจุบัน 1NDB มีหนี้พันธบัตรรวมกว่า 11,000 ล้านดอลล่าร์ (ราว 387,046 ล้านบาท)และยืนยันว่า ไม่มีการถ่ายโอนเงินออกนอกกองทุน หรือมีปัญหาทางการเงิน แต่คณะกรรมการชุดหนึ่งในัฐสภากล่าวว่า กองทุนนี้โอนเงินไปต่าประเทศอย่างน่าสงสัยไม่ต่ำกว่า 4,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ...(ผู้จัดการ Online 28 เมษายน 2559, กองทุนฉาว 1MDB อ่ม ธนาคารกลางมาเลเซียบี้คืนเงินที่ส่งไปต่างประเทศ)
.... กองทุน 1MDB ก่อตั้งโดยนา ราจิบ ในปี 2008 โดยใช้เงินรัฐบาลเมือตอนเขาเป็น รองนายกรัฐมนตรีเพื่ออำนวยประโยชน์ให้เกิดการลงทุนในตะวันออกกลาง หลังจากตั้งไม่นานก็ก่อหนี้มูลค่า 11,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หลังซื้อสินทรัพย์ในด้านพังงานและอสังหาริมทรัพย์ เมื่อแผนการที่จะขยหุ้นพลังงานล้มเหลว กองทุนก็ประสบปัญหาในการชำระหนี้จนต้องเปลี่ยนผุ้ตรวจสอบบัญชีอย่างน้อย 2 ครั้ง
เมื่อมีการเปิดเผยการดำเนินงานของ 1MDB ประชาชนก็เห็นความซับซ้อนซ่อนเงือนของธุรกรรมของกองทุนสังเกตเห็นได้ว่ากองทุนมักจ่ายเงินซื้อทรัพย์สินจากบริษัทเอกชนในระคาที่สูงเกินจริง และบริษัทเหล่านี้ต่อมาบริจาคเงินให้การกุศลอีกทีโดยนาย นาจิบ เป็นหัวเรือใหญ่ของกองทุนการกุศลในช่วงเวลาก่อนหน้าเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหญ่ในบางรัฐในปี 2013
Jho Low หนุมนักต่อรองผลประโยชน์ธุรกิจ และเป็นเพื่อของลูกเลี้ยงนาย นาจิบ อีเมลที่ร่วออกมาระบุว่าเขากู้ยืมเงินก้อนใหญ่โดยใช้บริการค้ำประกันเงินกู้ของรัฐโดยไม่มีการอนุมัติจาธนาคารกลาย่ิงไปกว่านั้น เขามีบทบาทสำคัญในหารดำเนินงานร่วมลงทุนของกองทุนกับบริษัทน่าสงสัยในกาบูดาบีจนกองทุนสูญเงินไป 2,500 ล้านเหรียญสหรัฐ
กองทุนฯ อื้อฉาวในหลายเรื่องเกี่ยวกับการใช้เงินกองทุนในลักษณะซื้อทรัพย์สินจากเพื่อเศรษฐีที่คุ้นเคยผุ้บริหารกองทุนในระคาแพง แต่เวลาขายกลับขายราคาถูกจนหนี้ท่วมกองทุน นอกจานี้ยงยักย้ายถ่ายเทเงินแบบซ่อนเงื่อนเข้าบัญชีนาย นาจิบ อีกดังที่กล่าวแล้ว..(http//www.thaipublica.org,"หนังตื่นเต้นชื่อการเมืองมาเลเซีย".16 กรกฎาคม 2015)
กระทรวงยุติธรรมของสหรัฐฯ ได้ยื่นฟ้องต่อศาลใหยึดทรัพย์สินมูลค่ากว่า พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ ที่ยักยอกมาจากกองทันเพื่อพัฒนามาเลิเวีย พร้อมชีวา่ เงินจำนวนมหาศาลที่เข้าไปอยู่ในบัญชีของนายนาจิบ ราซัค นายกรัฐมนตรีมาเลิเซีย ไม่ได้มาจากการบริจาคของราชวงศ์ซาอุดิอาระเบียดังที่กล่าวอ้าง
สำนวนฟ้องของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ระบุว่า เงินจำนวนมากถูกโอนออกจากกองทุน เข้าบัญชีธนาคารหลายแห่งในหลายประเทศ โดยบุคคลใกล้ชิดของนายนาจิบหลายคนได้นำเงินจำนวนดังกล่าวมาใช้ซื้อของมีค่าต่างๆ
อัยการสูงสุดของสหรัฐฯ เปิดเผยว่า เงินจำนวนดังกล่าวเป็นเพียงส่วนหนึ่งของเงินมูลค่ากว่า 3 พันล้านดอลล่าร์ ซึ่งถูกยักยอกจากกองทุนฯ โดยมีสถาบันการเงินหลายแห่งนสหรัฐฯ ทำหน้าที่ฟอกเงิน พร้อมย้ำว่าต้องการปกป้องระบบการเงินของประเทศจกาากรถูกใช้เป็นชข่องทางในการคอร์รัปชั่น...(http//www.org, สหรัฐฯฟ้องอายัดทรัพย์สินจากการยักยอกเงินคดีกองทุน 1MDB, 24 กรกฎาคม 2016)
กลุ่มนักเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูปเลื้อกตั้ง "เอบร์ซิห์ Bersih" ได้นัดชุมนุมใหญ่เพื่อบีบให้การดำเนินคดีกับนายกฯ นาจิบ ซึ่งถูกกล่าวหาว่ายักยอกเงินนับพันๆ ล้านดอลลาร์ไปจากกองทุนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาว
สภานการณ์ทางการเมืองมาเลเซียทวีความตึงเครียดขึ้นเรื่อยๆ หลังจากกลุ่ม "เสื้อแดง" ที่มีแนวคิดขวาจัดประกาศจะระดมมวลชนที่สนับสนุน นาจิบ ออกมาชุมนุมต้านม็อบเสื้อเหลือง
รัฐบาลมาเลเซียได้สั่งจับกุมแกนนำทั้ง 2 ฝ่ายเพียงไม่กี่ชั่วโมงก่อนจะถึงเวลานัดชุมนุมใหญ่ แต่ยัไม่แน่ว่าการทำเช่นนี้จะโหมกระพือสถานการณ์ให้ย่ำแย่ลงอีกหรือไม่.
สถานการณ์ทางการเมืองในมาเลเซียปั่นป่วนมานานกว่าปี หลังจากที่ นาจิบ ถูกครหาว่ายักยอกเงินนับพันๆล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ ไปจากกองทุนพัฒนามาเลเซียซึ่งเขาเป็นผุ้ก่อตั้ง
นาจิบ วัย 63 ปี และกองทุนฯ ต่างยืนกรามในความบริสุทธิ์ ทว่ากระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ออกมาแฉข้อมูลอย่างเป็นนัยๆ ว่าคดียักยอกเงินจำนวนมหาศาลนี้พัวพันไปถึงผู้นำมาเลเซีย บุตรบุญรธรรม และคนสนิทอีกหลายคน
นาจิบ ใช้อิทธิพลยุติกระบวนการสอบสวนภายในประเทศเมือปีที่แล้ว ทำให้นักวิจารณ์หลายคนออกมาตำหนิ ว่าใช้อำนาจ"เผด็จการ"ปกปิดความฉาวโฉ่ ทั้งยังจับกุมฝ่ายตรงข้าม และปิดก้้นการทำงานของสื่อมวลชน
ผุ้นำมาเลเซียแถลงผ่านสื่อวิทยุ ว่า การเคลื่อหนไหวของกลุ่มเบอร์ซิห์เป็นเพียง "แผนลวง" เพื่อ "โค่นล้มรัฐบาลที่มาจาการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย"(ผุ้จัดการ Online หวั่นม๊อบชนม็อบ! "เหลืองมาเลย์" ชุมนุมใหญ่กลางกรุงขับไล่นายก เสี่ยงปะทะ "เสื้อแดง"หนุนนายกฯ, 19 พฤศจิกายน 2559)
4 ธันวาคม 2559 ชาวมาเลเซียและชาวดรฮิงญาที่พำนักในมาเลิเซียรราว หนึ่งหมือนคน ออกมาร่วมชุมนุมในกรุงกัวลาลัมเปอร์เพื่อประท้วงรัฐบาลพม่าที่เดินหน้ากวาดล้างชาวมุสลบิมโรฮิงญาในรัฐยะไข่ โดยนายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัค ได้เข้าร่วมการชุมนุมด้วย แม้ว่าก่อนหน้านี้รัฐบาลพม่าได้ออกมาเตือนผู้นำมาเลเซียมิให้เข้าร่วมเพราะจำถือว่าเป็นการละเมิดหลักไม่แทรกแซงกิจการภายในของเพื่อสมาชิกอาเซียน แต่นาจิบประกาศในที่ชุมนุมว่า ไม่แคร์!!!
"เราอย่างจะบออกอองซาน ซุจีว่า พอกันที เราต้อบงปกป้องมุสลิมและอิสลาม" ผู้นำมาเลเซียกล่าวท่ามกลางผู้สนับสนุนที่พากันร้องตะโกนสรรเสริญพระเจ้า...
มาเลเซีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นมุสลิม และให้ที่พักพิงแก่ชาวโรฮิงญาในานะผู้ขอลี้ภัยราว 5.6 หมื่นคน ยกระดับการวิพากษ์ตำหนิพม่ากรณีวิกฤตโรฮิงจาอย่างเห็นได้ชัด รวมถึงการออกแถลงการณ์ กล่าวหาพม่าว่ากำลังกำจัดชาติพันธ์..
อย่างไรก็ดี นายเจมส์ ชิน ผู้อำนวยการสถาบันเอเชีย มหาวิทยาลััทาสมาเนีย ให้สัมภาษณ์เอเอฟพีว่า การออกมาร่วมชุมนุมของนายนาจิบ ก็เพื่อยกสถานะองตนเองในฐานผู้นำมุสลิม ขณะการเลือกตั้งทั่วไปกำลังใกล้เข้ามา และตัวเขาเองกำลังต่อสู้กับข้อหาทุจริตยักยอกเงินหลายพันล้านดอบบาร์
เช่นเดียวกับ บริดเจ็ท เวลช์ ผุ้เชี่ยวชาญการเมืองมาเลเซีย มหาวิทยาลัย อีเปค ในตุรกี ที่มองว่า นายนาจิบ กำลังมองหาอะไรบางอย่างเพื่อทำให้ตนเองดูดีขึ้นและประเด็นโรฮิงจา ก็เป็นเครื่องมือง่ายๆ ที่นำมาใช้ได้ หากรัฐบาลอาทรโรฮิงจาจริงๆ ก็คงจะหันมาสำรวจการปฏิบัติต่อชุมชนกนกลุ่มนี้ภายในประเทศ ทั้งนี้ มาเลเซียอาจเป็นความหวังหนึ่งของโรฮิงจาที่หนีออกจากพม่า แต่สุดท้ายแล้ว พวกเขาจำนวนมากก็ยงคงตกอยู่ในสภาพไร้รัฐ และถุกเอารับเอาเปรีบในรูปแบบใหหม่ในมาเลเซีย( คม ชัด ลุึก "นาจิบ ซัด อองซาน ซูจี ต้องหยุดฆ่าล้างโรฮิงจา" 4 ธันวาคม 2599)
มหาเธร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีวัย 91 ปี เปิดเผยกับสำนักข่าวเอเอฟพี ว่า จะเดินหน้ากดดันนาจิบต่อไป การอยู่ในอำนาจต่อไปของนาจิบเป็นตัวการทำลายประเทศ เนื่องจากความวุ่นวายไม่เปิดทางให้กับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจชุลอตัวและอัตราเงินเฟ้อที่เพ่ิมสูงขึ้น อดีตนายกรัฐมนตรียังระบุอกีว่า นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันมีการจุดประเด็นด้านชาติพันธ์ด้วยการดึงฐานเสียนงขชาวมาเลเซียเชื้อชาติมาเลย์และนับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งจะสร้างความขัดแย้งทางชาติพัน
ธ์กับชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน
ก่อนหน้านี้ หนังสือพิมพ์เซาท์ ไชน่ามอร์นิ่งโพสต์ เปิดเผยว่า นาจิบเปิดเผยก่อนหน้าทนี้ต่อหน้าพรรคอัมโน ระบุว่า การเลือกตั้งครั้งหน้าจะเป็นการต่อสู้เพื่อความอยู่รอดระหว่างพรรค อัมโน พรรครัฐบาล และพันธมิตร ซึ่งสนับสนุนชาวมาเลเซยเชื้อสาย มาเลย์กับ พรรคฝ่ายค้าน นำโดยพรรคกิจประชาธิปไตย(ดีเอพี) ซึ่งนาจิบระบุว่า เป็นพรรคที่ส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลเซียเชื้อชาติจีน และมีการต่อ
"ถ้าประเทศนี้ตกอยู่ในมือของดีเอพี ซึ่งมีแนวคิดเสรีนิยมสุดโต่งและแนวคิดไม่เชื่อในศาสนา จะส่งผลให้สิทธิและเอกสิทธิ์ของชาวมาเลเซีย ซึ่งอัมโนปกป้องมาโดยตลอด ต้องหายไป" นาจิบ กล่าว
สิวามุรุกัน ปานเตียน ผุ้เชียวชาญด้านรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ ไซแอนซ์ ในมาเลเซีย กล่าวว่า นาจิบพยายามดึงความภักดีและการอยู่ในโอวาทขึ้นมาเพื่อรวบรวมพรรคให้เป็นหนึ่งเดี่ยว และเพื่อต่อสู้กับฝ่ายดีเอพี รวมถึงกำจัดอิทธิพลของมหาเธร์ ซึ่งเคยเป้นหัวหน้าพรรคอัาโน นาจิบพยายามดึงความกลัวทางเชื้อชาติเพื่อรวบรวมพรรคมอัมโนอีกครั้ง
หนังสือพมิพ์ไฟแนนเซีลไทมส์ รายงานอ้างแหล่งข่าวว่า รัฐวิสาหกิจจากจีนเตรียมเป็นผุ้จ่ายค่ายอมความให้กับ 1MDB ในการยุติความขัดแย้งกับกองทีนดินเตอร์เนชันแนล ปิโตรเลียม อินเวสต์เมนต์ โค (IPIC) กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติของสหรัฐอาหรับ เอมิเรดส์ ซึ่งเรียกร้องค่าเสีย หายรวม 6,500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ(ราว2.2 แสนล้านบาท) IPIC ระบุว่า 1MDB ไม่ชำระหนี้กว่า พันล้านเหรียญสหรัญที่มีกำหนดชำระตั้งแต่ปีก่อน และยังเป็นผุ้จ่ายดอกเบี้ยหุ้นกู้แทนว1MDB เป็นเงิน 52,4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ(ราว 1,824 ล้านบาท) ในฐานะ ผุ้ค้ำประกันหุ้นกู้ซึ่งมีกำหนดไถ่ถอน ปี 2022 ก่อนที่IPICจะยื่นฟ้องต่อศาลอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศแห่งลอนดอน
ไฟแนนเชียลไทมส์ ระบุว่า ที่ผ่านมา จีนกลายเป็นแหล่งเงินทุนสำคัญสำหรับ 1MDB โดยรัฐวิสาหกิจจากจีนเข้าซื้อสินทรัพย์ ซึ่งหมายรวมถึงธุรกิจพลังงาน โดยนายนาจิบ เปิดเผยว่า กาเข้าซื้อของจีนช่วยให้ กองทุนฯ ลดหนี้ไปถึง 4.04 หมื่นล้าน ริงกิต (ราว 3.3ล้านบาทไทย) ทามกลางความสัมพัน
ธ์ระหว่างสองชาติที่แน่นแฟ้นขึ้น ขณะที่สหรัฐเข้าสอบสวนกองทุน ดังกล่าว และพบว่ามีความผิปกติของการเคลื่อนย้ายเงินทุนกว่า สามพันห้าร้อยล้านเหรียญสหรัฐณ(ราว 1.22แสนล้านบาท) ...(โพสต์ทูเดย์, วิเคราะห์, "การเมืองมาเลเซียปั่นป่วนจุดประกายขัดแย้งเชื้อชาติ" 8 ธันวาคม 2599)
วันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2560
Rodrigo Roa Duterte
ใน พ.ศ. 2559 เขาลงสมัครรับเลือตั้งเป็นประธานาธิบดี และได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี และได้รับชัยชนะ เขาประกาศนโยบายขั้นรุนแรงในการกวาดล้างอาชญากรรมใหหมกไปจาฟิลิปปินส์ภายใน 6 เดือน และตั้งเป้าหมายจะสังหารอาชญากรในฟิลิปปินส์ให้ถึงหนึ่งแสนคน.(http//www.th.wikipedia.org โรดรีโก ดูแตร์เต)
ในเวลาเพียงกว่าหนึ่งร้อยวันในการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ด้วยอำนาจและนโยบายปราบปรามยาเสพติดอันเข้มงวด มีผู้เสียชีวิตจากากรปราบปรามไปแล้วกว่า 3,500 คน ซึ่งนอกจากประเด็นที่เป็นที่สนใจของสื่อต่างชาติ ความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดระหว่างฟิลิปินส์ กับสหรัฐอเมริกา
บางส่วนจากการสัมภาษณ์ดูเตอร์เต "..ในฟิลิปปินส์มีผุ้ติดยาเสพติดมากถึง 3 ล้านคน และจำนวนนี้กำลังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นถ้าไม่ทำอะไรสักอย่างเพื่อแก้ไขปัญหา คนรุ่นต่อไปของฟิลิปินส์ก็จะยิ่งได้รับผลกระทบจากยาเสพติดมากขึ้น ก็ในเมื่อคุรทำลายประเทศของผม ผมก็จะฆ่าคุณ ซึ่งมัเป้นเรื่องที่ถูกต้องตามกฎหมาย ถ้าคุณทำลายเด็กๆ ชาวฟิลิปปินส์ ผมก็จะฆ่าคุณ มันเป็นอะไรที่สมเหตุสมผล และไม่มีอะไรผิดในการพยายามปกป้องคนรุ่นต่อๆ ไปนี้
ฟิลิปปินส์จะไม่ยอมแพ้ในการต่อสู้ เพราะนี้คือสิทธิที่เราควรได้ คุณสามารถเจรจาต่อรองเพื่อป้องกันการเกิดสงครามได้ซึงทางจีนก็ได้เชิญผมไปเพื่อเจรจาเรื่องนี้เช่นกัน.."
และเมื่อถามถึงความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดกับสหรัฐอเมริกา ดูเตอร์เต้กล่าวว่าทั้งหมดเกิดขึ้นเพาระอเมริการวิพากษณ์วิจารณ์นโยบายปราบปรามยาเสพติดของเขา
"... มีเพียงอเมริกาที่เรียกขึ้นตอนปฏิบัติงานปกติในประเทศนั้นๆ ว่าเป็นความรุนแรง และละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามที่ทุกคนได้ทราบจากข่าวก่อนหน้า พวกเขารวบรวมหลักฐานไปให้สหประชาชาติพิจารณา ทั้งๆ ที่ีในความเป็นจริงแล้วหากเป็นการละเมิดจริงขึ้นตอนควรจะเร่ิมจากในสหประชาชาติเองด้วยซ้ำ ซึ่งฟิลิปปินส์ก็เป็นนึ่งในประเทศสมาชิกของสหประชาชาติ"(้http//www.posttoday.com ,"รู้จักโรดริโก ดูเตอร์เก ปธน.ฟิลิปปินส์สุดโหดผุ้นี้ให้มากขึ้น")
6 ก.ย. 2558 ประธานาธิบดีโรคริโก ดูเตอร์เก แห่งฟิลิปปินส์ ระบุในแถลงการณ์ที่อ่านโดยโฆษกส่วนตัว ว่าถ้อยคำดังกล่าวไม่ได้มีเจตนาแดกดันเป็นการส่วนตัวต่อประธานาธิบดีบารัค โอบาม ผุ้นำสหรัฐฯ แต่เป็นการตอบโต้เฉพาะหน้าต่อคำถามบ้างอย่างจากสื่อที่ปลุกเร้าให้เกิดความกังวลและความลำบากใจ แถลงการณ์ยังระบุอีกว่า มีการตกลงร่วมกันให้เลื่อนการพบกันระหวางผุ้นำของทั้งสองชาติออกไปก่อน
"ลูกกระหรี่ ผมจะสาบแช่งคุณในที่ประชุม" ดูเตอร์เตสบถอย่างฉุนเฉียว อย่างไรก็ตม ทั้นที่ที่เดินทางถึงเวียงจันทร์เมืองหลวงของลาวเพื่อเข้าร่วมประชุมสุดยอดสมาคนประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(อาเซียน) ช่วงค่ำวันจันทร์ ดูเตอร์เตเปลี่ยนท่าที่ฉับพลันโดยบอกไม่อยากมีปัญหา "ผมไม่อย่างทะเลาะกับเขาหรอก เขาเป็นถึงประธานาธิบดีที่มีอำนาจมากที่สุดในโลก" ผุ้นำแดนตากาล็อก กล่าวพร้อมกับบอกอีกว่า เขาโกรธเจ้าหน้าที่กระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ ที่วิจารณ์เรื่องสิทธิมนุษยชนไม่เลิกรา"
ด้านโอบามาได้ทราบข่าวเกี่ยวกับคำพูดหมิ่นประมาท หลังจาเสร็จสิ้นการประชุมซัมมิต G20 มี่เมืองหางโจว ทางภาคตะวันออกของจีนโดยเขาได้บอกให้คณะผุ้ช่วยไปพูดคุยกับเหล่าเจ้าหน้าที่ฟิลิปปินส์ เพื่อทบทวนว่าการประชุมทวิภาคีดังกล่าวจะมีการสนทนาอย่างสร้างสรรค์หรือก่อประโยชน์ใดๆ หรือไม่ ซึ่งก่อให้เกิดความสงสัยว่าการพูดคุยจะเป็นไปตามแผนเดิมหรือเปล่า
จากน้ันโฆษกสภาความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐฯ เผยว่า โอบามาได้ยกเลิกการหารือกับดูเตอร์เต โดยเปลี่ยนแผนไปพบปะกับประธานธิบดี เกาหลีใต้แทน เพื่ตื่พอตอบสนองต่อการทดสอบขีปนาวุะล่าสุดของเกาหลีเหนือ
เมื่อเดือนกรกฎาคม ศาลอนุญาโตตุลาการถาวรที่กรุงเฮกวินิจฉัยให้ฟิลิปปินส์เป็นฝ่ายชนะ การณีร้องเรียนการอ้างสิทธิทับซ้อนกับจีนในหมู่เกาะต่างๆ ในทะเลจีนใต้ แต่ดูเตอร์เตกลับประกาศว่าต้องการเจรจาทางการทูตต่อมากกว่ายั่วยุให้ปักกิ่งโกรธ ซึ่งเป็นท่าที่ตรงกันข้ามแบบสุดขั้วกับการด่าทอโอบามา
อย่างไรก็ตาม โฆษกส่วนตัวของผุ้นำฟิลิปปินส์ยืนยันเมื่อวันอังคารว่า ฟิลิปปินส์มีจุดมุ่งหมายหลักในการกำหนดนโยบายต่างประเทศที่เป็นอิสระและส่งเสริมความสัมพันธ์ใกล้ชิดขึ้นักับประเทศต่างๆ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่เป็นพันธมิตรกันมายาวนาน (http//www.manager.co.thหน้าแรกผู้จัดการ Online/ข่าวต่างประเทศ, "ดูเตอร์เต" อ้างฉุนสื่อจอมเสี้ยม ทำหลุดปากด่าผุ้นำมกันลูกกะหรี่)
ประธานาธิบดี โรดริโก ดูเตอร์เต ได้แสดงท่าที่ไม่เป็นมิตรกับสหรัฐอเมริกามากขึ้น( 12 กันยายน พ.ศ. 2559) ด้วยการสั่งให้กองกำลังพิเศษอเมริกันทั้งหมด ที่คอยให้คำแนะนำในการต่อสู้กับกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรง ออกจาพื้นที่ภาคใต้ของฟิลิปปินส์
ดูเตอร์เต้ ผู้อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากมุสลิม เป็นผุ้นำฟิลิปปินส์คนแรกที่ได้รับเสียงโห่ร้องต้อนรับจากพื้นที่ภาคใต้ ทั้งยังเพิ่มความพยายามที่จะนำสันติสุขกลับมาสู่ภาคใต้ของฟิลิปปินส์ อันเป็นดินแดนที่เกิดความไม่สงบมายาวนานนับทศวรรษ จากฝีมือกบฎมสลิมและพวกคอมมิวนิสต์ เมื่อเดือนที่แล้ว เขาได้กลับมาเริ่มการเจรจาสันติภาพกับกลุ่มแบ่งแยกดินแดนที่ใหญ่สุด ซึ่งมีกำลังพลราว 12,000 คน นั่นคือกลุ่ม "แนวร่วมปลดปล่อยอิสลามโมโร" ที่ทำการต่อสู้มาตั้งแต่ยุคปี 1970 ดูเตอร์เต้ระบุว่า การที่ฟิลิปปินส์เป็นมิตรกับตะวันตกทำให้การก่อความไม่สงบของพวกมุสลิมเกิดขึ้นไม่หยุด ไพวกกองกำลังพิเศษสหรัฐฯ ที่อยู่ในมินดาเนา พวกเขาต้องไปให้พ้น ชาวมุสลิมจะกระเหนี้ยนกระหือรือมากขึ้นเมือได้เป็นคนอเมริกัน พวกเขาอยากจะฆ่าคนอเมริกัน" ดูเตอร์เต้ระบุ...(http//www.headshot.tnew.co.th, "ใกล้มีมวย!!! "ดูเตอร์เต" สั่งให้กองกำลังพิเศษสหรัฐฯ ออกจาก "ฟิลิปปินส์"!!, 13 กันยายน 2559)
4 ตุลาคม 2559 คำพูดดุเดือดที่เกิขึ้นในขณะที่ฟิลิปปินส์ และสหรัฐฯ กำลังซ้อมรบร่วมประจำปี ที่ดูเตอร์เตเคยเตือนว่า อาจเป็นครั้งสุดท้ายในระหว่างที่เขายังดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เพื่อตอบโต้อเมริกาที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์สงครามต่อต้านยาเสพติดนองเลือดของเขา
"ผมสูญเสียความเคารพต่ออเมริกา" ดูเอร์เต ครำครวญระหว่างการกล่าวปราศรัยยาวเหยียด เกี่ยวกับเสียงเรียกร้องของสหรัฐฯ สหประชาชาาิ และสไภาพยุโรป ให้เคารพสิทธิมนุษยชน"มิสเตอร์ โอบามา ไปลงนรกซะ"
เขายังตราหน้าอเมริกันชนว่า เป็นพวก "เสแสร้ง" และเตือนว่าบางที่อาจถึงเวลาแล้วที่เขาจะทุบทำลายความเป็นพันธมิตรระหวา่งสองชาติลงโดยสิ้นเชิง ในนั้นรวมถึงข้อตกลงกลาโหมร่วม "ที่สุดแล้ว บางที่ในสมัยของผม ผมอาจแตกหักกับอเมริกา ผมอยากเอื้อมมือไปหารัสเซียหรือไม่ก็จีนมากกวา แม้ว่าเราไม่เห็นด้วยกับอุดมการ์ของพวกเขา แต่พวกเขาให้ความเคารพต่อคนอื่น และความเคารพคือสิ่งสำคัญ
ความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างฟิลิปปินส์เติบโตแข็งแกร่งขึ้นในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา เพื่อตอบโต้การขยายอิทธิพลของจีนทะเลจีนได้โดยเฉพาะ ปักกิ่งอ้างกรรมสิทธิเหนืออาณาเขตเกือบทั้งหมกของทะเลจีนใต้ ไม่เว้นแม้แต่น่านน้ำที่อยู่ใกล้กับฟิลิปปินส์ และชาติเอเซียตะวัีนออกเฉียงใต้อื่น ๆและเมื่อไม่นามนี้ก็สร้างเกาะเทียมหลายแห่งในพื้ที่พิพาท ซึ่งมีศักยภาพใช้เป็นที่ต้งของฐานทัพ เพื่อตอบโต้จีน ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนก่อน นายเบนิโญ อากีโน จึงแสวงหาความสัมพันะ์ใกล้ชิดกับสหรัฐ ฯ ในนั้นรวมถึงการลงนามในข้อตกลงด้านกลาโหมใหม่ ที่เปิดทางให้ทหารอเมริกาหลายพันนาย
หมุนเวียนทั่วฟิลิปปินส์ และอนุญาตให้วอชิงตันประจำการยุทโธปกรณ์ทางทหานตามฐษนทัพต่างๆ ของประเทศ อย่างไรก็ตามนาย ดูเตอร์เตได้ปรบเปลี่ยนเส้นทางนั้น พร้อมเตือนว่า เขาจะยอเลิกข้อตกลงใหม่และจะไม่อนุญาตให้มีการลาดตะเวนร่วมกับสหรัฐฯ อีกในทะเลจีนใต้ (ผู้จัดการ Online 4 ตุลาคม "ดูเตอร์เตห้าวเป้ง!!ไล่โอบามา "ไปลงนรก" ขู่ตัดสัมพันธ์สหรัฐฯ สิ้นเชิง หันซบอกจีน-รัศเซีย)
นาย โรดริโก ดูเตอร์เต เข้าพบประธานาธิบดีจีน ร่วมเจรจาด้านการค้าและรื้อฟื้นความสัมพันะ์ระหว่างทั้งสองประเทศพร้อมประกาศตัดความสัมพันธ์กับสหรัฐ
นาย โรดริโก ดูเตอร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ได้รับการต้อนรับอย่างสมเกียรติจากรัฐบาลจีน ที่สภาประชาชนแห่งชาติ จตุรัสเทียนอันเหมิน ณ กรุงปักกิ่ง โดยดูเตอร์เตได้ร่วมประชุม กับ นาย ส จิ้น ผิง ประธานาธิบดีจีน และได้หารือข้อตกลงด้านการค้าระหว่างทั้งสองประเทศ
ระหว่างขึ้นพูดที่งานประชุมด้านการค้าระหว่างจีนและฟิลิปปินส์ ณ กรุงปักกิ่ง ดูเตอร์เต้ก็ได้แถลงว่า เขาจะใช้โอกาศในการเดินทางเยือนประเทศจีนในครั้งนี้ ตัดความสัมพันะ์กับสหรัฐอเมริกา - พร้อมเปิดรับการร่วมมือกับประเทศจีนระยะยาว และทันที่ที่คำพูดของดูเตอร์เต้ถูกเผยแพร่ออกไป รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ก็ออกมาตอบโต้ว่า ควรจะพูดให้กระจ่างกว่านี้ว่า จะตัดความสัมพันะ์กับสหรัฐในรูปแบบใดบ้าง...(http//www.pptvthailand, ดูเตอร์เต้ประกาศตัดความสัมพันธ์สหรัฐ, 21 ต.ค. 2559)
คงต้องยอมรับกันว่าบทบาทของผุ้นำในอาเซียนที่เป็นที่สนใจของผุ้คนทั่วโลกมากที่สุดในรอบปีที่ผ่านมา คือประธานาธิบดีคนใหม่ของฟิลิปปินส์ โรดริโก ดูเตอร์ดต ที่แรงได้ใจ กล้าใช้คำหยาบคายกับผู้นำสหรัฐฯ อย่างที่ไม่เคยมีผุ้นำคนไหนของฟิลิปปินส์ทำได้มาก่อน
ประธานาธิบดีโรคริโก ดูเตอร์เตของฟิลิปปินส์ วัย 71 ปี ยังคงได้รับความนิยมอย่างสูงจากประชาชนในประเทศ ถึงแม้นานชาติจะแสดงความกังวลในประเด็นที่เขาปราบปรามยาเสพติดอย่างรุนแรงเด็ดขาดจนทำให้มีผุ้เสียชีวิตมกถึง 5,000 คน หลังเข้ารับตำแหน่างผุ้นำประเทศคนใหม่เมื่อเดือน มิ.ย.ที่ผ่านมา เขาได้ตั้งคำถามถึงการเป็นพันธมิตรมาอย่างยาวนากับสหรัฐฯ และหันไปกระชับความสัมพันธ์กับจีนแทนซึ่งนับเป็น
วันศุกร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2560
Ro-hing-gya III : Trafficking in Persons
แนวคิดเรื่องการค้ามนุษย์ข้ามชาติ
- ความหมายของการค้ามนุษย์ข้ามชาติ ในระดับสากล ควาหมายของการค้ามนุษย์ได้ถูกนิยามไว้ในพิธีสารเพื่อป้องกันปราบปรามและลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก เพิ่มเติมอนุสัาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมขช้ามชาติที่จัดตั้งในลัการะองค์การ กล่าวคือ
(ก)ให้การ "ค้ามนุษย์" หมายถึง การจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย หรือการรับไว้ซึ่งบุคคล ด้วยวิธีการขู่เข็ญ หรือด้วยการใช้กำลัง หรือด้วยการบีบบังคับในรูปแบบอื่นใด ด้วยการลักาพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วยการหลอกลวง ด้วยการใช้อำนาจโดยมิชอบหรือด้วยการใช้สถานะความเสี่ยงภัยจากการค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือมีการให้หรือรับเงินหรือผลประโยชน์เพื่อให้ได้มาซึ่งความยินยอมทของบุคคลผุ้มีอำนาจควบคุมบุคคลอื่น เพื่อความมุ่งประสงค์ในการแสวงหาประโยชน์ การแสวงหาประ
โยชน์อย่างน้อยที่สุดให้รวมถึงการแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณีของบุคคลอื่นหรือการแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรุปแบบอื่น การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ การเอาคนลงเป็นทาสหรือการกระทำอื่นเสมือนการเอาคนลงเป็นทาส การทำให้ตกอยู่ในบังคับ หรือการตัดอวัยวะออกจาร่างกาย
(ข)ให้ถือว่าไม่สามารถยกความยินยอมของผุ้เสียหายจากากรค้ามนุษย์ที่ให้กับการหาประโยชน์โดยเจตนาที่ระบุไว้ในวรรคก่อน ของข้อนี้ มาเป็นข้ออ้างในกรณีที่มีการใช้วิะีการระบุไว้ในวรรค (ก)
(ค) ให้ถือว่าการจัดหา การขนส่ง การโยกย้าย การให้ที่พักอาศัย หรือการรับไว้ซึ่งเด็กเพื่อความมุ่งประสงค์ในการแสวงหาประโยชน์ เป็น "การค้ามนุษย์" แม้ว่าจะไม่มีวิธีการใดๆ ที่ระบุไว้ในย่อหน้าย่อย(ก)ของข้อนี้
(ง) "เด็ก"หมายถึงบุคคลใดก็ตามที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี....
ศิริพร สโครบาเนค(2548) ให้ความหมายของการค้ามนุษย์ที่สัมพันธ์กับการลักลอบเข้าเมืองว่าผุ้ลักลอบขนของเข้าเมืองอาจจะช่วยจัดการเรื่องเอกสารเพื่อข้ามพรมแดนและจัดหาพาหนะ และวิธีการต่างๆ เพื่อให้ผู้ต้องการย้ายถ่ินสามารถข้ามพรมแดนได้ ผุ้ลักลอบขนคนเข้าเมืองต่างจากนักค้ามนุษย์ เพราะไม่มีเจตจำนงที่จะแสวงหาประโยชน์จากผุ้ลักลอบเข้าเมืองเมื่อถึงจุดหมายปรลายทง ส่วนการค้ามนุษย์สัมพันธ์กับการบย้ายถ่ินนั้นกล่าวว่า การค้ามนุษย์เป็นการส่งและการซื้อขายมนุษย์ ซึ่งสวนใหญ่
เป็นหญิงและเด็กเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ด้วยการใช้กำลังและการหลอกลวง การค้ามนุษย์จึงเป็นสวนหนึ่งของการย้ายถิ่น แต่แตกต่างกับการย้ายถ่ิน เพราะการค้ามนุษย์มีวัตถุประสงค์ที่เด่นชัดในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบธรรมจากผุ้ที่ถูกค้าที่ต้องกลายเป็นเหยือ และถูกลิดรอนสิทธิในความสามรถในการกำหนดตัดสินใจเลือกทางชีวิตของตนเอง และต้องดำรงชีวิตภายใต้การควบคุมของผุ้อื่น แต่เดิมเหยื่อของการค้ามนุษย์อาจจะถูกบังคับข่มขืนใจหรือลักพาตัวจากถ่ินฐานเดิมของตน แต่ในปัจจุบัน เหยื่อของการค้ามนุษย์อาจจะถูกบังคับข่มขืนใจหรือลักพาตัวจากถิ่นฐานเดิมของตน แต่ปัจจุบันเหยื่อของการค้ามนุษย์อาจจะตัดสินใจย้ายถิ่นด้วยความสมัครใจ แต่ถูกหลอกลวงในเรื่องประเภทของงานและรายได้และนักค้ามนุษย์อาจจะใช้วิธีการลักลอบพาเหยื่อเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ทำให้เหยื่อต้องกลายเป็นคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายเป็นแรงงานผิดกฎหมาย และเสียงต่อการถูกลงโทษจากเจ้าหน้าที่รัฐ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงองค์ประกอบที่สำคัญของการค้ามนุษย์ว่าประกอบไปด้วย 1) การจัดหา การขนส่งเคลื่อนย้าย 2) วิธีการล่อลวง ขู่เข็ญ รวมถึงการใช้อำนาจครอบงำ 3) วัตถุประสงค์เพื่อให้ยอมรับการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและเอาเปรียบ ที่ครอบคลุมเรื่องการค้าบริหการทางเพศ และการใสช้แรงงาน รวมทั้งการบังคับให้ขอทาน และ 4) ขอบข่ายการค้ามนุษย์ครอบคลุมทั้งในและนอกประเทศ...(วิทยานิพนธ์, "กระบวนการค้ามนุษย์ข้ามชาติในประเทศไทย",บทที่ 2, หน้า 1-14.)
ผุ้อพยพชาวโรฮิงจา มีทางเลือกไม่มากในการอพยพออาจาบ้านเกิดของตน บังคลาเทศไม่สามารถรองรับผู้อพยพที่เพิ่มจำนวนขึ้น รวมถึงนโยบายของรัฐพม่า จึงเหนือเส้นทางเดี่ยวที่อพยพออกาจากประเทศ คือ ลงเรือมุ่งหน้าสู่อ่าวเบงกอล โดยส่วนมากเกินทางต่อเนื่อมาถึงอันดามันเลียบชายฝั่งเข้าสู่ประเทศไทย บางส่วนอาจเดินทางต่อไปยังประเทศมาเลเซีย บางส่วนอาจไปถึงอินโดนีเซีย
ความซับซ้อนของการอพยพด้วยการลักลอบข้มชายแดนมีมากขึ้น เมื่อผุ้อพยพต่างสมัครใจที่จะเดินทางโดยอาศัยเครือข่ายขบวนการนอกกฎหมาย อาจมีบางคนที่ถูกบังคับ แต่ส่วนใหญที่เดินทางเข้าโดยสมัครใจเมื่อเข้ามาถึงประเทศไทยกลับพบว่าตนเองกลับถูกควบคุม กักขังโดยคนของขบวนการอีกลุ่ม ที่พวกเขาพยายามติดต่อญาติพี่น้องให้ส่งเงินมาไถ่ตัวพวกเขา หลายคนโชคดีที่ญาตพี่น้องยอมทำตามและขบวนการก็ส่งตัวพวกเขาออกไป แต่โรฮิงจา
จำนวนมากไม่ได้โชคดีแบบนั้น พวกเขาถูกทุบตี ถูกทำร้ายร่างกาย อดอาหารหลายคนเสียชีวิต
นับตั้งแต่มกราคม 2558 มีการจับกุมชาวโรฮิงจาในประเทศครั้งใหญ่ และเป็นการจับกุมที่ทำให้ลกายคนเร่ิมเห็นความรุนแรงที่ชาวโรฮิงจาต้องเผชิญระหว่างเกินทางเข้ามาในประเทศไทย คือการจับกุมเมื่อวันที่ 11 มกราคม พื้นที่ อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช เป็นรถกระบะ 5 คน บรรทุกชาวโรฮิงจา 98 คน
การพบหลุ่มฝัวศพ 32 หลุม และศพชาวโรฮิงจา 26 ศพ ในพื้นที่บ้นตะโล๊ะ ต.ปากังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา ระหว่างวันที่ 1-2 พฤษภาคน 2558 เป็นสัญญาฯที่แสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวในการเผชิญหน้าปัญหาชาวโรฮิงจา และบางส่วนเป้นชาวบังกลาเทศที่อพยพเข้าในประเทศไทยของรัฐบาลในระยะเวลาที่ผ่านมา (http//www.komchadluek.net, 7 พ.ค. 2558 เส้นทางชีวิตโรฮิงญาจากบ้านเกิดสู่ความตาย)
- ความหมายของการค้ามนุษย์ข้ามชาติ ในระดับสากล ควาหมายของการค้ามนุษย์ได้ถูกนิยามไว้ในพิธีสารเพื่อป้องกันปราบปรามและลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก เพิ่มเติมอนุสัาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมขช้ามชาติที่จัดตั้งในลัการะองค์การ กล่าวคือ
(ก)ให้การ "ค้ามนุษย์" หมายถึง การจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย หรือการรับไว้ซึ่งบุคคล ด้วยวิธีการขู่เข็ญ หรือด้วยการใช้กำลัง หรือด้วยการบีบบังคับในรูปแบบอื่นใด ด้วยการลักาพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วยการหลอกลวง ด้วยการใช้อำนาจโดยมิชอบหรือด้วยการใช้สถานะความเสี่ยงภัยจากการค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือมีการให้หรือรับเงินหรือผลประโยชน์เพื่อให้ได้มาซึ่งความยินยอมทของบุคคลผุ้มีอำนาจควบคุมบุคคลอื่น เพื่อความมุ่งประสงค์ในการแสวงหาประโยชน์ การแสวงหาประ
โยชน์อย่างน้อยที่สุดให้รวมถึงการแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณีของบุคคลอื่นหรือการแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรุปแบบอื่น การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ การเอาคนลงเป็นทาสหรือการกระทำอื่นเสมือนการเอาคนลงเป็นทาส การทำให้ตกอยู่ในบังคับ หรือการตัดอวัยวะออกจาร่างกาย
(ข)ให้ถือว่าไม่สามารถยกความยินยอมของผุ้เสียหายจากากรค้ามนุษย์ที่ให้กับการหาประโยชน์โดยเจตนาที่ระบุไว้ในวรรคก่อน ของข้อนี้ มาเป็นข้ออ้างในกรณีที่มีการใช้วิะีการระบุไว้ในวรรค (ก)
(ค) ให้ถือว่าการจัดหา การขนส่ง การโยกย้าย การให้ที่พักอาศัย หรือการรับไว้ซึ่งเด็กเพื่อความมุ่งประสงค์ในการแสวงหาประโยชน์ เป็น "การค้ามนุษย์" แม้ว่าจะไม่มีวิธีการใดๆ ที่ระบุไว้ในย่อหน้าย่อย(ก)ของข้อนี้
(ง) "เด็ก"หมายถึงบุคคลใดก็ตามที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี....
ศิริพร สโครบาเนค(2548) ให้ความหมายของการค้ามนุษย์ที่สัมพันธ์กับการลักลอบเข้าเมืองว่าผุ้ลักลอบขนของเข้าเมืองอาจจะช่วยจัดการเรื่องเอกสารเพื่อข้ามพรมแดนและจัดหาพาหนะ และวิธีการต่างๆ เพื่อให้ผู้ต้องการย้ายถ่ินสามารถข้ามพรมแดนได้ ผุ้ลักลอบขนคนเข้าเมืองต่างจากนักค้ามนุษย์ เพราะไม่มีเจตจำนงที่จะแสวงหาประโยชน์จากผุ้ลักลอบเข้าเมืองเมื่อถึงจุดหมายปรลายทง ส่วนการค้ามนุษย์สัมพันธ์กับการบย้ายถ่ินนั้นกล่าวว่า การค้ามนุษย์เป็นการส่งและการซื้อขายมนุษย์ ซึ่งสวนใหญ่
เป็นหญิงและเด็กเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ด้วยการใช้กำลังและการหลอกลวง การค้ามนุษย์จึงเป็นสวนหนึ่งของการย้ายถิ่น แต่แตกต่างกับการย้ายถ่ิน เพราะการค้ามนุษย์มีวัตถุประสงค์ที่เด่นชัดในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบธรรมจากผุ้ที่ถูกค้าที่ต้องกลายเป็นเหยือ และถูกลิดรอนสิทธิในความสามรถในการกำหนดตัดสินใจเลือกทางชีวิตของตนเอง และต้องดำรงชีวิตภายใต้การควบคุมของผุ้อื่น แต่เดิมเหยื่อของการค้ามนุษย์อาจจะถูกบังคับข่มขืนใจหรือลักพาตัวจากถ่ินฐานเดิมของตน แต่ในปัจจุบัน เหยื่อของการค้ามนุษย์อาจจะถูกบังคับข่มขืนใจหรือลักพาตัวจากถิ่นฐานเดิมของตน แต่ปัจจุบันเหยื่อของการค้ามนุษย์อาจจะตัดสินใจย้ายถิ่นด้วยความสมัครใจ แต่ถูกหลอกลวงในเรื่องประเภทของงานและรายได้และนักค้ามนุษย์อาจจะใช้วิธีการลักลอบพาเหยื่อเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ทำให้เหยื่อต้องกลายเป็นคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายเป็นแรงงานผิดกฎหมาย และเสียงต่อการถูกลงโทษจากเจ้าหน้าที่รัฐ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงองค์ประกอบที่สำคัญของการค้ามนุษย์ว่าประกอบไปด้วย 1) การจัดหา การขนส่งเคลื่อนย้าย 2) วิธีการล่อลวง ขู่เข็ญ รวมถึงการใช้อำนาจครอบงำ 3) วัตถุประสงค์เพื่อให้ยอมรับการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและเอาเปรียบ ที่ครอบคลุมเรื่องการค้าบริหการทางเพศ และการใสช้แรงงาน รวมทั้งการบังคับให้ขอทาน และ 4) ขอบข่ายการค้ามนุษย์ครอบคลุมทั้งในและนอกประเทศ...(วิทยานิพนธ์, "กระบวนการค้ามนุษย์ข้ามชาติในประเทศไทย",บทที่ 2, หน้า 1-14.)
ผุ้อพยพชาวโรฮิงจา มีทางเลือกไม่มากในการอพยพออาจาบ้านเกิดของตน บังคลาเทศไม่สามารถรองรับผู้อพยพที่เพิ่มจำนวนขึ้น รวมถึงนโยบายของรัฐพม่า จึงเหนือเส้นทางเดี่ยวที่อพยพออกาจากประเทศ คือ ลงเรือมุ่งหน้าสู่อ่าวเบงกอล โดยส่วนมากเกินทางต่อเนื่อมาถึงอันดามันเลียบชายฝั่งเข้าสู่ประเทศไทย บางส่วนอาจเดินทางต่อไปยังประเทศมาเลเซีย บางส่วนอาจไปถึงอินโดนีเซีย
ความซับซ้อนของการอพยพด้วยการลักลอบข้มชายแดนมีมากขึ้น เมื่อผุ้อพยพต่างสมัครใจที่จะเดินทางโดยอาศัยเครือข่ายขบวนการนอกกฎหมาย อาจมีบางคนที่ถูกบังคับ แต่ส่วนใหญที่เดินทางเข้าโดยสมัครใจเมื่อเข้ามาถึงประเทศไทยกลับพบว่าตนเองกลับถูกควบคุม กักขังโดยคนของขบวนการอีกลุ่ม ที่พวกเขาพยายามติดต่อญาติพี่น้องให้ส่งเงินมาไถ่ตัวพวกเขา หลายคนโชคดีที่ญาตพี่น้องยอมทำตามและขบวนการก็ส่งตัวพวกเขาออกไป แต่โรฮิงจา
จำนวนมากไม่ได้โชคดีแบบนั้น พวกเขาถูกทุบตี ถูกทำร้ายร่างกาย อดอาหารหลายคนเสียชีวิต
การพบหลุ่มฝัวศพ 32 หลุม และศพชาวโรฮิงจา 26 ศพ ในพื้นที่บ้นตะโล๊ะ ต.ปากังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา ระหว่างวันที่ 1-2 พฤษภาคน 2558 เป็นสัญญาฯที่แสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวในการเผชิญหน้าปัญหาชาวโรฮิงจา และบางส่วนเป้นชาวบังกลาเทศที่อพยพเข้าในประเทศไทยของรัฐบาลในระยะเวลาที่ผ่านมา (http//www.komchadluek.net, 7 พ.ค. 2558 เส้นทางชีวิตโรฮิงญาจากบ้านเกิดสู่ความตาย)
วันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2560
Ro-hing-gya II (Human RightsII)
Statelessness ความไร้สัญชาติ เป็นข้อความคิดทางกฎหมายซึ่งพรรณนาถึงการที่บุคคลไม่มีสัญชาติ ใดๆ เลย กล่าวคือ สภาวะซึ่งบุคคลไม่เป็นที่รับรองว่าเกี่ยวข้องกับรัฐชาติรัฐใดๆ เลย บุคคลเช่นนี้เรียก คนไร้สัญชาติ
ไร้สัญชาติโดยนิตินับ เป็นกรณีที่บุคคล "ไม่มีรัฐใดนับวว่าเป็นผุ้ถือสัญชาติโดยผลของกฎหมายแห่งรัฐนั้นเลย"ผุ้ไร้สัญชาติโดยนิตินัยอาจเป็นผู้ลี้ภัยด้วยแต่มิใช่ว่าผู้ขอที่ลั้ภัยทุกคนจะไร้สัญชาติโดยนิตินัย
ไร้สัญชาติโดยพฤตินัย เป็นกรณ๊ที่บุคคลไม่ได้อยู่ในรัฐที่ตนถือสัญชาติ และไม่อาจรับความคุ้มครองจากรับที่ตนกำลังอาศัยอยู่นั้ ซึ่งอาจเป้นผลมาจาการเบียดเบียนของรัฐ หรือการขาดความสัมพันธ์ทางทูตระหว่งรัฐทั้งสองดังกล่าว
โดยปกติ สัญชาติได้มาโดยหลักสองประการคือ ดินแดน และ หลักสายโลหิต หลักดินแดนระบุว่าบุคคลเกิดในดินแดนของรัฐใด ย่อมได้สัญชาติของรัฐนั้น ส่วนหลักสืบสายโบหิตวส่าบุดามารดาถือสัญชาติใด บุคคลย่อมถือสัญชาติตามนั้นด้วย (http//www.th.wikipedia.org.ความไร้สัญชาติ)
บทความ เรื่อง เรือมนุษย์ "โรฮิงญา"พวกเขาถูกจัดประเภทว่า"คนไร้รัฐ" โดยนารบัฒฑิต ไกรวิจิตร เผยแพร่เมื่อ 20 มีนาคม 2556 ..ส่วนหนึ่งของบทความ
".. ประเด็นปัญหา "โรฮิงจา ในประเทศไทยมาจากข้อกังวล คือ เกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาสร้างปัญหาความั่นคงและความสงบเรียบร้อย และเกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาแย่งชิงทรัพยากรในการจัดบริการสาธารณะของรัฐทำให้เกิดทัศนะต่อโรฮิงญาว่าเป้นภัยของประเทศไทยประเภทหนึ่ง
รัฐบาลไทยมีกรอบคิดต่อชาว"โรฮิงญา" จากคำนิยาม "สถานะของบุคคลตามกฎหมาย "ว่าไม่ใช้ "ผู้ลี้ภัย" เพราะจากากรย้ายถิ่นข้ามชายแดนประเทศไม่ได้มาจกาการถูก"การประหัตประหาร" โดยรัฐบาลหรือกลุ่มกองกำลังภายในประเทศพม่าโดยตรง จึงไม่ยอมรับ"สิทธิเพื่อลี้ภัย" รัฐจึงไม่ไใ้สิทธิในฐานะ"ผุ้ลี้ภัย"คำถามที่จะตามมาจึงเป็ฯการแสดงหาขอบเขตว่ารัฐไทยมีกรอบหน้าที่ในการจัดการปัญหาของชาวโรฮิงจาอย่างไร "สิทธิใดบ้างที่ชาวโรฮิงจาต้องได้รับการคุ้มครอง" และ "สิทธิใดบ้างที่แม้แต่คนต่างด้าวหรือไร้สัญชาติพึงได้รับการคุ้ครอง" ชาวโรฮิงจา ถือเป็นมนุษย์และบุคคลตามนิยามของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ทีต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิต่างๆ ตามทีกฎบัตรรับรองแน่นอน รัฐไทยในฐานะที่มีพันธกรณีอยู่กับกฎบัตรสิทธิมนุษชนย่อมมีหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและงดเว้นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของชาวโรฮิงญา แต่ชาวโรฮิงญามิใช่พลเมืองสัญชาติไทยและถึงแม้ชาวโรฮิงจาไม่ใช่พลเมืองไทย และมีปัญหาทางเอกสารยืนยันในความเป็นสัญชาติพม่า แต่การจัดการปัญหาผุ้อพยพชาวโรฮิงจาจะต้องไม่ละเมิดสิทธิขึ้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ รัฐที่มีกฎหมายเป็นเครื่องมือสูงสุดในการปกครองประเทศตามหลัก "นิติรัฐ" จะต้องใช้กระบวนการแก้ไขปัญหาโดยไม่ขัดกับหลักความยุติธรรมของกฎหมาย คือ แนวทางที่นำไปสู่การสร้างบรรทัดฐานในการจัการปัญหาคนต่างด้าว ไร้สัญชาติ
.... การปฏิบัติจากหน่วยงานรัฐที่มีต่อโรฮิงญา เช่น การประสานงานไปยังรัฐบาลพม่าเพื่อให้รับรองสิทธิความเป็นพลเมืองของผุ้อพยพ การไม่ให้ใช้สิทธิสากลเพื่อยอมรับสิทธิเป็น "ผู้ลี้ภัย" สื่อความหมาว่าโรฮิงญาอพยพปัจจุบันไม่มีรัฐควบคุม ปกครอง ในทางวิชาการเรียกพวเขาว่า "คนไร้รัฐ" และเรียกลักษณะปัญหานี้ว่า "สภาพไร้รัฐ" คือบุคคลที่ไม่รู้ว่าเป็นพลเมืองของรัฐใดดังนั้นจึงไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายของรัฐที่พวกเขาเข้าไปขออาศัยหรือซ่อนตัวซึ่งนักปรัชญาชาวอิตาลีชือ กิออริโอ อากัมเบน เรียกคนประเภทนี้ว่า "ชีวิตอันเปลื่ยเปล่า" คือ บุคคลหรื
อกลุ่มบุคคลที่ไม่มีกฎมายคุ้มครอง..ประเด็นสำคัญต่อการพิจารณาเรื่องชีวิตที่เปลื่อยเปล่าจากอำนาจรัฐจากมุมมองของอาัมเบนนั้นเท่ากับยอมรับว่าสภาพไร้อำนาจรัฐที่จะบังคับให้คุณให้โทษตอผุ้อพยพซึ่งผลในท้ายที่สุดแล้วจะกสภาวะอันเปลือยเปล่าผู้อพยพอาจจะถูกสังหารหรือทำร้ายก็ได้เพราะรัฐเมินที่จะมองมายังบุคคลที่เลป่ยหรือคนทีไร้รัฐ แต่ปัญหาคือ ผุ้อพยพโดยเฉพาะโรฮิงจานั้นไร้รัฐจริงหรือ พวกเขาไร้รัฐจริงหรือ...
.... การยอมรับว่ามีสภาพไร้รัฐ ทั้งจาแนวคิดอากัมเบน และแนวคิดของรัฐไทยผ่านคำอธิบายโดยกองอำนวยการรักษความมั่นคงภายในราชอาณาจักร(กอ.รมน.) (ไทยรัฐ 2566 ) และผุ้บัญชาการทหารเรือ (ผู้จัดการออนไลน์ 13 มีนาคม 2556) ปฏิบัติการภายใต้นโยบายของกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งสองแนวคิดนี้แนบกันได้เกือบสนิท และทำให้สภาพของชาวดรฮิวยากลายเป็นผู้ที่ไม่สามรถรับสิทธิความเป็นมนุษย์ในกฎหมายนานาชาติสากลได้ รัฐบาลไทยลอยตัวออกมาจากปัญหาและสามารถผลักดันชาวโรฮิงจา.."
สำนักข้าหลวงใหญ่ผุ้ลี้ภัยสหประชาชาติ(UNHCR) แสดงความห่วงใยต่อเหตุการณ์ที่ได้มีการค้นพบศพจำนวนมากในค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเจ้ามเืองที่ภาคใต้ของประเทศไทยใสัปดาห์นี้ UNHCR เรียกร้องให้ประเทศในภูมิภาคร่วมือสร้างมาตรการต่อต้านการลักลอบขนคนเข้าเมือง และการค้ามนุษย์ในขณะเดียวกัน UNHCR มอบความคุ้มครองให้กับเหยื่อผุ้เคราะห์ร้าย
หน่วยงานของไทยได้แถลงถึงเหตุการณ์การพบศพประมาณ 30 ศพที่เชื่อว่าเป็นกลุ่มคนที่มีต้นกำเนิดจาประเทศพม่า และบังกลาเทศ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการ สืบสวน ข้อสันนิษฐานเบื้องต้นจากตำรวจแจ้งว่าสาเหตุการเสียชีวิตน่าจะมาจากความเจ็บป่วยและการถูกทำร้าย
"มันเป็นเรื่องน่าสลดใจที่ได้รับรู้ว่าผู้คนที่ต้องหลบหนีความยากลำบากจากประเทศของตัวเอง เอาชีวิตมาฝากไว้ในมือของผุ้ลักลอบขนคนเข้าเมืองอันเหี้ยมโหด และต้องเสียชีวิตแทนที่จะได้รับความปลอดภัย" เจมส์ ลินซ์ ผุ้แทนสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลีภัย แห่งสหประชาชาิระดับภูมิภาคประจำประเทศไทย และผุ้ประสานงานสสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภััยแห่งสหประชาชาติประจำภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าว นี้เป็นครั้งแรกของการพบหลุ่มฝังศพที่เกี่ยว้องกับบุลที่อยู่ในความห่วงใยของ UNHRC ในปีที่แล้ว UNHRC ทราบจากชาวโรฮิงญานับร้อยคนที่รอดชีวิตจาการถูกละเมิดอย่างรุนแรง และการถูกทอดทิ้งโดยผู้ลักลอบขนคนเข้าเมืองทางทะเลในอ่ายเบงกอล และในค่ายตามชายแดนไทย -มาเลเซีย บางคนเล่าว่าเคยเห็นคนเสียชีวิตจากการถูกเฆี่ยนตี และขาดอาหาร ข้อมูลนี้ได้รายงานไปยังรัฐบาลในประเทศต่างๆ เพื่อหามาตรการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนแล้ว
ในประเทศไทย UNHCR ได้ให้ความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลบุคคลที่อยู่ในความห่วงใยซึ่งตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้..เราให้ความช่วยเหลือผุ้รอดชีวิตจากการเข้าตรวจค้นค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเข้าเมือง โดยมอบสิ่งของบรรเทาทุกข์เร่งด้วน เช่น ชุดอนามัย เสื้อผ้าและผ้าห้ม นอกจากนี้เรายังทำการสัมภาษณ์ ช่วยค้นหาญาติพี่น้องที่พลัดพรากระหว่างเดินทางให้ได้อยู่ด้วยกันอีกคร้งให้คำปรึกษาด้านต่างๆ และดำเนินการเพื่อสร้างโอาสในการตั้งถิ่นฐานใหม่ในประเทศที่ 3 สำหรับผู้ที่มีความเปราะบางมากที่สุด
ในประเทศมาเลเซีย UNHCR ให้ความคุ้มครองต่อชุมชนชาวโรฮิงญา ผ่านการตรวจเยียมอย่างสม่ำเสมอและได้เข้าช่วยผุ้อพยพทางเรือให้ได้รับการปล่อยตัวจากศูนบ์กักกัน นอกจากนี้ ยังให้การสนับสนุนโครงการฝึกอาชีพ การพัฒนาชุมชน กิจกรรมเสริมสร้างทักษาะ และโครงกการการศึกษาให้กับชุมชนผุ้ลี้ภัย
"การลักลอบขนคนเข้าเมืองเป็นปัญหาระดับภูมิภาคที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคครอบคลุมถึงประเทศที่เป็นแหล่งที่มา ประเทศทางผ่าน และประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทาง"นายลินซ์กล่าว"มาตรการบังคับยใช้กฎหมรยต้องใช้ควบคู่กับความพยายามในการลดความต้องการในการอพยพและลี้ภัยของชนกลุ่มนี้ตั้งแต่แรกเร่ิม รวมถึงการระบุต้นตอของปัญหาที่ทำให้ผู้คนกลุ่มนี้ต้องตัดสินใจเสี่ยงชีวิตของตัวเองกับการเดินทางที่เสียงอัีนตรายเช่นนี้"
ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่าซึ่งเป็นแหล่วที่มาของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการลักลอบขนคนเข้าเมือง UNHRC ได้รณรงค์มาอย่างยาวนานและพร้อมที่จะทำงานร่วมกันในการแก้ไขปัยหาที่เกีิดขึ้น โดยตระหนักถึงสิทธิของทุกฝ่าย การปรองดอง ความเท่าเี่ยมกันทางเศรษฐกิจและสังคม และประเด็นที่เกี่ยนวข้องกับความเป็นพลเมือง ( http//www.unhcr.or.th หน้าแรก,ข่าว,)
ไร้สัญชาติโดยนิตินับ เป็นกรณีที่บุคคล "ไม่มีรัฐใดนับวว่าเป็นผุ้ถือสัญชาติโดยผลของกฎหมายแห่งรัฐนั้นเลย"ผุ้ไร้สัญชาติโดยนิตินัยอาจเป็นผู้ลี้ภัยด้วยแต่มิใช่ว่าผู้ขอที่ลั้ภัยทุกคนจะไร้สัญชาติโดยนิตินัย
ไร้สัญชาติโดยพฤตินัย เป็นกรณ๊ที่บุคคลไม่ได้อยู่ในรัฐที่ตนถือสัญชาติ และไม่อาจรับความคุ้มครองจากรับที่ตนกำลังอาศัยอยู่นั้ ซึ่งอาจเป้นผลมาจาการเบียดเบียนของรัฐ หรือการขาดความสัมพันธ์ทางทูตระหว่งรัฐทั้งสองดังกล่าว
โดยปกติ สัญชาติได้มาโดยหลักสองประการคือ ดินแดน และ หลักสายโลหิต หลักดินแดนระบุว่าบุคคลเกิดในดินแดนของรัฐใด ย่อมได้สัญชาติของรัฐนั้น ส่วนหลักสืบสายโบหิตวส่าบุดามารดาถือสัญชาติใด บุคคลย่อมถือสัญชาติตามนั้นด้วย (http//www.th.wikipedia.org.ความไร้สัญชาติ)
บทความ เรื่อง เรือมนุษย์ "โรฮิงญา"พวกเขาถูกจัดประเภทว่า"คนไร้รัฐ" โดยนารบัฒฑิต ไกรวิจิตร เผยแพร่เมื่อ 20 มีนาคม 2556 ..ส่วนหนึ่งของบทความ
".. ประเด็นปัญหา "โรฮิงจา ในประเทศไทยมาจากข้อกังวล คือ เกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาสร้างปัญหาความั่นคงและความสงบเรียบร้อย และเกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาแย่งชิงทรัพยากรในการจัดบริการสาธารณะของรัฐทำให้เกิดทัศนะต่อโรฮิงญาว่าเป้นภัยของประเทศไทยประเภทหนึ่ง
รัฐบาลไทยมีกรอบคิดต่อชาว"โรฮิงญา" จากคำนิยาม "สถานะของบุคคลตามกฎหมาย "ว่าไม่ใช้ "ผู้ลี้ภัย" เพราะจากากรย้ายถิ่นข้ามชายแดนประเทศไม่ได้มาจกาการถูก"การประหัตประหาร" โดยรัฐบาลหรือกลุ่มกองกำลังภายในประเทศพม่าโดยตรง จึงไม่ยอมรับ"สิทธิเพื่อลี้ภัย" รัฐจึงไม่ไใ้สิทธิในฐานะ"ผุ้ลี้ภัย"คำถามที่จะตามมาจึงเป็ฯการแสดงหาขอบเขตว่ารัฐไทยมีกรอบหน้าที่ในการจัดการปัญหาของชาวโรฮิงจาอย่างไร "สิทธิใดบ้างที่ชาวโรฮิงจาต้องได้รับการคุ้มครอง" และ "สิทธิใดบ้างที่แม้แต่คนต่างด้าวหรือไร้สัญชาติพึงได้รับการคุ้ครอง" ชาวโรฮิงจา ถือเป็นมนุษย์และบุคคลตามนิยามของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ทีต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิต่างๆ ตามทีกฎบัตรรับรองแน่นอน รัฐไทยในฐานะที่มีพันธกรณีอยู่กับกฎบัตรสิทธิมนุษชนย่อมมีหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและงดเว้นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของชาวโรฮิงญา แต่ชาวโรฮิงญามิใช่พลเมืองสัญชาติไทยและถึงแม้ชาวโรฮิงจาไม่ใช่พลเมืองไทย และมีปัญหาทางเอกสารยืนยันในความเป็นสัญชาติพม่า แต่การจัดการปัญหาผุ้อพยพชาวโรฮิงจาจะต้องไม่ละเมิดสิทธิขึ้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ รัฐที่มีกฎหมายเป็นเครื่องมือสูงสุดในการปกครองประเทศตามหลัก "นิติรัฐ" จะต้องใช้กระบวนการแก้ไขปัญหาโดยไม่ขัดกับหลักความยุติธรรมของกฎหมาย คือ แนวทางที่นำไปสู่การสร้างบรรทัดฐานในการจัการปัญหาคนต่างด้าว ไร้สัญชาติ
.... การปฏิบัติจากหน่วยงานรัฐที่มีต่อโรฮิงญา เช่น การประสานงานไปยังรัฐบาลพม่าเพื่อให้รับรองสิทธิความเป็นพลเมืองของผุ้อพยพ การไม่ให้ใช้สิทธิสากลเพื่อยอมรับสิทธิเป็น "ผู้ลี้ภัย" สื่อความหมาว่าโรฮิงญาอพยพปัจจุบันไม่มีรัฐควบคุม ปกครอง ในทางวิชาการเรียกพวเขาว่า "คนไร้รัฐ" และเรียกลักษณะปัญหานี้ว่า "สภาพไร้รัฐ" คือบุคคลที่ไม่รู้ว่าเป็นพลเมืองของรัฐใดดังนั้นจึงไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายของรัฐที่พวกเขาเข้าไปขออาศัยหรือซ่อนตัวซึ่งนักปรัชญาชาวอิตาลีชือ กิออริโอ อากัมเบน เรียกคนประเภทนี้ว่า "ชีวิตอันเปลื่ยเปล่า" คือ บุคคลหรื
.... การยอมรับว่ามีสภาพไร้รัฐ ทั้งจาแนวคิดอากัมเบน และแนวคิดของรัฐไทยผ่านคำอธิบายโดยกองอำนวยการรักษความมั่นคงภายในราชอาณาจักร(กอ.รมน.) (ไทยรัฐ 2566 ) และผุ้บัญชาการทหารเรือ (ผู้จัดการออนไลน์ 13 มีนาคม 2556) ปฏิบัติการภายใต้นโยบายของกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งสองแนวคิดนี้แนบกันได้เกือบสนิท และทำให้สภาพของชาวดรฮิวยากลายเป็นผู้ที่ไม่สามรถรับสิทธิความเป็นมนุษย์ในกฎหมายนานาชาติสากลได้ รัฐบาลไทยลอยตัวออกมาจากปัญหาและสามารถผลักดันชาวโรฮิงจา.."
สำนักข้าหลวงใหญ่ผุ้ลี้ภัยสหประชาชาติ(UNHCR) แสดงความห่วงใยต่อเหตุการณ์ที่ได้มีการค้นพบศพจำนวนมากในค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเจ้ามเืองที่ภาคใต้ของประเทศไทยใสัปดาห์นี้ UNHCR เรียกร้องให้ประเทศในภูมิภาคร่วมือสร้างมาตรการต่อต้านการลักลอบขนคนเข้าเมือง และการค้ามนุษย์ในขณะเดียวกัน UNHCR มอบความคุ้มครองให้กับเหยื่อผุ้เคราะห์ร้าย
หน่วยงานของไทยได้แถลงถึงเหตุการณ์การพบศพประมาณ 30 ศพที่เชื่อว่าเป็นกลุ่มคนที่มีต้นกำเนิดจาประเทศพม่า และบังกลาเทศ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการ สืบสวน ข้อสันนิษฐานเบื้องต้นจากตำรวจแจ้งว่าสาเหตุการเสียชีวิตน่าจะมาจากความเจ็บป่วยและการถูกทำร้าย
"มันเป็นเรื่องน่าสลดใจที่ได้รับรู้ว่าผู้คนที่ต้องหลบหนีความยากลำบากจากประเทศของตัวเอง เอาชีวิตมาฝากไว้ในมือของผุ้ลักลอบขนคนเข้าเมืองอันเหี้ยมโหด และต้องเสียชีวิตแทนที่จะได้รับความปลอดภัย" เจมส์ ลินซ์ ผุ้แทนสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลีภัย แห่งสหประชาชาิระดับภูมิภาคประจำประเทศไทย และผุ้ประสานงานสสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภััยแห่งสหประชาชาติประจำภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าว นี้เป็นครั้งแรกของการพบหลุ่มฝังศพที่เกี่ยว้องกับบุลที่อยู่ในความห่วงใยของ UNHRC ในปีที่แล้ว UNHRC ทราบจากชาวโรฮิงญานับร้อยคนที่รอดชีวิตจาการถูกละเมิดอย่างรุนแรง และการถูกทอดทิ้งโดยผู้ลักลอบขนคนเข้าเมืองทางทะเลในอ่ายเบงกอล และในค่ายตามชายแดนไทย -มาเลเซีย บางคนเล่าว่าเคยเห็นคนเสียชีวิตจากการถูกเฆี่ยนตี และขาดอาหาร ข้อมูลนี้ได้รายงานไปยังรัฐบาลในประเทศต่างๆ เพื่อหามาตรการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนแล้ว
ในประเทศไทย UNHCR ได้ให้ความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลบุคคลที่อยู่ในความห่วงใยซึ่งตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้..เราให้ความช่วยเหลือผุ้รอดชีวิตจากการเข้าตรวจค้นค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเข้าเมือง โดยมอบสิ่งของบรรเทาทุกข์เร่งด้วน เช่น ชุดอนามัย เสื้อผ้าและผ้าห้ม นอกจากนี้เรายังทำการสัมภาษณ์ ช่วยค้นหาญาติพี่น้องที่พลัดพรากระหว่างเดินทางให้ได้อยู่ด้วยกันอีกคร้งให้คำปรึกษาด้านต่างๆ และดำเนินการเพื่อสร้างโอาสในการตั้งถิ่นฐานใหม่ในประเทศที่ 3 สำหรับผู้ที่มีความเปราะบางมากที่สุด
ในประเทศมาเลเซีย UNHCR ให้ความคุ้มครองต่อชุมชนชาวโรฮิงญา ผ่านการตรวจเยียมอย่างสม่ำเสมอและได้เข้าช่วยผุ้อพยพทางเรือให้ได้รับการปล่อยตัวจากศูนบ์กักกัน นอกจากนี้ ยังให้การสนับสนุนโครงการฝึกอาชีพ การพัฒนาชุมชน กิจกรรมเสริมสร้างทักษาะ และโครงกการการศึกษาให้กับชุมชนผุ้ลี้ภัย
"การลักลอบขนคนเข้าเมืองเป็นปัญหาระดับภูมิภาคที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคครอบคลุมถึงประเทศที่เป็นแหล่งที่มา ประเทศทางผ่าน และประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทาง"นายลินซ์กล่าว"มาตรการบังคับยใช้กฎหมรยต้องใช้ควบคู่กับความพยายามในการลดความต้องการในการอพยพและลี้ภัยของชนกลุ่มนี้ตั้งแต่แรกเร่ิม รวมถึงการระบุต้นตอของปัญหาที่ทำให้ผู้คนกลุ่มนี้ต้องตัดสินใจเสี่ยงชีวิตของตัวเองกับการเดินทางที่เสียงอัีนตรายเช่นนี้"
ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่าซึ่งเป็นแหล่วที่มาของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการลักลอบขนคนเข้าเมือง UNHRC ได้รณรงค์มาอย่างยาวนานและพร้อมที่จะทำงานร่วมกันในการแก้ไขปัยหาที่เกีิดขึ้น โดยตระหนักถึงสิทธิของทุกฝ่าย การปรองดอง ความเท่าเี่ยมกันทางเศรษฐกิจและสังคม และประเด็นที่เกี่ยนวข้องกับความเป็นพลเมือง ( http//www.unhcr.or.th หน้าแรก,ข่าว,)
วันพุธที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2560
Ro-hing-gya II (Human Rights)
คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ASEAN Intergovernmmental Commission on Human Rights-AICHR
AICHR เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นตามข้อ 14 ของกฎบัตรอาเซียน ที่มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อเดือนกรกฎาคม 2552 ในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียน ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมือวันที่ 13 ตุลาคม 2552 แต่งตั้งให้ ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี เป้นผู้แทนไทยใน AICHR โดยมีวาระ 3 ปี ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2552 -ตุลาคม 2555 โดยผู้แทนไทยฯ มีความเป็นอิสระในการดำเนินนโยบาย โดยได้มีการปรึกษาด้านแนวนโยบายกับกระทรวงฯ เป็นระยะ ในช่วงที่ผ่านมา ผู้แทนไทยฯได้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม เรื่องสิทธิมนุษยชนทั้งภายนอกประเทศ และภายในประเทศ
พัฒนาการและการดำเนินงานของ AICHR
AICHR ได้มีการประชุมไปแล้ว 9 ครั้ง ในระยะยแรกของการำงาน ได้ใช้เวลาการวางรากฐานการทำงาน เพื่อการส่งวเาริมและคุ้มครองสิทะิมนุษยชนอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ โดย 1) การจัดทำไกล์ไลน์เพื่อกำหนดวิธีการดำเนินงาน 2) แผนงานกิจกรรม 5ปี 3)มีการหรือเกี่วกับการทำงานร่วมระหว่าง AICHR กับ ASEAN Commission for the Promotion
and Protection of the Rights of Women and Children (ACWC)
กิจกรรมของ AICHR ประกอบด้วย
1 การศึกษาประเด็นสิทธิมนุษยชน 11 ประเด็น ซึ่งกำหนดทำการศึกษาปีละ 2 ประเด็น โดยในช่วงแรกเป็นเรื่อง Corporate Social Responsibility and Human Rights เรื่อง Migration และ Right to Peace
เปนตน
2. การจัดเวิร์คชอป ร่วมกับองค์กรภายนอก
3. การยกร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
4. การจัดทำ Study of ASEAN blueprints from human rights perspectives
5. การจัดอบรมระดับภูมิภาค
6. การจัดทำสื่อเผยแพร่การทำงานของ AICHR ผาน website และ AICHR booklet
7. การประชุมและสร้างปฏิสัมพันธ์กับองค์กรระหว่างประเทศ
ชาวโรฮิงจา
- กลุ่มโรฮิงจาที่เข้าร่วกับกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรงในบังคลาเทศ RSO ในการต่อสู้เพื่อเอกราชจากรัฐบาลทหารพม่า กลุ่มนี้จะผ่านการฝึกและมีประสบการณ์ด้านการใช้อาวุธและความรุนแรง เป็นกลุ่มที่แยกตัวออกมาจาก Rohingya Patriotic Front (RPF) นำโดยนายแพทย์ชาวพม่าอารกัน ดร.มูฮาเมด ยูนุส เป้นกลุ่มติดอาวุธที่มีบทบาทอยู่ในบังคลาเทศและตามแนวชายแดนบังคลาเทศ-พม่า จากการที่กลุ่มนี้มีการเคลื่อนไหวในลักษณะปฏิบัติการเพื่ออิสรภาพ กลุ่มนี้จึงเป็นมุสลิมหัวรุนแรงที่ได้รับการสนับสนุนจาโลกมุสลิมในปัจจุบัน
- โรฮิงยาที่เป็นอาชญากรข้ามชาติ ในเรื่องการลักลอบนำบุคคลต่างด้าวไปประเทศที่สาม การทำเอกสารปลอม การค้าอาวุธ และการค้ายาเสพติด ทั้งนี้การดำเนินการของกลุ่มนี้เพื่อสนับสนุนการดำเนินการของกลุ่ม RSO (ด้านเงินทุนและด้านอื่นๆ เมื่อต้องการ) และเป็ฯการหารายได้จากกลุ่มที่สองในรูปแบบของการช่วยเหลือการเดินทางไปประเทศที่สาม โดยมีเครื่อข่ายในประเทศไทย มาเลเซีย ออสเตรเลีย แคนาดา อังกฤษ และฝรั่งเศส
- กลุ่มโรฮิงยาที่มิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับมุสลิมหัวรุนแรง เป็นกลุ่มที่หนีชีวิตความเป็นอยุ่ที่ยากแค้น และต้องการหาชีวิตที่ดีกว่า กลุ่มนี้เดินทางข้ามพรมแดนพม่าเข้าสู่บังกลาเทศ เพื่อพบกับตัแทน หรือเครื่องข่ายอาชญากรรมข้ามชาติที่เมืองด๊อกซ์บาซาร์หรือจิตตะกอง แล้วจึงลงเรือมุ่งหน้าสู่ประเทศไทย เพื่อขึ้นฝั่งที่จังหวัดระนอง หรือพังงา โดยมีนายหน้ารอรับขึ้นฝั่งประเทศไทย มีจุดมุ่งหมายปลายทางมุ่งหน้าสู่มาเลเซียเป็นหลัก สำหรับขบวนการนี้มีการจัดการอย่างเป็นระบบโดยมีนายหน้าชาวพม่าโรฮิงจาที่อยุ่ประเทศไทยเป็นผุ้ติดต่อประสานงานกับนายหน้าชาวไทย และเจ้าหน้าที่รัฐเพื่ออำเนินการต่อไป
รัฐบาลพม่าภายใต้การปกครองของนายอูนุ มีความขัดแย้งกันในแนวความคิดทางการเมือง นายอูนุถูกกดดันจาฝ่ายทหารพม่า จำเป็นต้องจัดให้มีการเลือกตั้ง รัฐบาบของนายอูนุออกกฎหมาย เพื่อเอาใจชนกลุ่มน้อย และชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชนเชื้อสายจีนและอินเดียเพื่อให้สิทธิเป็นพลเมืองพม่าได้ นายอุนุเดินทางไปรัฐอารกัน และรับปากกับชาวอารกันมุสลิมว่าจะให้พื้นที่แก่ชาวมุสลิมจัดตั้งเขตปกครองตนเองในรัฐอารกันขึ้นตรงกับกรุงย่างกุ้ง ให้มีารยการวิทยุโรฮิงจากระจายเสียงเป้นภาษาเบงกาลีและเรียกชาวมุสลิมในอารกันว่า "โรฮิงยา"เป็นครั้งแรก อย่างไรก็ตาม นายอูนุไม่ปฏิบัติตามสัญญาที่ให้ไว้ในระหว่างการหาเสียงเลือกตั้ง พร้อมทังยกเลิกรายการวิทยุโรฮิงยา และประกาศว่าประเทศพม่าเป็นประเทศพุทธศาสนา
รัฐบาล นายพล เน วิน ยึดอำนาจพม่าและตั้งรัฐบาลสังคมนิยมพม่า ใช้ระบบสังคมนิยมปกครองประเทศ ยุบพรรคการเมืองต่างๆ สังหารและจับกุมผุ้นำฝ่ายค้าน และผุ้ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล ยกเลิกพันธกรณีต่างๆ สมัยนายอูนุเคยสัญญาไว้ ตลอดจนส่งกำลังโจมตี กองกำลังคอมมิวนิสต์ และกองกำลังโรฮิงยา นายพล เน วิน ขับไล่ชาวจีน ชาวอินเดียและชาวบังคลาเทศ ซึงส่วนใหญ่เป็นักธุรกิจระดับประเทศ/ระดับท้องถิ่นกลับประเทศ โรฮิงจาถูกขับไล่ไปอยู่มี่เมืองด๊อกซ์บาซาร์ของบังคลาเทศซึ่งอยู่ชายแดนติดกับรัฐอารกันของพม่า บังคลาเทศแยกตัวจากปกรีสถานเป็นประเทศใหม่สงผลให้ชาวเบกาลีอพยพเข้ามาในรัฐอารกันเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากในห้วงเวลาดังกล่าวเศรษฐกิจพม่ากำลังรุ่งเรือง พล.อ.เน วิน มีโครงการสำรวจสำมะโนประชากร ออกกฎหมายให้คนจีนและอินเดียที่อยู่ในประเทศพม่าเกินกว่า 10 ปี ได้รับสัญชาติพม่า แต่ไม่รวมชาวโรฮิงยาในรัฐอารกันต่อมา รัฐบาลทหารพม่าออกกฎหมายขับไล่คนที่ไม่มีสัญชาติ รวมทั้งชาวโรฮิงยาออกนอกประเทศ ซึ่งมีชาวมุสลิมโรฮิงจาถูกผลักดันออกนอกประเทศกว่างสองแสนคนแต่บังคลาเทศไม่ยอมรับคนเหล่านี้
รัฐบาลทหารพม่าและบังคลาเทศร่วมกันแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงยา โดยเปิดค่ายผุ้อพยพบริเวณชายแดนพม่า-บังคลาเทศ มีชาวโรฮิงยาเดินทางมาอยู่ในค่ายผุ้พยพกว่าสามแสนคน เนื่องจากชาวเบงกาลีที่เป็นชนพื้นเมืองส่วนใหญ่ไม่ต้องการอยู่ในบังกลาเทศ รัฐบาลทหารพม่าได้ออกมาตรการพิสูจน์สัญชาติผุ้อพยพ หากพบว่ามีบิดามารในรัฐอารกันจะให้สัญชาติพม่า กระทั่งปี 2525 รัฐบาลทหารพม่าประกาศยกเลิกค่ายผุ้อพยพชาวโรฮิงยาทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2548 รัฐบาลบังคลาเทศระบุว่ามีผุ้อพยพชาวโรฮิงยาในบังคลาเทศ จำนวน 20,000 คน แต่ในความเป้นจริงมีชาวโรฮิงยาถือสัญชาติบังกลาเทศในบังคลาเทศกว่า 200,000 คน ทั้งนี้ องค์การสหประชาชาติ โดยสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ได้เข้าไปจัดตั้งสำนักงานและค่ายผุ้อพยพอยู่ทีเมืองค๊อกซ์บาซาร์ของบังคลาเทศและได้จัตั้งศูนย์อพยพบริเวณชายแดนบังคลาเทศ-พม่า อีก 3 แห่ง
จากสภาพการกดขี่และบับบังคับมุสลิมโรฮิงยาตลอดจนการปล่อยข่าวเกี่ยวกับช่องทางในการทำงานและสภาพการดำรงชีวิตที่ดีกว่าในศูนย์ดพยพที่เมืองค๊อกซ์บาซาร์ของรัฐบาลบังคลาเทศ ส่งผลให้มุสลิมโรฮิงยาเริ่มอพยพหลบหนีออกจากศูนย์อพยพที่บังกลาเทศ และ จังหวัดมองดอ มาขึ้นฝั่งไทยที่จังหวัดระนอง ครั้งแรกในปี 2541 จำนวน 104 คน และต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. 2552 ชาวโรฮิงจากว่า 2,000,000 กระจายอยู่ในประเทศต่างๆ สามารถรวมตัวจัดตั้งเป็นกลุ่มหรือองค์กร เช่น กลุ่มสมาคมชาวพม่าโรฮิงจาในไทย (Burma Rohingya
Association in Thailand - BRAT) กลุ่มองค์กรชาวพม่าโรฮิงยาในอังกฤษ(Burma Rohingya Organization in UK - BROUK) กลุ่มสมาคมชาวพม่าโรฮิงจาในญี่ปุ่น (Burma Rohingya Association in
Japan – BRAJ) และกลุ่ม Arakan Rohingya National Organization
- ARNO) ฯลฯ โดยกลุ่มชาวโรฮิงจาเหล่านี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเรียกร้องสิทธิมนุษยชน การเรียกร้องสิทธิในการเป็นราษฎรในรัฐอารกันของพม่ และดูแลช่วยเหลือชาวพม่าโรฮิงยามที่อยู่ในต่างแดน รวมทั้งสนับสนุนด้านการเงินแก่กองกำลังติดอาวุธชาวมุสลิมโรฮิงยาที่เคลื่อนไหวบริณชายแดนพม่า-บังคลาเทศ
รัฐบาลทหารพม่ามีความชิงชังต่อโรฮิงยาที่เป็นทหารรับจ้างของอังกฤษต่อสู้กับพม่าจนตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ เมื่อรัฐบาลพม่าได้รับอิสรภาพ จึงได้ดำเนินการกวาดล้างชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในประเทศอย่างหนัก จากความสำคัญของปัญหา พอสรุปเป็นประเด็นๆ ดังนี้
- มุสลิมโรฮิงจาเป็นกลุ่มชนที่ถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และถูกกดขี่มากที่สุดกลุ่มหนึ่ง
- รัฐบาลพม่าไม่ยอมรับชาวโรฮิงจาเป็นประชาชนชาวพม่า โดยให้เหตุผลทางด้านศาสนาและชขาวโรฮิงจาส่วนใหญ่ไม่ยอมใช้ภาษาพม่าในการสื่อสาร
- รัฐบาลทหารพม่าออกกฎหมายว่าด้วยความเป็นพลเมืองของพม่าปี พ.ศ. 2525 ซึ่งกำหนดว่าหากกลุ่มใดมีความเกี่ยวข้องกัีบขบวนการชนกลุ่มน้อยจะถูกตัดขาดจากการเป็นพลเมืองและต้องหลบหนีอพยพออกนอกประเทศ
- พม่าและบังคลาเทศมีข้อพิพาทในการสร้างท่อก๊าซในรัฐอารกัน โดยบังคลาเทศคิดว่าการสร้างท่อก๊าซดังกล่าวเป็นการบีบให้ชาวโรฮิงจาไม่มีที่อยู่อาศัยและต้องอพยพเข้าไปในประเทศบังคลาเทศ
- การปล่อยข่าวในค่ายอพยพเพื่อให้เกิดการอพยพสู่ประเทศที่ 3
รัฐบาลพม่าที่มาจากการเลือกตั้ง 19 ธันวาคม 2559 มาเลเซีย กล่าวว่า ชะตากรรมของชาวมุสลิมโรฮิงญาในพม่าเป้นความวิตกกังวลในระดับภูมิภาค และเรียกร้องให้สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ประสานความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และสืบสวนข้อกล่าวหาการทำคความรุนแรงต่อชาวโรฮิงจา
นายอานิฟาห์ อามัน รัฐมนตรต่างประเทศมาเลเซีย กล่าวในที่ประชุมกลุ่ม 10 ชาติสมาชิกในนครย่่างกุ้ง ตามคำเชิญของนางอองซาน ซูจี หลังมีรายงานเกี่ยวกับว่า กองทัพได้สังหาร ขช่มขืน และจับกุมพลเรือนโรฮิงญาหลายสัปดาห์ แต่พม่าปฏิเสธข้อกล่าวหาเหล่านี้ โดยระบุว่ารายงานไม่เป็นความจริง และยืนยันว่าปัญหารัฐยะไข่เป็นเรื่องภายใน และเพื่อที่ขจึดแรงกดดันทางการทูตต่อวิกฤตโรฮิงญา รัฐบาลพม่าได้เชิญคณะสื่อมวลชนที่ผ่านการคัดเลือกลงพ้นที่ที่ไดัรับผลกระทบ
นายอานิฟาห์ อามัน กล่าวว่า เหตุการณ์ในรัฐยะไข่เป็นเราื่องความปลอดภัย และความมั่นคงของภูมิภาค ชี้ว่ามีชาวโรฮิงญาราว 56,000 คน อาศัยอยู่ในมาเลเซียตอนนี้
"เราเชื่อว่าสถาการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นความวิตกกังวลของภูมิภาคในตอนนี และควรที่จะได้รับการแก้ไขร่วมกัน" อานิฟาห์ กล่าวต่อที่ประชุม และเสริมว่าความคืบหน้าในการปรับปรุงสิทธิมนุษยชนของโรฮิงญาค่อนข้างช้า เนื่องจากยังเต็มไปด้วยรายงานเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิที่เกิดในรัฐยะไข่ และยังเตือนว่า กลุ่มก่อการร้ายรัฐอิสลามอาจใช้ประโยชน์จากสถานการณ์นี้
ด้านรัฐมนตรีต่างประเทศของไทย กล่าวว่า ทุกคนรู้สึกยินดีต่อการประชุมในวันนี ที่อธิบายว่าเป็นการบรรยายสรุปของพม่าต่อสถานการณ์ในรัฐยะไข่ ส่วนรัฐมนีต่างประเทศอินโดนีเซีย กล่าวว่า พม่าตกลงที่จะให้ข้อมูลเป็นประจำต่อสมาชิกอาเซียน และได้ให้คำมั่นว่าจะเปิดการการเข้าถึงสำหรับการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
ด้านรัฐบาลพม่า ระบุว่า ผู้ก่อความไม่สงบที่อยู่เบื้องหลังการโจมตีด่านชายแดนใกล้ชายแดนบังคลาเทศ ทางเหนือของรัฐยะไข่ มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มหัวรุนแรงในต่างประเทศ
กองกำลังทหารพม่าได้ระดมกำลังลงพื้นที่ที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมนับตั้งแต่เกิดการโจมตีที่ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจเสียชีวิต 9 นาย ตั้งแต่วันที่ 9 เดือนตุลาคม เป็นต้นมา มีผุ้เสียีวิตอย่างน้อย 86 คน และชาวโรฮิงญาราว 27,000 คน ได้หลบหนีเข้าไปในบังคลาเทศ ซึ่งบรรดาผุ้ลี้ภัย ประชาชน และกลุ่มสิทธิมนุษยชน กล่าวว่า ทหารพม่ากระทำการสังหาร ข่มขืนผู้หญิงโรฮิงญา และเผ่าบ้านเรือน
ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ทางเหนือของรัฐยะไข่ เป็นชาวมุสลิมโรฮิงจาที่ถูกปฏิเสธสิทธิความเป็นพลเมืองในพม่า และถูกพิจารณาว่าเป็นผุ้อพยพผิดกฎหมายจากบังคลาเทศ ผุ้สังเกตการณ์และองค์กรสื่ออิสระไม่ได้รับอนุญาติให้เข้าไปในพื้นที่ปิดล้อม ที่ชุมชนชาวโรฮิงญาบางส่วนถูกตัดขาดจาหน่วยงานความช่วยเหลือ ด้วยเหตุผลด้านความมั่นคงเป็นเวลามากกว่า 2 เดือน ซึ่งเพิ่มความวิตกเกี่ยวกับสวัสดิการของประชาชนที่ประสบต่อภาวะขาดสารอาหารที่มีอัตราสูงมาก
กลุ่มผู้สื่อข่าวที่ได้รับเลือกโดยกระทรวงข้อมูลข่าวสารจะเป็นตัวแทนสือในประเทศและต่างประเทศ มีกำหนดเดนทางไปเยือนเมืองหม่องตอพื้นที่หลักของความขัดแย้ง แต่เจ้าหน้าที่ไม่ได้เชิญสื่อที่รายงานข่าวเกี่ยกับข้อกล่าวหาการละเมิด ซึ่งรวมทั้งรอยเตอร์
ความพยายามที่จะโต้แย้งข้อกล่าวหาของการละเมิดสิทธิมนุษยชนของกองทัพต้องล้มเหลวไปจาการเผยแพร่รายงานโดยองค์การนิรโทษกรรมสากล ที่กล่าวหาว่า การรณรงค์ความรุนแรงของพม่าต่อชาวโรฮิงญาอาจเปรียบได้กับการก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ขณะที่กลุ่มสิทธิมนุษยชนยังอ้างภาพถ่ายดาวเทียม และคำให้การของชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่และบังกลาเทศ ท่ามกลางการละเมิดสิทธิชนต่างๆ ยังกล่าวหาว่า มีการอุ้มหายผุ้สูงอายุและแกนนำศาสนาในเมืองหม่องตอ
"ขณะที่ทหารเป็นผุ้รับผิดชอบโดยตรงต่อการละเมิด อองซานซูจี ก็ล้มเหลวที่จะดำเนินการด้วยความรับผิดชอบทั้งทางศีลธรรม และทางการเมืองในความพยายามที่จะหยุดยั้ง และประณามส่ิงที่ปรากฎออกมาให้เห็นในรัฐยะไข่" ผุ้อำนวยการองค์การนิรโทษกรรมสากล ประจำภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟิก ระบุในคำแถลงฉบับหนึ่ง.(http//www.manager.co.th หน้าแรกผู้จัดการ Online, มาเลเซียร้องอาเซียนประสานความช่วยเหลือแก่ชาวโรฮิงจาในพม่า)
รัฐบาลพม่าที่มาจากการเลือกตั้ง 19 ธันวาคม 2559 มาเลเซีย กล่าวว่า ชะตากรรมของชาวมุสลิมโรฮิงญาในพม่าเป้นความวิตกกังวลในระดับภูมิภาค และเรียกร้องให้สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ประสานความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และสืบสวนข้อกล่าวหาการทำคความรุนแรงต่อชาวโรฮิงจา
นายอานิฟาห์ อามัน รัฐมนตรต่างประเทศมาเลเซีย กล่าวในที่ประชุมกลุ่ม 10 ชาติสมาชิกในนครย่่างกุ้ง ตามคำเชิญของนางอองซาน ซูจี หลังมีรายงานเกี่ยวกับว่า กองทัพได้สังหาร ขช่มขืน และจับกุมพลเรือนโรฮิงญาหลายสัปดาห์ แต่พม่าปฏิเสธข้อกล่าวหาเหล่านี้ โดยระบุว่ารายงานไม่เป็นความจริง และยืนยันว่าปัญหารัฐยะไข่เป็นเรื่องภายใน และเพื่อที่ขจึดแรงกดดันทางการทูตต่อวิกฤตโรฮิงญา รัฐบาลพม่าได้เชิญคณะสื่อมวลชนที่ผ่านการคัดเลือกลงพ้นที่ที่ไดัรับผลกระทบ
นายอานิฟาห์ อามัน กล่าวว่า เหตุการณ์ในรัฐยะไข่เป็นเราื่องความปลอดภัย และความมั่นคงของภูมิภาค ชี้ว่ามีชาวโรฮิงญาราว 56,000 คน อาศัยอยู่ในมาเลเซียตอนนี้
"เราเชื่อว่าสถาการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นความวิตกกังวลของภูมิภาคในตอนนี และควรที่จะได้รับการแก้ไขร่วมกัน" อานิฟาห์ กล่าวต่อที่ประชุม และเสริมว่าความคืบหน้าในการปรับปรุงสิทธิมนุษยชนของโรฮิงญาค่อนข้างช้า เนื่องจากยังเต็มไปด้วยรายงานเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิที่เกิดในรัฐยะไข่ และยังเตือนว่า กลุ่มก่อการร้ายรัฐอิสลามอาจใช้ประโยชน์จากสถานการณ์นี้
ด้านรัฐมนตรีต่างประเทศของไทย กล่าวว่า ทุกคนรู้สึกยินดีต่อการประชุมในวันนี ที่อธิบายว่าเป็นการบรรยายสรุปของพม่าต่อสถานการณ์ในรัฐยะไข่ ส่วนรัฐมนีต่างประเทศอินโดนีเซีย กล่าวว่า พม่าตกลงที่จะให้ข้อมูลเป็นประจำต่อสมาชิกอาเซียน และได้ให้คำมั่นว่าจะเปิดการการเข้าถึงสำหรับการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
ด้านรัฐบาลพม่า ระบุว่า ผู้ก่อความไม่สงบที่อยู่เบื้องหลังการโจมตีด่านชายแดนใกล้ชายแดนบังคลาเทศ ทางเหนือของรัฐยะไข่ มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มหัวรุนแรงในต่างประเทศ
กองกำลังทหารพม่าได้ระดมกำลังลงพื้นที่ที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมนับตั้งแต่เกิดการโจมตีที่ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจเสียชีวิต 9 นาย ตั้งแต่วันที่ 9 เดือนตุลาคม เป็นต้นมา มีผุ้เสียีวิตอย่างน้อย 86 คน และชาวโรฮิงญาราว 27,000 คน ได้หลบหนีเข้าไปในบังคลาเทศ ซึ่งบรรดาผุ้ลี้ภัย ประชาชน และกลุ่มสิทธิมนุษยชน กล่าวว่า ทหารพม่ากระทำการสังหาร ข่มขืนผู้หญิงโรฮิงญา และเผ่าบ้านเรือน
ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ทางเหนือของรัฐยะไข่ เป็นชาวมุสลิมโรฮิงจาที่ถูกปฏิเสธสิทธิความเป็นพลเมืองในพม่า และถูกพิจารณาว่าเป็นผุ้อพยพผิดกฎหมายจากบังคลาเทศ ผุ้สังเกตการณ์และองค์กรสื่ออิสระไม่ได้รับอนุญาติให้เข้าไปในพื้นที่ปิดล้อม ที่ชุมชนชาวโรฮิงญาบางส่วนถูกตัดขาดจาหน่วยงานความช่วยเหลือ ด้วยเหตุผลด้านความมั่นคงเป็นเวลามากกว่า 2 เดือน ซึ่งเพิ่มความวิตกเกี่ยวกับสวัสดิการของประชาชนที่ประสบต่อภาวะขาดสารอาหารที่มีอัตราสูงมาก
กลุ่มผู้สื่อข่าวที่ได้รับเลือกโดยกระทรวงข้อมูลข่าวสารจะเป็นตัวแทนสือในประเทศและต่างประเทศ มีกำหนดเดนทางไปเยือนเมืองหม่องตอพื้นที่หลักของความขัดแย้ง แต่เจ้าหน้าที่ไม่ได้เชิญสื่อที่รายงานข่าวเกี่ยกับข้อกล่าวหาการละเมิด ซึ่งรวมทั้งรอยเตอร์
ความพยายามที่จะโต้แย้งข้อกล่าวหาของการละเมิดสิทธิมนุษยชนของกองทัพต้องล้มเหลวไปจาการเผยแพร่รายงานโดยองค์การนิรโทษกรรมสากล ที่กล่าวหาว่า การรณรงค์ความรุนแรงของพม่าต่อชาวโรฮิงญาอาจเปรียบได้กับการก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ขณะที่กลุ่มสิทธิมนุษยชนยังอ้างภาพถ่ายดาวเทียม และคำให้การของชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่และบังกลาเทศ ท่ามกลางการละเมิดสิทธิชนต่างๆ ยังกล่าวหาว่า มีการอุ้มหายผุ้สูงอายุและแกนนำศาสนาในเมืองหม่องตอ
"ขณะที่ทหารเป็นผุ้รับผิดชอบโดยตรงต่อการละเมิด อองซานซูจี ก็ล้มเหลวที่จะดำเนินการด้วยความรับผิดชอบทั้งทางศีลธรรม และทางการเมืองในความพยายามที่จะหยุดยั้ง และประณามส่ิงที่ปรากฎออกมาให้เห็นในรัฐยะไข่" ผุ้อำนวยการองค์การนิรโทษกรรมสากล ประจำภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟิก ระบุในคำแถลงฉบับหนึ่ง.(http//www.manager.co.th หน้าแรกผู้จัดการ Online, มาเลเซียร้องอาเซียนประสานความช่วยเหลือแก่ชาวโรฮิงจาในพม่า)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...