สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายู ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกษ และเกาะอูจงในภาษามลาู และเกาะที่เล็กกว่ามาอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยปจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเชียโดยช่องแคบสิงคโปร์ ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะเป็นแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายออย่างต่อเนื่องโดยากรแปรสภาพที่ดิน
หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และ่ต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน ค.ศ. 1819 โดยเซอร์สแตมฟอร์ด รัฟเฟิลส์ เป็นสถานี้การค้าของบริษัทอินเดียตะวันออกโดยการอนุญาตจากรัฐสุลต่านยะฮอร์ อังกฤษได้อธิปไตยเหนือเกาะใน ค.ศ. 1824 และสิงคโปร์กลายเป็นหนึ่งในอาณานิคมช่องแคบอังกฤษใน ค.ศ. 1826 หลังถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สิงคโปร์ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี 1963 และเข้าร่วมกับอดีตดินแดนของอังกฤษอื่นเพื่อตั้งประเทศมาเลเซีย แต่ต้องแยกตัวออกมาอีกเนื่องจากมีการเหยีดชนชาติ อีกสองปีต่อมาผ่านพระราชบัญญัติโดยเอกฉันท์ นับแต่นั้น ประเทศสิงค์โปร์พัฒนาอย่างรวดเร็ว จนไดรับการรับรองว่าเป็นหนึ่งสี่เสือแห่งเอเซีย (wikipedia .th.org/...ประเทศสิงคโปร์)
ลี กวนยู เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีาิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป้นเวลาสามทศวรรษ เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นบิดผู้ก่อตั้งประเทศสิงคโปร์สมัยใหม่ เขาเป็นผุ้ร่วมก่อตั้งและเป็นเลขาธิการพรรคกิจประชาชน คนแรก และนำพรรคชนะการเลือกตั้งแปดครั้งและควบคุมการแยกสิงคโปร์จาประเทศมาเลเซีย และแปลงจากด่านอาณานิคมค่อนข้งอ้อยพัฒนาซึ่งไม่มีทรัพยากรธรรมชาติสู่การเป็นเสือและก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วตามลำดับ
นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่สอง โก๊ะ จ๊กตง แต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีอาวุโสในปี 1995 เขดำรงตำแหน่างที่ปรึกษารัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ที่ตั้งแต่งเขาเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี นาย ลี เซียนลุง ด้วยการดำรงตำ
แน่างรัฐมนตรีติดต่อกันเป็นเวลากว่า 50 ปีของเขา ทำให้เป็นรัฐมนตรีที่รับราชการนานที่สุดใประวัติศาสตร์คนหนึ่ง เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2554 ลี และ โก๊ะ ประกาศเกษียณจากคณะรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี 2554 แต่ลียังคงเป็นสมาชิกรัฐสภา ลี กวน ยู ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558 ด้วยโรคปอดบวม( wikipedia.th.org./...ลี กวนยู)
..จริงๆ แล้วสิงคโปร์เป็นประเทศประชาธิปไตย มีการเลือกตั้งตอลดมาแต่ก็มีการจำกัดสิทธิเสรีภาพมากมาย ฝ่ายคต้านถูกกีดกันสื่อมวลชนถูกควบคุมเข้มงวด จนถือกันทั่วไปว่าลี กวน ยูเป็นเผด็จการ แต่ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น "เผด็จการผู้ทรงคุณ" สิงคโปร์ภายใต้การนำของ ลี กวน ยู ได้ชื่อว่าเป็นประเทศเดียวในโลกที่สามารถพัฒนาจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนาไปสุ่ประเทศพัฒนาแล้ว ได้ภายในหนึ่งช่วงอายุคน เมื่อได้รับเอกราช และแยกตัวออกมาจากมาเลเซีย สิงคโปร์มีจีดีพีต่อหัวอยู่ที่ 516 ดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งก็มีรายได้มากที่สุดในอาเซียนแต่ก็ยังเป็นประเทศที่ยากจนอยู่ เพราะสหรัฐอเมริกปีนั้นค่าจีดีพีต่อหัวต่อคนอยูที่ 3,665 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ประเทศในยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่ก็มีเกิน2,000ดอลล่าร์สหรัฐฯ กว่าห้าสิบปีต่อมา..ในปี พ.ศ.2556 คนสิงคโปร์มีรายได้เฉพลี่ยถึงปีละ 55,182 ดอลล่าร์สหรัฐฯ แซงอเมริกาที่มีรายได้ต่อหัว 53,042 สูงกว่าอินโดนีเซียห้าเท่า และสูงกว่าไทยสิบเท่า
เป็นที่ชัดเจนว่า ลี กวนยู ให้ความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นเป้าหมายอันดับหนึ่ง โดยเชื่อว่าถ้าเศรษฐกิจเจริญสิ่งดีๆ อื่นๆ จะตามมาเอง(ทำให้ถูกวิจารณ์มากในเรื่องเสรีภาพ) สิ่งที่ลี กวนยูทำ นอกจากจะใช้ความแข็งกร้าวและกฎเหล็กสร้างวินัย ทำให้มีเสถียรภาพมากโดยเฉพาะด้านการเมืองเรื่องที่ได้รับการยกย่องก็มีอีกมาก เช่น การพัฒนาการศึกษา การปราบคอร์รัปชันอย่างจริงจัง การพัฒนาเทโนโลยี การสร้างเมืองให้เป็นศูนย์กลางทางการเงินและการค้าในภูมิภาคฯลฯ
หลักการที่ ลี กวนยูยึดมั่น และใช้เป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนา ก็คือ หลัการของทุนนิยม(ที่ดี)ไม่ยอมให้มีระบบพรรคพวกนิยม(Cronyism) และมุ่งเนนการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ ซึ่งถึงแม้รัฐบาลยังคงมีกิจการรัฐวิสาหกิจอยุ่ไม่น้อย แต่ทุกแห่งก็ถูกบริหารแบบเอกชน ส่งเสริมให้มีการแข่งขัน ถูกกดดันให้มีประสิทธิภาพระบบราชการก็เช่นเดียวกัน เน้นความมีประสิทธิภาพเป็นสำคัญ ข้าราชการมีรายได้เที่ยบเท่าหรือมากกว่าเอกชน...(thaipublica.ลี กวน ยู: มหาบุรุษผู้สร้างประเทศ ผุ้ยึดมั่นในทุนนิยม และเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ)
วันอังคารที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560
Battery of ASEAN
พลังงานอาเซียน
พลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของประชาชนและเป็นปัจจัยพื้นฐานการผลิตในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ดังนั้จึงต้องมีกาจัดหาพลังงานให้มีปริมาณที่เีพียงพอ มีระคาที่เหมาะสม และมีคุณภาพที่ดีสอดคล้องกับความต้องการของผุ้ใช้ในภูมิภาคอาเซียนมีแหล่งทรัพยากรต้นพลังงานที่หลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาต ถ่านหินและ ไฮโดว์ โปเทรนเทียล ที่มีศักยภาพในการใช้นำผลิตไฟฟ้าและกระจายอยู่ตามที่ต่างๆ เช่นประเทศริมฝั่งโขง รวมไปถึงบางส่วนของอินโดนีเซีย และรัฐซาราวัคของมาเลเซียจะมีศักยภาพสูงในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ ส่วนทางด้านใต้อุดมไปด้วยแหล่งพลังงานจากน้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซีย มีถ่านหิน น้ำมันและก๊าซธรรมชาติในปริมาณสูงมาก โดยเฉพาะถ่านหินคาดว่าจะสามารถใช้ได้นานถึง 150 ปี ทั้งน้ำมันและถ่านหินสามารถส่งออกทำรายได้ให้ประเทศสูงมาก เป็นผ้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของอาเซียนและเป็นสมาชิกในกลุ่ม OPEC
มาเลเซีย มีแหล่งพลังงานประมาณมากและมีความหลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติและพลังงานน้ำ สามารถผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติไว้ใช้ในประเทศได้อย่างเพียงพอ และเป็นประเทศผุ้ส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติสุทธิ
บรูไน มีน้ำมันและก๋าซธรรมชาติประมาณมาร รายได้หลักมาจากการส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ และเป็นผุ้ผลิตก๊าซ LNG อันดับ 4 ของโลก
เวียดนาม สามารถผลิตน้ำมันดิได้เกินความต้องการ แต่ก็ยังต้องนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปอยู่ เพราะความสามารถในการกลั่นยังไม่สุงพอ ส่วนใหญ่จะส่งไปยังญี่ปุ่น สิงคโปร์ และเกาหลี เวียดนามได้ผลิตก๊าซธรรมชาติสำหรับใช้ภายในประเทศเท่านั้น โดยนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหลัก
ไทย มีก๊าซธรรมชาติมากในอ่าวไทย และมีลิกไนต์มี่แม่เมาะ แต่ยังมีประมาณไม่มากเมื่อเทียบกับอินโดนีเซีย
เมียนมา มีพลังงานน้ำหลายหมื่อเมกะวัตต์ และก็าซธรรมชาติจำนวนมาก ซึ่งส่วนหนึ่งส่งออกมายังประเทศไทยด้วย
ฟิลิปปินส์ มีความหลากหลายของแหล่งพลังงาน เช่น พลังงานน้ำ พลังงานความร้อนใต้พิภพ และพลังชีวมวล
สปป.ลาว มีพลังงานน้ำมากสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 2 หมื่นเมกะวัตต์ นโยบายส่งเสริมการผลิตพลังงาน และมีการพัฒนาแหล่งพลังงานเพื่อการบริโภคภายในประเทศ ในปัจจุบันไฟฟ้าจึงเป็นสินค้าส่งออกหลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของ สปป.ลาว ซึ่งรายได้จากการส่งออกกระแสไฟฟ้าแต่ละปีมีอัตราเฉลี่ยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ที่สำคัญต่อประเทศจนได้ชื่อว่าเป็นแหล่งพลังงานของอาเซียน
กัมพูชา มีแหล่งก๊าซธรรมชาติในบริเวณแหล่งทับซ้อนในอ่าวไทย และมีการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากเวียดนาม ไทยและสิงคโปร์ (ศูนย์ข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์, พลังงานอาเซียน)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลตั้งอยู่ใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ดลอแนวชายแดนล้อมรอบด้วยประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ทิศเหนือจีน ทิศตะวันออก เวียดนาม ทิศใต้ไทยและกัมพูชา และทิศตะวันตกติกดังประเทศไทยและพม่า
ลักษณะภูมิประเทศของลาวอาจแบ่งเป็น
- เขตภูเขาสูง เป็นพืนที่ที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ย 1,500 เมตรขึ้นไป พื้นที่น้อยู่ในเขตภาคเหนือของประเทศ
- เขตที่ราบสูง คือพื้นที่ซึ่งสูงกว่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ย 1,000 เมตร ปรากฎตั้งแต่ทางทิศตะวันออกเฉีงใต้ของที่ราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชา เขตที่ราบสูงนี้มีที่ราบสูงขนาดใหญ่อยู่ 3 แห่ง ได้แก่ ที่ราบสูงเมืองพวน แขวงเชียงขวาง ที่รบสูงนากาย แขวงคำม่วน และที่ราบสูงบริเวณภาคใต้
- เขตที่ราบลุ่ม เป้นเขตที่ราบตามแนวฝั่งแม่น้ำโขงและแม่น้ำต่างๆ เป้นพื้นที่ที่มีความอุดมสมูรณ์มากที่สุดในเขตพื้นที่ทั้ง 3 เขต นับเป็นพื้ีที่อู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญขอ
ประเทศ แนวที่ราบลุ่มเหล่านี้เริ่มปรากฎตั้งแต่บริเวณตอนใต้ของแม่น้ำงึม เรียกว่าที่รบลุ่มเวียงจันทร์ ผ่านที่ราบลุ่มสุวรรณเขต ซึงอยู่ตอนใต้เซบั้งไฟ และดซบั้งเหียง และที่ราบจำปาศักดิ์ทางภาคใต้ของลาว ซึ่งปรากฎตามแนวแม่น้ำโขงเรื่อยไปจนจดชายแดนประเทศกัมพูชา ทั้งนี้ เมื่อนำพื้นที่ของเขตภูเขาสูงและเขตที่ราบสูงมารวมกันแล้ว จะมากถึง 3 ใน 4 ของพื้นที่ประเทศลาวทั้งหมด โดยจุดที่สูงที่สุดของประเทศลาวอยู่ที่ภูเบี้ย ในแขวงเชียงขวาง
ประเทศลาวมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย โดยแม่น้ำซึ่งเป้นสายหัวใจหลัก คือ แม่น้ำโขง ซึ่งไหลผ่านประเทศลาวกว่า 1,835 กิโลเมตร นอกจากจะมีคตวามสำคัญทั้งในด้านการ เกษตร การประมง การผลิตพลังงานไฟฟ้า กาคมนาคมจากลาวเหนือไปจนถึงลาวใต้แล้ว ยังเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศลาวกับประเทศเพื่อนบ้าน และยังมีแม่ส้ำสายสำคัญๆ ของลาวแห่งอื่นๆ อีกได้แก่ แม่น้ำอู แม่น้ำงึม แม่น้ำเซบั้งเหียง แม่น้ำทา แม่น้ำเซกอง แม้น้ำเซบั้งไฟ แม่น้ำแบ่ง แม่น้ำเซโดน แม่น้ำเซละนอง แม่น้ำกะดิ่ง แม่น้ำคาม
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นำประเทศ ซึ่งพรรคนี้เร่ิมมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยมเมื่อ 2 ธันวาคม 2518 (wikipedia.th.org/..สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว)
การพยายามจะเป็น "แบตเตอรี่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"ทำให้เกิดการตื่นตัวของอุตสาหกรรมไฟฟ้าพลังน้ำในลาวเป็นอย่างมาก ความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มมากขึ้นในประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศไทยและเวียดนามประกอบกับนักลงทุนใหม่ๆ จากประเทศไทย จีน รัสเซีย เวียดนาม และมาเลเซียช่วยหนุนให้เกิดากรขยายตัวของอุตสาหกรรมนีเพิ่มมากขึ้นลาวมีรายได้หลักจากการส่งออกพลังงาน อาทิ ไฟฟ้าพลังน้ำของลาว รวมถึงน้ำมันและก๊าซธรรมชาติพองพม่าให้กับจีและอาเซียนลาวมีศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจาพลังน้ำสูงมาก ไทยจึงสนใจที่จะลงทุนก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำและรับซื้อไฟฟ้าจากลาว
ในส่วนของการสร้างเขื่อนการที่ลาวซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทางทะเล และเป้นประเทศที่ยังไม่ได้ทำอะไรมากนักการสร้างเขื้อนกั้นแม่น้ำโขงตรงช่วงที่ทั้งสองฟากฝั่งต่างอยู่ภายในพรมแดนของลาวนั้น จะทำให้เป็นช่องทางสำคัญที่ทำให้มีรายได้เข้าประเทศ
ลาวมีการวางแผนการที่จะสร้างเขื่อนแห่งใหม่ๆ ทอดข้ามตอนล่างของแม่น้ำโขง อันเป็นปม่น้ำสายใหญ่ที่สุดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตาม เวียดนามได้ออกโรงแสดงการคัดค้านความมุ่งมาดปรารถนาในเรื่องเขื่อนไฟฟ้าพลังงานของลาวแล้ว นักวิจารณ์ในเวียดนามกล่าวว่าโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังงานเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจำนวน 1,260 เมกะวัตต์แห่งนี้จะกลายเป็นความหายนะทางสิ่งแวดล้อม(siamintelligence.com./..ตะลุยสำรวจ ขุนทรัพย์พลังงานกลุ่มประเทศ CLMV)
ASEAN Power Grid แนวคิดของอาเซีย เพาเวอร์ กริด ...การเชื่อโยงระบบไฟฟ้าในอาเซียน จึงเป็ฯการรวมพลังของทุกชาติในภูมิภาคนี้ที่จะร่วมกันจัดสรร และใช้ทรัพยากรพลังงานของเราให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุดส่งเสริมแนวคิดการใชพลังงานอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพเพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงานและเศรษฐกิจผลักดันให้อาเซียนพัฒนาทัดเทียมภูมิภาคอื่นของโลก
วิสัยทัศน์อาเซียน 2563 อาเซียน เพาะเวอร์ กริด เกิดขึ้นในการประชุมผุ้นำสูงสุด อย่างไม่เป็นทางการ ที่กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซียเพื่อกำหนดทิศทางใหม่สู่ 2563 ด้วยวิสัยทัสน์อาเซียน 2563
"...การมีส่วนร่วมของกลุ่มประเทศอาเซียน ในการผนึกกำลังกันเพื่อพัฒนาความเจริญ และสร้างความแข้.แกร่งทางด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยหนึ่งในกลยุทธ์หลักด้านพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียนคือ การเชื่อมโยงโครงข่ายระบบพลังงานและสาธารณูปโภคในอาเซียนได้แก่ ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติและน้ำ โดยผ่่านระบบเชื่อมโยงไฟฟ้าอาเซียน ระบบท่อส่งก๊าซและท่อส่งน้ำ รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การอนุรักษณ์พลังงานและการพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ใหม่ได้อีก
ประโยชน์ที่จะได้รับพอสรุปดังนี้คือ เพิ่มความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจในภูมิภาคจากการจัดสรรและใช้ทรัพยากรด้านพลังงานร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด..ถ่ายเทพลังงานระหว่างประเทศ จากการที่เรามีความหลากหลายของทรัพยากรด้านพลังงานในแต่ละพื้นที่...เกิดเครือข่ายเชื่อมโยงทางการสื่อสารรวมถึงการวางท่อก๊าซ อาเซียน เพาะเวอร์ กริด จะให้เกิดประโยชน์ด้านการสื่อสารในภูมิภาค คือเราสามารถวางระบบโครงข่าวเส้นใยแก้วนำแสง คู่ไปกับระบบสายส่งไฟฟ้า...( temica_magazine..ASEAN Power Grid)
การลงทุนในลาว หากย้อนไปเมื่อสิบกว่าปี ประเทศไทยไได้ชื่อว่าเป็นอันดับหนึ่งในการลงทุนใน สปป.ลาวในแง่ของเงินลงทุน แต่ถ้านับในปัจจุบัน เวียดนามเป้ฯอันดับหนึ่ง จีนเป็นอีกประเทศที่อันดับสอง สำหรับธุรกิจของไทย ถึงจุดอิ่มตัว
รัฐบาล สปป.ลาว ตั้งเป้าหมายไว้ว่าในปี 2563 จะต้องหลุดพ้นจากาการเป็นจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนา หลุดพ้นจากการเป็นประเทศยากจน ซึ่งในสายตามจากผุ้สันทันเกี่ยวกับ สปป.ลาวเห็นว่า เนื่องจากประชากรลาวมีเพียง 6 ลานคน ประชากรจำนวนจำนวนนี้เที่ยบกับศักยภาพประเทศทางด้านเศราฐกิจไม่ว่าจะเป็นด้านเหมื่องแร่ พลังงานไฟฟ้า ภาคเกษตรอุตสาหกรรม ภาคท่องเทียว และการบริการสามารถนำประเทศหลุดพ้นจากความยากจนภายในปี 2563 ได้อย่างแน่นอน
ยิ่งไปกว่านั้น ลาวเปรียบเสมือนแลนด์บริดจ์ของอนุภูมิภาค จะเป็นตัวเชื่อมระหว่าง ไทย-เวียดนาม-กัมพูชา-จีนตอนใต้ เส้นทาง East-West Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกและเส้นทาง North-South Economic Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ผ่านลาวจึงเหมือนเป็นศูนย์กลางการเชือมโยงเครือข่ายในภูมิภาค เพราะฉะนั้นในแง่ของการฉกฉวยโอกาสเป็นไปได้สูงมาก ประกอบกับภาคเกษตรอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ผนวกกับการเชื่อมโยงเส้นทาง 4 ประเด็นหลักๆ จะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนที่จะทำให้ลาวบรรลุเป้าหมาย..."(www.thaiseoboard.com)
"ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่" กระทรวงพลังงานและย่อแร่ของลาว เสนอรายงานล่าสุดในปลายเดือนตุลาคม 2016 ว่าทางการลาวทั้งในส่วนกลางแลระดับท้องถ่ิน ได้อนุญาตสัมปทานการศึกษาสำรวจเพื่อการก่อสร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าแก่เอกชนลาวและต่างชาติไปแล้ว 357 โครงการและได้ให้สัมปทานการสำรวจ ขุดค้นแร่ธาตุไปแล้ว 942 โครงการทั่วประเทศ ในขณะที่ผลผลิตภาคพลังงานและหมืองแร่ในช่วง 5 ปี (2010-2015) ที่ผ่านมา มีมูลค่ารวมกว่า 11,792 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็น 12% ของผลผลิตมวลรวมภายใน ของลาวในระยะย 5 ปีดังกล่าว โดยผุ้ลงทุนรายใหญ่ที่สุดก็คือบรรดาวิสาหกิจจากจีน...
ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานและบ่อแร่ ได้วางแผนการจะผลิตพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า(12,500เมกะวัตต์)ภายในปี 2020 โดยจากาการศึกษาสำรวจพบว่าการก่อสร้างเขื่นในลาวอย่างเต็มศักยภาพนั้นจะทำให้สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้รวมกันถึง 30,000 เมกะวัตต์ เลยทีเดียว
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและย่อแร่ บอกว่า วิสัยทัศน์การพัฒนาทางด้านพลังงานไฟฟ้าถึงปี 2025 คือกรพัฒนาลาวให้เป็นผุ้ส่งออกพลังงานไฟฟ้ารายใหญ่ของอาเซียนให้ได้อย่างแท้จริงซึ่งก็ทำให้มีความจำเป็ฯอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเชื่อมต่อระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าจากลาวมาไทยต่อไปมาเลเซียและสิงคโปร์ให้ได้ด้วย...(www.thaisugarmillers.com/...ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่)
พลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของประชาชนและเป็นปัจจัยพื้นฐานการผลิตในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ดังนั้จึงต้องมีกาจัดหาพลังงานให้มีปริมาณที่เีพียงพอ มีระคาที่เหมาะสม และมีคุณภาพที่ดีสอดคล้องกับความต้องการของผุ้ใช้ในภูมิภาคอาเซียนมีแหล่งทรัพยากรต้นพลังงานที่หลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาต ถ่านหินและ ไฮโดว์ โปเทรนเทียล ที่มีศักยภาพในการใช้นำผลิตไฟฟ้าและกระจายอยู่ตามที่ต่างๆ เช่นประเทศริมฝั่งโขง รวมไปถึงบางส่วนของอินโดนีเซีย และรัฐซาราวัคของมาเลเซียจะมีศักยภาพสูงในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ ส่วนทางด้านใต้อุดมไปด้วยแหล่งพลังงานจากน้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซีย มีถ่านหิน น้ำมันและก๊าซธรรมชาติในปริมาณสูงมาก โดยเฉพาะถ่านหินคาดว่าจะสามารถใช้ได้นานถึง 150 ปี ทั้งน้ำมันและถ่านหินสามารถส่งออกทำรายได้ให้ประเทศสูงมาก เป็นผ้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของอาเซียนและเป็นสมาชิกในกลุ่ม OPEC
มาเลเซีย มีแหล่งพลังงานประมาณมากและมีความหลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติและพลังงานน้ำ สามารถผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติไว้ใช้ในประเทศได้อย่างเพียงพอ และเป็นประเทศผุ้ส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติสุทธิ
บรูไน มีน้ำมันและก๋าซธรรมชาติประมาณมาร รายได้หลักมาจากการส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ และเป็นผุ้ผลิตก๊าซ LNG อันดับ 4 ของโลก
เวียดนาม สามารถผลิตน้ำมันดิได้เกินความต้องการ แต่ก็ยังต้องนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปอยู่ เพราะความสามารถในการกลั่นยังไม่สุงพอ ส่วนใหญ่จะส่งไปยังญี่ปุ่น สิงคโปร์ และเกาหลี เวียดนามได้ผลิตก๊าซธรรมชาติสำหรับใช้ภายในประเทศเท่านั้น โดยนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหลัก
ไทย มีก๊าซธรรมชาติมากในอ่าวไทย และมีลิกไนต์มี่แม่เมาะ แต่ยังมีประมาณไม่มากเมื่อเทียบกับอินโดนีเซีย
เมียนมา มีพลังงานน้ำหลายหมื่อเมกะวัตต์ และก็าซธรรมชาติจำนวนมาก ซึ่งส่วนหนึ่งส่งออกมายังประเทศไทยด้วย
ฟิลิปปินส์ มีความหลากหลายของแหล่งพลังงาน เช่น พลังงานน้ำ พลังงานความร้อนใต้พิภพ และพลังชีวมวล
สปป.ลาว มีพลังงานน้ำมากสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 2 หมื่นเมกะวัตต์ นโยบายส่งเสริมการผลิตพลังงาน และมีการพัฒนาแหล่งพลังงานเพื่อการบริโภคภายในประเทศ ในปัจจุบันไฟฟ้าจึงเป็นสินค้าส่งออกหลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของ สปป.ลาว ซึ่งรายได้จากการส่งออกกระแสไฟฟ้าแต่ละปีมีอัตราเฉลี่ยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ที่สำคัญต่อประเทศจนได้ชื่อว่าเป็นแหล่งพลังงานของอาเซียน
กัมพูชา มีแหล่งก๊าซธรรมชาติในบริเวณแหล่งทับซ้อนในอ่าวไทย และมีการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากเวียดนาม ไทยและสิงคโปร์ (ศูนย์ข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์, พลังงานอาเซียน)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลตั้งอยู่ใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ดลอแนวชายแดนล้อมรอบด้วยประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ทิศเหนือจีน ทิศตะวันออก เวียดนาม ทิศใต้ไทยและกัมพูชา และทิศตะวันตกติกดังประเทศไทยและพม่า
ลักษณะภูมิประเทศของลาวอาจแบ่งเป็น
- เขตภูเขาสูง เป็นพืนที่ที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ย 1,500 เมตรขึ้นไป พื้นที่น้อยู่ในเขตภาคเหนือของประเทศ
- เขตที่ราบสูง คือพื้นที่ซึ่งสูงกว่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ย 1,000 เมตร ปรากฎตั้งแต่ทางทิศตะวันออกเฉีงใต้ของที่ราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชา เขตที่ราบสูงนี้มีที่ราบสูงขนาดใหญ่อยู่ 3 แห่ง ได้แก่ ที่ราบสูงเมืองพวน แขวงเชียงขวาง ที่รบสูงนากาย แขวงคำม่วน และที่ราบสูงบริเวณภาคใต้
- เขตที่ราบลุ่ม เป้นเขตที่ราบตามแนวฝั่งแม่น้ำโขงและแม่น้ำต่างๆ เป้นพื้นที่ที่มีความอุดมสมูรณ์มากที่สุดในเขตพื้นที่ทั้ง 3 เขต นับเป็นพื้ีที่อู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญขอ
ประเทศ แนวที่ราบลุ่มเหล่านี้เริ่มปรากฎตั้งแต่บริเวณตอนใต้ของแม่น้ำงึม เรียกว่าที่รบลุ่มเวียงจันทร์ ผ่านที่ราบลุ่มสุวรรณเขต ซึงอยู่ตอนใต้เซบั้งไฟ และดซบั้งเหียง และที่ราบจำปาศักดิ์ทางภาคใต้ของลาว ซึ่งปรากฎตามแนวแม่น้ำโขงเรื่อยไปจนจดชายแดนประเทศกัมพูชา ทั้งนี้ เมื่อนำพื้นที่ของเขตภูเขาสูงและเขตที่ราบสูงมารวมกันแล้ว จะมากถึง 3 ใน 4 ของพื้นที่ประเทศลาวทั้งหมด โดยจุดที่สูงที่สุดของประเทศลาวอยู่ที่ภูเบี้ย ในแขวงเชียงขวาง
ประเทศลาวมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย โดยแม่น้ำซึ่งเป้นสายหัวใจหลัก คือ แม่น้ำโขง ซึ่งไหลผ่านประเทศลาวกว่า 1,835 กิโลเมตร นอกจากจะมีคตวามสำคัญทั้งในด้านการ เกษตร การประมง การผลิตพลังงานไฟฟ้า กาคมนาคมจากลาวเหนือไปจนถึงลาวใต้แล้ว ยังเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศลาวกับประเทศเพื่อนบ้าน และยังมีแม่ส้ำสายสำคัญๆ ของลาวแห่งอื่นๆ อีกได้แก่ แม่น้ำอู แม่น้ำงึม แม่น้ำเซบั้งเหียง แม่น้ำทา แม่น้ำเซกอง แม้น้ำเซบั้งไฟ แม่น้ำแบ่ง แม่น้ำเซโดน แม่น้ำเซละนอง แม่น้ำกะดิ่ง แม่น้ำคาม
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นำประเทศ ซึ่งพรรคนี้เร่ิมมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยมเมื่อ 2 ธันวาคม 2518 (wikipedia.th.org/..สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว)
การพยายามจะเป็น "แบตเตอรี่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"ทำให้เกิดการตื่นตัวของอุตสาหกรรมไฟฟ้าพลังน้ำในลาวเป็นอย่างมาก ความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มมากขึ้นในประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศไทยและเวียดนามประกอบกับนักลงทุนใหม่ๆ จากประเทศไทย จีน รัสเซีย เวียดนาม และมาเลเซียช่วยหนุนให้เกิดากรขยายตัวของอุตสาหกรรมนีเพิ่มมากขึ้นลาวมีรายได้หลักจากการส่งออกพลังงาน อาทิ ไฟฟ้าพลังน้ำของลาว รวมถึงน้ำมันและก๊าซธรรมชาติพองพม่าให้กับจีและอาเซียนลาวมีศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจาพลังน้ำสูงมาก ไทยจึงสนใจที่จะลงทุนก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำและรับซื้อไฟฟ้าจากลาว
ในส่วนของการสร้างเขื่อนการที่ลาวซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทางทะเล และเป้นประเทศที่ยังไม่ได้ทำอะไรมากนักการสร้างเขื้อนกั้นแม่น้ำโขงตรงช่วงที่ทั้งสองฟากฝั่งต่างอยู่ภายในพรมแดนของลาวนั้น จะทำให้เป็นช่องทางสำคัญที่ทำให้มีรายได้เข้าประเทศ
ลาวมีการวางแผนการที่จะสร้างเขื่อนแห่งใหม่ๆ ทอดข้ามตอนล่างของแม่น้ำโขง อันเป็นปม่น้ำสายใหญ่ที่สุดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตาม เวียดนามได้ออกโรงแสดงการคัดค้านความมุ่งมาดปรารถนาในเรื่องเขื่อนไฟฟ้าพลังงานของลาวแล้ว นักวิจารณ์ในเวียดนามกล่าวว่าโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังงานเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจำนวน 1,260 เมกะวัตต์แห่งนี้จะกลายเป็นความหายนะทางสิ่งแวดล้อม(siamintelligence.com./..ตะลุยสำรวจ ขุนทรัพย์พลังงานกลุ่มประเทศ CLMV)
ASEAN Power Grid แนวคิดของอาเซีย เพาเวอร์ กริด ...การเชื่อโยงระบบไฟฟ้าในอาเซียน จึงเป็ฯการรวมพลังของทุกชาติในภูมิภาคนี้ที่จะร่วมกันจัดสรร และใช้ทรัพยากรพลังงานของเราให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุดส่งเสริมแนวคิดการใชพลังงานอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพเพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงานและเศรษฐกิจผลักดันให้อาเซียนพัฒนาทัดเทียมภูมิภาคอื่นของโลก
วิสัยทัศน์อาเซียน 2563 อาเซียน เพาะเวอร์ กริด เกิดขึ้นในการประชุมผุ้นำสูงสุด อย่างไม่เป็นทางการ ที่กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซียเพื่อกำหนดทิศทางใหม่สู่ 2563 ด้วยวิสัยทัสน์อาเซียน 2563
"...การมีส่วนร่วมของกลุ่มประเทศอาเซียน ในการผนึกกำลังกันเพื่อพัฒนาความเจริญ และสร้างความแข้.แกร่งทางด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยหนึ่งในกลยุทธ์หลักด้านพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียนคือ การเชื่อมโยงโครงข่ายระบบพลังงานและสาธารณูปโภคในอาเซียนได้แก่ ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติและน้ำ โดยผ่่านระบบเชื่อมโยงไฟฟ้าอาเซียน ระบบท่อส่งก๊าซและท่อส่งน้ำ รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การอนุรักษณ์พลังงานและการพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ใหม่ได้อีก
ประโยชน์ที่จะได้รับพอสรุปดังนี้คือ เพิ่มความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจในภูมิภาคจากการจัดสรรและใช้ทรัพยากรด้านพลังงานร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด..ถ่ายเทพลังงานระหว่างประเทศ จากการที่เรามีความหลากหลายของทรัพยากรด้านพลังงานในแต่ละพื้นที่...เกิดเครือข่ายเชื่อมโยงทางการสื่อสารรวมถึงการวางท่อก๊าซ อาเซียน เพาะเวอร์ กริด จะให้เกิดประโยชน์ด้านการสื่อสารในภูมิภาค คือเราสามารถวางระบบโครงข่าวเส้นใยแก้วนำแสง คู่ไปกับระบบสายส่งไฟฟ้า...( temica_magazine..ASEAN Power Grid)
การลงทุนในลาว หากย้อนไปเมื่อสิบกว่าปี ประเทศไทยไได้ชื่อว่าเป็นอันดับหนึ่งในการลงทุนใน สปป.ลาวในแง่ของเงินลงทุน แต่ถ้านับในปัจจุบัน เวียดนามเป้ฯอันดับหนึ่ง จีนเป็นอีกประเทศที่อันดับสอง สำหรับธุรกิจของไทย ถึงจุดอิ่มตัว
รัฐบาล สปป.ลาว ตั้งเป้าหมายไว้ว่าในปี 2563 จะต้องหลุดพ้นจากาการเป็นจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนา หลุดพ้นจากการเป็นประเทศยากจน ซึ่งในสายตามจากผุ้สันทันเกี่ยวกับ สปป.ลาวเห็นว่า เนื่องจากประชากรลาวมีเพียง 6 ลานคน ประชากรจำนวนจำนวนนี้เที่ยบกับศักยภาพประเทศทางด้านเศราฐกิจไม่ว่าจะเป็นด้านเหมื่องแร่ พลังงานไฟฟ้า ภาคเกษตรอุตสาหกรรม ภาคท่องเทียว และการบริการสามารถนำประเทศหลุดพ้นจากความยากจนภายในปี 2563 ได้อย่างแน่นอน
ยิ่งไปกว่านั้น ลาวเปรียบเสมือนแลนด์บริดจ์ของอนุภูมิภาค จะเป็นตัวเชื่อมระหว่าง ไทย-เวียดนาม-กัมพูชา-จีนตอนใต้ เส้นทาง East-West Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกและเส้นทาง North-South Economic Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ผ่านลาวจึงเหมือนเป็นศูนย์กลางการเชือมโยงเครือข่ายในภูมิภาค เพราะฉะนั้นในแง่ของการฉกฉวยโอกาสเป็นไปได้สูงมาก ประกอบกับภาคเกษตรอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ผนวกกับการเชื่อมโยงเส้นทาง 4 ประเด็นหลักๆ จะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนที่จะทำให้ลาวบรรลุเป้าหมาย..."(www.thaiseoboard.com)
"ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่" กระทรวงพลังงานและย่อแร่ของลาว เสนอรายงานล่าสุดในปลายเดือนตุลาคม 2016 ว่าทางการลาวทั้งในส่วนกลางแลระดับท้องถ่ิน ได้อนุญาตสัมปทานการศึกษาสำรวจเพื่อการก่อสร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าแก่เอกชนลาวและต่างชาติไปแล้ว 357 โครงการและได้ให้สัมปทานการสำรวจ ขุดค้นแร่ธาตุไปแล้ว 942 โครงการทั่วประเทศ ในขณะที่ผลผลิตภาคพลังงานและหมืองแร่ในช่วง 5 ปี (2010-2015) ที่ผ่านมา มีมูลค่ารวมกว่า 11,792 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็น 12% ของผลผลิตมวลรวมภายใน ของลาวในระยะย 5 ปีดังกล่าว โดยผุ้ลงทุนรายใหญ่ที่สุดก็คือบรรดาวิสาหกิจจากจีน...
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและย่อแร่ บอกว่า วิสัยทัศน์การพัฒนาทางด้านพลังงานไฟฟ้าถึงปี 2025 คือกรพัฒนาลาวให้เป็นผุ้ส่งออกพลังงานไฟฟ้ารายใหญ่ของอาเซียนให้ได้อย่างแท้จริงซึ่งก็ทำให้มีความจำเป็ฯอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเชื่อมต่อระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าจากลาวมาไทยต่อไปมาเลเซียและสิงคโปร์ให้ได้ด้วย...(www.thaisugarmillers.com/...ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่)
วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2560
Indochina
อินโดจีน Indochina หรือคาบสมุทรอินโดจีน เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจาแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเซียและเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเซียตะวัีนออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคอบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของ ประเ?สอินเดีย คำว่า
"Indochina"มีที่มาจากคำว่า อินโดไชน่าในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม
ในทางประวัติศาสตร์แล้วประทเศในอิโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนาธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมรจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมา ในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน
ภูมิศาสตร์ ถ้ากล่าวตามนิยามอย่างเคร่งครัดแล้ว อิโดจีนจะหมายถึงอดคตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศส "อินโดจีนของฝรั่งเศส"เท่านั้น ซึ่งประกอบด้วย กัมพูชา ลาว เวียดนาม แต่ปัจจุบัน ความหมายของอินโดจีนหมายถึงแผ่นดินใดญ่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งนับรวม คาบสมุทรมลายู ไทย พม่า สิงคโปร์ (th.wikipedia.org/..อินโดจีน.)
สงครามอินโดจีน เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2490 ถึง พ.ศ.2522 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับ ฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจน"เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมืองสงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 ส่งครามได้แก่
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 1 ในฝรั่งเศสเรียกว่า สงครามอินโดจีน ในเวียดนามเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส เร่ิมขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดำเนินต่อมาจนถึงการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสในปี พ.ศ.2497 หลังจากการต่อต้านอันยาวนานของกำลังเวียดมินห์ ในที่สุดก็ได้รับชัยชนะหลังกองทัพญี่ปุ่นและฝรั่งเศสยอมแพ้ทางตอนเหนือเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในช่วงสงครามโลกทางใต้ถูกครอบครองโดย
กองกำลังของอังกฤษที่ฟื้นคืนการควบคุมอาณานิคมของสาธารณรัฐฝรั่งเศสในสหประชาชาติลแะชาติพันธมิตรพร้อมกับอังกฤษและสหรัฐ ฝรั่งเศสได้ร้องของที่จะกลับคืนสู่เวียดนามที่เป็นอาณานิคมของพวกเขาก่อนที่จะต้องลงเข้าร่วมในพันธมิตรนาโต้เพื่อต่อต้านการขยายอำนาจของโซเวียตที่เกินอาณาเขตของกลุ่มประเทศในสนธิสัญญาวอร์ซอในสงครามเย็นเวียดมินห์ที่เป็นคอมมิวนิสต์และชาตินิยมยังคงต่อสู้กับฝรั่งเศสต่อไปโดยได้รับการสนับสนุนจากจีนและสหภาพโซเวียต จนในที่สุดก็ผลักให้ฝรั่งเศสที่มีนาโต้คอยหนุนหลังต้องล่าถอยออกจาอินโดจีน
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 ตะวันตกเรียกว่า สงครามเวียดนาม ในเวียดนามเรียกว่าสงครามอเมริกา ที่เริ่มขึ้นเมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลเวียดนามใต้ทีสนับสนุนโดยสหรัฐฯกับฝ่ายเหนือ ทั้งกองกำลังของเวียดกง และกองทัพเวียดนามเหนือ ปัจจุบันกลายเป็ฯกองทัพประชาชนเวียดนาม เร่ิมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 และจบลงในปี พ.ศ. 2518 สหรัฐสนับสนุนฝรั่งเศสในสงครามคร้งแรกได้เข้าสนับสนุนรัฐบาลเวียนามใต้เพื่อต่กรกับเวียดกงและเวียดนามเหนือที่เป็นคอมมิวนิสต์ ฝ่ายเหนือได้รับการสนับสนุนทางทหารและเงินจากจีนและสหภาพโซเวีต การต่อสู้ยังเกิดขึ้นในกัมพูชาระหว่างอกงทัพที่สหรัฐ
สนับสนุนกับฝ่ายเขมรแดงที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองกัมพูชา) และในลางก็มีการต่อสู้ระหว่างรัฐบาลที่สหรัฐสนับสนุน กองทัพประชาชนเวียนาม และขบวนการปะเทดลาวที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองลาว)
สงครามกัมพูชา-เวียดนาม เป็นสงครามที่เกิดหลังจากสงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 เมื่อเวียดนามหด้เข้าบุกกัมพูชาและขับไล่การปกครองของเขมรแดงออกไป สงครามดำเนินตั้งแต่เมื่อพฤษภาคม 2518 - ธันวาคม พ.ศ. 2532
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 3 หรือสงครามเวียดนาม-จีน เป็นการต่อสู้ระยะสั้นๆ ในเดือนกุมพาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2520 ระหว่างสาธารณรับประชาชนจีนและสาธารณรับสังคมนิยมเวียดนาม จีนได้เข้าบุกเวียดนามเพื่อเป็นการ "ลงโทษ"สำหรับการที่เวียดนามเข้าบุกกัมพูชา และถอนกำลังออกหนึ่งเดือนหลังจากนั้นเมื่อได้รับความสูญเสียอย่างมาก (th.wikipedia.org/..สงครามอินโดจีน)
อินโดจีน มีความสำคัญทางการค้ามาช้านาน เป็นเเหล่งเศรษฐกิจโบราณที่เคยมีบทบาทในภูมิภาคนี้มาก่อน ไม่เช่นนั้นเรื่อสำเภคงไม่แล่นเข้ามาและไปมาหาสู่เมืองต่างๆ ดันมากมาย จนทำให้มหาสมุทรอินเดียและอินเดียและจีนมีความสำคัญต่อการเดินเรือของชาติต่างๆ ถึงกับพากันมาตั้งสถานีการค้าตามเมืองท่าที่อยู่ริมทะเล
เมืองที่ตั้งอยู่ระหว่งมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนจึงถูกเรียกว่า "อินโดจีน" โดยมีราคำที่มาจากคำว่า "อินเดีย"กับ "จีน" เช่นเดียวกับคำว่า "อินโดนีเซีย" ที่มาจากคำว่า "อินเดีย" และ "เอเซีย" ชาวอินเดียและชาวจีน นำเรือสินค้าเดินทางไปตามเมืองต่างๆ พร้อมกับศาสนา ทั้ง ฮินดู พราหมณ์ และพุทธ
ในอดีตประเทศที่อยู่ข้างฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขงเป็นเขตอินโดจีน เนื่องจาฝรั่งเศสได้เข้ายึดครองประเทศนั้น แล้วมีทีท่าจะลุกลามมายังฝั่งซ้ายคือดินแดอีสานของไทย จนต้องีการสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับรัสเซีย ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้น เพื่อปรามฝรั่งเศสให้เกรงใจและยุติการยึดครองในสมัยรัชกาลที่ 5
ภาพของการเรียกร้องอินแดนอินโดจีนคืนจาฝรั่งเศสนั้น เคยปรากฎในประวัติศาสตร์ไทยสมัยจอมพล. ป. พิบูลสงคราม จนเข้าใจว่า แหลมอินโดจีนนั้นคือ ลาว เขมร ญวน จึงมีการนับเอาไทย พม่า ว่าเป็นแหลมสุวรรภูมิหรือแหลมทอง ส่วนมลายู สิงคโปร์ นั้นเป็นแหลมมลายู แต่ความเป็น "อินโดจีน"ในปัจจุบัน ได้หมายถึงประเทศที่อยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ หรือส่วนที่เรียกกันว่า "อุษาคเณย์"เป็นประเทศในเขตแหลมอินโดจีน หากจะรวมไปถึงเกาสุมาตรา บอร์เนียว อินโดนีเซีย บูรไนด้วยก็พออนุโลมเนื่องจากมีเชื้อ่ชาติและวัฒนธรรมเดียวกันกับมาเลเซีย ที่มาจากรากคำว่ "มะละกา" กับ "อินเดีย"
การเดินทางมายังดินแดนต่างๆ ที่เรียกว่าอินโดจีนในอตีตใช้เส้นทางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้เป็นหลัง ด้วยเหตุนี้จึงมีเมืองท่าสำคัญเกิดขึ้นหลายแห่งตามฝั่งตะวันตกของแหลมมลายู เป็นแหล่งเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระยะแรกหรือตลาดใหญ่ที่มีเรือสินค้าติดต่อและจอดรอลมมรสุมพัดกลับตามท่าต่างๆ นั้น บางแห่งก็ถุกชาวต่างชาติยึดครองตั้งสถานีการค้าในเมืองท่านั้น กว่าจะหลุดพ้นสิทธิอำนาจจอกอาณาเขตมาเป็นเมืองเอกราช ก็ใช้เวลานาน
ภาพที่เห็นชัดคือ ดินแดนอินโดจีนส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีกษัตริย์ครองเมือง และมีศาสนาฮินดู พราหมณ์และศษสาพุทธ เป็นหลัก โดยศาสนาฮินดูและพราหมร์เกิดขึ้นมาก่อนและพุทธจึงแพร่หลาย อันเป็นผลที่ทำให้ผุ้คนในแถบอินโดจีนนั้นสามารถเชื่อมโยงความเชื่อและวิถีชีวิตความเป็นอยู่คบ้ายคลึงกัน และมีความสัมพันธ์กันทางพุทธรรม คัมภีร์ของพระผู้เป็นเจ้า แม้จะมีศาสนาอิสลาม คริสต์สาสนาเกิดขึ้นในระยะเวลาต่อมาก็สามารถผสมกลมกลืนอยุ่ร่วมกันได้ในที่สุด
วัฒนธรรมของความเป็นอินโดจีนในบริบททางวัฒนธรรมนั้น จึงมีศาสนาเป็นจุดประสานให้ทุกชนชาตและประเทศในแถบอินโดจีนได้หันหน้าเข้าหากัน ผู้คนอินโดจีนแม้จะมีความต่างทางศาสนาก็สามารถหลอมรวมเป็นวัฒนธรรมเดียวกันได้ ....(www.manager.co.th/..ชื่อดินแดนแห่งนี้มีที่มา)
"Indochina"มีที่มาจากคำว่า อินโดไชน่าในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม
ในทางประวัติศาสตร์แล้วประทเศในอิโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนาธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมรจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมา ในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน
ภูมิศาสตร์ ถ้ากล่าวตามนิยามอย่างเคร่งครัดแล้ว อิโดจีนจะหมายถึงอดคตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศส "อินโดจีนของฝรั่งเศส"เท่านั้น ซึ่งประกอบด้วย กัมพูชา ลาว เวียดนาม แต่ปัจจุบัน ความหมายของอินโดจีนหมายถึงแผ่นดินใดญ่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งนับรวม คาบสมุทรมลายู ไทย พม่า สิงคโปร์ (th.wikipedia.org/..อินโดจีน.)
สงครามอินโดจีน เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2490 ถึง พ.ศ.2522 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับ ฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจน"เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมืองสงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 ส่งครามได้แก่
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 1 ในฝรั่งเศสเรียกว่า สงครามอินโดจีน ในเวียดนามเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส เร่ิมขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดำเนินต่อมาจนถึงการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสในปี พ.ศ.2497 หลังจากการต่อต้านอันยาวนานของกำลังเวียดมินห์ ในที่สุดก็ได้รับชัยชนะหลังกองทัพญี่ปุ่นและฝรั่งเศสยอมแพ้ทางตอนเหนือเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในช่วงสงครามโลกทางใต้ถูกครอบครองโดย
กองกำลังของอังกฤษที่ฟื้นคืนการควบคุมอาณานิคมของสาธารณรัฐฝรั่งเศสในสหประชาชาติลแะชาติพันธมิตรพร้อมกับอังกฤษและสหรัฐ ฝรั่งเศสได้ร้องของที่จะกลับคืนสู่เวียดนามที่เป็นอาณานิคมของพวกเขาก่อนที่จะต้องลงเข้าร่วมในพันธมิตรนาโต้เพื่อต่อต้านการขยายอำนาจของโซเวียตที่เกินอาณาเขตของกลุ่มประเทศในสนธิสัญญาวอร์ซอในสงครามเย็นเวียดมินห์ที่เป็นคอมมิวนิสต์และชาตินิยมยังคงต่อสู้กับฝรั่งเศสต่อไปโดยได้รับการสนับสนุนจากจีนและสหภาพโซเวียต จนในที่สุดก็ผลักให้ฝรั่งเศสที่มีนาโต้คอยหนุนหลังต้องล่าถอยออกจาอินโดจีน
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 ตะวันตกเรียกว่า สงครามเวียดนาม ในเวียดนามเรียกว่าสงครามอเมริกา ที่เริ่มขึ้นเมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลเวียดนามใต้ทีสนับสนุนโดยสหรัฐฯกับฝ่ายเหนือ ทั้งกองกำลังของเวียดกง และกองทัพเวียดนามเหนือ ปัจจุบันกลายเป็ฯกองทัพประชาชนเวียดนาม เร่ิมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 และจบลงในปี พ.ศ. 2518 สหรัฐสนับสนุนฝรั่งเศสในสงครามคร้งแรกได้เข้าสนับสนุนรัฐบาลเวียนามใต้เพื่อต่กรกับเวียดกงและเวียดนามเหนือที่เป็นคอมมิวนิสต์ ฝ่ายเหนือได้รับการสนับสนุนทางทหารและเงินจากจีนและสหภาพโซเวีต การต่อสู้ยังเกิดขึ้นในกัมพูชาระหว่างอกงทัพที่สหรัฐ
สนับสนุนกับฝ่ายเขมรแดงที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองกัมพูชา) และในลางก็มีการต่อสู้ระหว่างรัฐบาลที่สหรัฐสนับสนุน กองทัพประชาชนเวียนาม และขบวนการปะเทดลาวที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองลาว)
สงครามกัมพูชา-เวียดนาม เป็นสงครามที่เกิดหลังจากสงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 เมื่อเวียดนามหด้เข้าบุกกัมพูชาและขับไล่การปกครองของเขมรแดงออกไป สงครามดำเนินตั้งแต่เมื่อพฤษภาคม 2518 - ธันวาคม พ.ศ. 2532
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 3 หรือสงครามเวียดนาม-จีน เป็นการต่อสู้ระยะสั้นๆ ในเดือนกุมพาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2520 ระหว่างสาธารณรับประชาชนจีนและสาธารณรับสังคมนิยมเวียดนาม จีนได้เข้าบุกเวียดนามเพื่อเป็นการ "ลงโทษ"สำหรับการที่เวียดนามเข้าบุกกัมพูชา และถอนกำลังออกหนึ่งเดือนหลังจากนั้นเมื่อได้รับความสูญเสียอย่างมาก (th.wikipedia.org/..สงครามอินโดจีน)
อินโดจีน มีความสำคัญทางการค้ามาช้านาน เป็นเเหล่งเศรษฐกิจโบราณที่เคยมีบทบาทในภูมิภาคนี้มาก่อน ไม่เช่นนั้นเรื่อสำเภคงไม่แล่นเข้ามาและไปมาหาสู่เมืองต่างๆ ดันมากมาย จนทำให้มหาสมุทรอินเดียและอินเดียและจีนมีความสำคัญต่อการเดินเรือของชาติต่างๆ ถึงกับพากันมาตั้งสถานีการค้าตามเมืองท่าที่อยู่ริมทะเล
เมืองที่ตั้งอยู่ระหว่งมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนจึงถูกเรียกว่า "อินโดจีน" โดยมีราคำที่มาจากคำว่า "อินเดีย"กับ "จีน" เช่นเดียวกับคำว่า "อินโดนีเซีย" ที่มาจากคำว่า "อินเดีย" และ "เอเซีย" ชาวอินเดียและชาวจีน นำเรือสินค้าเดินทางไปตามเมืองต่างๆ พร้อมกับศาสนา ทั้ง ฮินดู พราหมณ์ และพุทธ
ในอดีตประเทศที่อยู่ข้างฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขงเป็นเขตอินโดจีน เนื่องจาฝรั่งเศสได้เข้ายึดครองประเทศนั้น แล้วมีทีท่าจะลุกลามมายังฝั่งซ้ายคือดินแดอีสานของไทย จนต้องีการสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับรัสเซีย ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้น เพื่อปรามฝรั่งเศสให้เกรงใจและยุติการยึดครองในสมัยรัชกาลที่ 5
ภาพของการเรียกร้องอินแดนอินโดจีนคืนจาฝรั่งเศสนั้น เคยปรากฎในประวัติศาสตร์ไทยสมัยจอมพล. ป. พิบูลสงคราม จนเข้าใจว่า แหลมอินโดจีนนั้นคือ ลาว เขมร ญวน จึงมีการนับเอาไทย พม่า ว่าเป็นแหลมสุวรรภูมิหรือแหลมทอง ส่วนมลายู สิงคโปร์ นั้นเป็นแหลมมลายู แต่ความเป็น "อินโดจีน"ในปัจจุบัน ได้หมายถึงประเทศที่อยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ หรือส่วนที่เรียกกันว่า "อุษาคเณย์"เป็นประเทศในเขตแหลมอินโดจีน หากจะรวมไปถึงเกาสุมาตรา บอร์เนียว อินโดนีเซีย บูรไนด้วยก็พออนุโลมเนื่องจากมีเชื้อ่ชาติและวัฒนธรรมเดียวกันกับมาเลเซีย ที่มาจากรากคำว่ "มะละกา" กับ "อินเดีย"
การเดินทางมายังดินแดนต่างๆ ที่เรียกว่าอินโดจีนในอตีตใช้เส้นทางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้เป็นหลัง ด้วยเหตุนี้จึงมีเมืองท่าสำคัญเกิดขึ้นหลายแห่งตามฝั่งตะวันตกของแหลมมลายู เป็นแหล่งเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระยะแรกหรือตลาดใหญ่ที่มีเรือสินค้าติดต่อและจอดรอลมมรสุมพัดกลับตามท่าต่างๆ นั้น บางแห่งก็ถุกชาวต่างชาติยึดครองตั้งสถานีการค้าในเมืองท่านั้น กว่าจะหลุดพ้นสิทธิอำนาจจอกอาณาเขตมาเป็นเมืองเอกราช ก็ใช้เวลานาน
ภาพที่เห็นชัดคือ ดินแดนอินโดจีนส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีกษัตริย์ครองเมือง และมีศาสนาฮินดู พราหมณ์และศษสาพุทธ เป็นหลัก โดยศาสนาฮินดูและพราหมร์เกิดขึ้นมาก่อนและพุทธจึงแพร่หลาย อันเป็นผลที่ทำให้ผุ้คนในแถบอินโดจีนนั้นสามารถเชื่อมโยงความเชื่อและวิถีชีวิตความเป็นอยู่คบ้ายคลึงกัน และมีความสัมพันธ์กันทางพุทธรรม คัมภีร์ของพระผู้เป็นเจ้า แม้จะมีศาสนาอิสลาม คริสต์สาสนาเกิดขึ้นในระยะเวลาต่อมาก็สามารถผสมกลมกลืนอยุ่ร่วมกันได้ในที่สุด
วัฒนธรรมของความเป็นอินโดจีนในบริบททางวัฒนธรรมนั้น จึงมีศาสนาเป็นจุดประสานให้ทุกชนชาตและประเทศในแถบอินโดจีนได้หันหน้าเข้าหากัน ผู้คนอินโดจีนแม้จะมีความต่างทางศาสนาก็สามารถหลอมรวมเป็นวัฒนธรรมเดียวกันได้ ....(www.manager.co.th/..ชื่อดินแดนแห่งนี้มีที่มา)
วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2560
Regional Organizations
ในความพยายามที่จะจัดวางระเบีบแบบแผนให้กัีบการเมืองระหว่างประเทศหรือควบคุมพฤติกรรมทางการเมืองของประเทศต่างๆ บรรดานักคิดและรัฐบุรุษทั้เงหบายต่างเห็นพ้องถึงความจำเป็นแห่งการร่วมมือกันเป็นหลักสำคัญ ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับวางหลักประกันในการรักษาความมั่นคงระหว่างชาติและสันติสุขชให้คงอยู่ จากการประชุมระหว่างประเทศและการหารือที่มีเรืทอยมาแต่อดีตเป็นผลให้เกิดความเชื่อที่ว่าในการร่วมมือกันนั้น ควรที่จะมีสภาบันนานาชาติส่วกลาง Universal Actor ดำเนินการรักษาผลประโยชน์ร่วมกันให้แก่รัฐต่างๆ ทีั้งหลาย อิทธิพลแรวความคิดนี้ได้แสดงออกในแบบของการจัดร่างกฎเกณฑ์หรือกฎหมายระหว่างประเทศขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือควบคุมความเคลื่อนไหวและพฟติกรรมทางการเมืองของบรรดารัฐต่างๆ
องค์การระหว่างรัฐนี้คือ สถาบันนานาชาติที่สวมบทบาทของผุ้ปกป้องรักษาความมั่นคงร่วมกัน เป็นองค์การที่มีอำนาจเหนือรัฐในการชี้ขาดตัดสินข้อพิพาทระหว่างผระเทศ และไกล่เกลี่ยข้อบาทหมางที่บังเกิดขึ้นในความสัมพันะ์ระหว่างรัฐต่ารงๆ ตลอดจนอำนาจในการดำเนินการและแก้ไขปัญหากิจกรรมแขนงอื่นๆ ท่ประเทศทั้งหลายมีผลประโยชน์ร่วมกันอยู่
ความมุ่งหวังใฝ่ฝันที่จะให้องค์การระหวา่งรัฐบาลเป็นศูนบ์กลางอำนวยประโยชน์ให้แก่นานาประเทศนัี้นได้รับการสนับสนุนทั้งในระดับสาก และในระดับภาคอื้น สำหรับแนวความคิดสนับสนุนองค์การส่วนภูมิภาคนั้นได้แผ่ขยายออกไปในระยะระหว่างก่อนและหลังสังครามโลกครั้งที่สอง และดูเหมือนว่าความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตซึ่งมีลักาณะเป็ฯองค์ฏารสากล ในการยับยั้งและยุติกรณีพิพาทจะเป็นแรงดันให้เหล่าประเทศต่างๆ หันมาให้ความสำคัญแก่แนวองค์การส่วนภูมิภาคยิ่งขึ้นกว่าเดิม แม้แต่ในระหว่างที่มีการประชุมตระเรียมเสนอโครงร่างกฎบัตรสหประชาชาติ ก็ยังมีการถกเถียงกันถึงประโยชน์และความสำคัญขององค์การส่วนภูมิภาคเมื่อเปรียบกับองค์การระดับสากล หนึ่งในรัฐบุรุษที่เห็นด้วยและสนับสนุนหลักข้อสเนอแนวภูมิภาคนิยม คือ อดีตนายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลล์ ซึ่งมีทัศนาะว่า ระบบนานาชาติควรเปิดโอาสให้มีการจัดตั้งองค์การส่วนภูมิภาคต่างหากแต่ละรายไปในส่วนของยุโรปบ้าง
ทวีปอเมริกาบ้าง และส่วนเอเซียบ้าง ตามแต่ความสมัครใจของกลุ่มชาติในภฺมิภาคหนึ่งภาคใดและเห็นว่าบรรดารัฐต่างๆ ควรมีสิทธิเข้ารวมกลุ่มจัดตั้งขบวนการป้องกันในท้องถิ่น นอกเหนือจากการเป็นสมาชิกองค์การระดับโลก
ต่อเมื่อความเลื่อมใสศรัทธาต่อองค์การสหประชาชาติได้หย่อนคลายลงไปการสนับสนุนข้อตกลงร่วมมือระหว่างรัฐบาลในส่วนภูมิภาคจึงทวีขึ้นตามลำดับ ดังที่ปรากฎจากจำนวนสมาคมหรือสถาบันต่าง ๆ ส่วนภูมิภาคที่เพ่ิมขึ้นมากรายในระยะหลังๆ
อย่างไรก็ดี การหมายมั่นให้องค์การส่วนภูมิภาคเป็นวิถีทางหนึ่งในการส่งเสริมความมั่นคงระหว่งชาติเป็นปัญหาที่จะต้องวิเคราะห์และพิจารณากันต่อไปว่าจะบ่ายโฉมหน้าไปทางทิศใด แต่เท่าที่ปรากฎให้ประจักษ์ สถาบันระวห่างประเทศไม่ได้ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร กล่าวคือ ไม่สามารถสนองตอบเป้าหมายที่ได้วางไว้แต่แรกเริ่มได้ ทั้งนี้ด้วยอุปสรรคขัดขวางหลายประการด้วยกัน ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาและศึกษาต่อไป
ประเภทขององค์การสวนภฺมิภาค การแบ่งประเภทองค์การส่วนภูมิภา อาจกระทำได้โดยใช้บงรรทัดฐานแห่งความมั่นคงเป็นเกณฑ์ ทั้งนี้ด้วยเหตุที่ว่า ปั้จจัยเบื้องแรกที่ดึงดูดให้รัฐต่างๆ สนใจต่อการร่วมมือกันจัดตั้งองค์การระหว่างรัฐบาล คือ ความปรารถนาที่จะเห็นความมั่นคงและความปลอดภัยบังเกิดขึ้นแก่ชาติของตน ตลอดจนกลุ่มชาติในบริเวณใกล้เคียง ความมั่นคงนี้ไม่จำเป็นต้องตีควาใมในเชิงความปลอดภัยจาการคุกคามทางทหารอย่างเดียว แต่อาจมีนัยความหมายในเชิงการมีเสถียรภาพมั่นคงทางเศราฐกิจ สังคม และการเมืองได้เช่นเดียวกัน ถ้าพิจารณาโดยละเอียดจะเห็นว่า องค์การระหว่างรัฐต่างๆ ไม่ว่าจะสถาปนาขึ้นด้วยวัตถุประสงค์เช่นไร จุดมุ่งหมายสุดยอด คือ เจตจำนงที่จะสร้างความมั่นคงให้ลังเกิดขึ้นด้วยวัตถุประสงค์เช่นไร จุดมุ่งหมายสุดยอด คือเจตจำนงที่จะสร้างความมั่นคงให้บังเกิดขึ้นในทุกๆ ด้าน ด้งที่กล่าวข้างต้น
ลักษณะหรือจุดหมาย เน้นในทางสมานสมัคคีกันเองในกลุ่ม กล่วคือ พยายามสนับสนุนการประนีประนอมในการระงับข้อพิพาทบาดหมางโดยสันติวิธีทั้ง่งเสริมใหมีการประสานนโยบายทั่วไปให้สอดคล้องกันเองภายในกลุ่มด้วย
ลักษณะที่สอง มักจะเน้นการตกลงผูกมัดด้วยเลื่อนไข การร่วมือทางทหารตามพันธกรณีที่บัญญัติไว้ ผุ้ร่วมสัญญาจะต้องยอมรับหลักการให้ความช่วยเหลือหรือร่วมป้องกันเมื่อมีการรุกรานหรือโจมตีสมาชิกฝ่ายอื่นๆ
ลักษณะที่สาม จะเป็ฯในรูปของการเจาะจงหน้าที่ในด้านต่างๆ กัน เพื่อการพัฒนาและเชื่อมความสัมพันธ์์ต่อกันและกันของกลุ่มสมาชิกในเครือ ส่วนมากส่งเสริมผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนช่วยเลหือกันทางสวัสดิการ ด้านวิทยาการเทคนิค โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเศรษฐกิจ ตลอดจนด้านอื่นๆ ด้วย
ด้วยลักษณะทั้งสามประการจึงแยประเภทขององค์การส่วนภูมิภาคออกเป็น สามกลุ่มใหญ่ ดังนี้
1) ประเภท Cooperative องค์การที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้มีลัษณะแนวโน้มทั้งสองประการแรกรวมกกันน กล่าวคือ มีลักษณะเด่นในทางส่งเสริมความเป็ฯปึกแผ่นของภาคีในภาคพื้น องค์การมีบทบาทในการจัดแจงไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทระหว่างรัฐในหลุ่มเดี่ยวกัน
พร้อมทั้งส่งเสริมนโยบายการป้องกันร่วมกันของภาคีสมาชิก หากมีการรุกรานแทรกแซงจากภายนอก เช่น องค์การรัฐอเมริกัน OAS และองค์การเอกภาพแห่งอาฟริกา OAU อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีสัญญข้อตกลงร่วมป้องกันการุกรานรวมอยู่ในกฎบัตร องค์การเหล่านนี้ไม่ถือว่มีลักาณะเป็นพันธมิตรแบบเดียวกับองค์การสนธิสัญญป้องกันร่วมกันโดยตรงเพราะเจตจำนงใหญ่ขององค์การ คือ การร่วมประสานนโยายและรับผิดชอบต่อภูมิภาคส่วนตนเหนืออื่นใด
2) ประเถทพันธมิตรทางทหาร Alliance องค์การที่สังกัดอยู่ในกลุ่มนี้ทั้งหมดถือกำเนินจากสนธิสัญญาการป้องกันร่วมกัน โดยที่กลุ่มประเทศในเครือสนธิสัญญาร่วมตกลงผุกมัดตนเองเข้าด้วยกัน และวางเงื่อนไขว่า กรณีที่มีการโจมตีภาคีสมาชิกชาติหนึ่งชาติใด สมาชิกฝ่ายอื่นๆ หรือทั้งหมดจะต้องใช้มาตรการต่างๆ โดยเฉพาะทางทหานให้ความคุ้ม
กันภัยแก่ภาคีนั้นๆ องค์การสนธิสัญญาประเภทนี้ เกิดขึ้นมากมานในระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สองตามอาณาบริเวณต่างๆ กัน เช่น องค์การ นาโต้, วอร์ซอว์แพคท์,แอนซุส,และเซนโต้ เป็นต้น แม้องค์การประเภทนี้ระยะล่าสุดลดกิจกรรมทางทหารและเพิ่มบทบาททางพลเรือนแทน แต่องค์การเหล่านี้ยังคงรักษาเจตจำนงดั้งเดิมไว้ไม่ได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงแต่อย่างไร
3) ประเภทFunctional คือมองในแง่หน้าที่ -ประโยชน์ องค์การประเภทนี้คือ บรรดาสภาบันระหว่งรัฐบาล ซึ่งได้วางจุดมุ่งหมายหน้าที่โดยเฉพาะไว้เพื่อส่งเสริมผลประโยชขน์จากากรร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเมือง ภาพพจน์ขององค์การเหล่านี้ไม่ได้แสดงออกในรูปของการจัดตั้งขบวนการป้องกันทางทหารหรือเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางทหารแต่อย่างใด องค์การที่จัีดอยู่ในหมู่ที่สามนี้โดยทั้งไป
- สมาชิกในเครือองค์การเหล่านี้ มีความแน่นอนใจล่วงหน้าแล้ว การขัดแย้งที่ถึงบังเกิดขึ้นในหมู่ภาคีของตนจะไม่ก้าวไปถึงขนาดการใช้กำลังอาวุธ ประเทศในกลุ่มต่างนอนใจได้ว่า การขัดแย้งทางผลประโยชน์กันเองสามารถลงเอยได้ด้วยการประนีประนอมของคู่กรณี
- ลักษณะหลัง คือ สถาบันระหว่างรัฐเหล่านรรี้ มุ่งปฏิบัติภารกิจหน้าที่ เช่นด้านเศรษฐกิจการค้า วิทยาการเทคนิค หรือในด้านระบบการเงิน เพื่อให้เกิดการคงตัวในระดับการพัฒนา จะไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องหรือมีพันธกรณีทางทหารและกำลังอาวุธทั้งปวง
อาจกล่าวเป็นแนวกว้างๆ ได้ว่า ความคิดแนวภูมิภาคนิยมได้เป็นพลังจูงใจ และสร้างความเลื่อมใสให้บังเกิดขึ้นในหมู่รัฐบุรุษจากนานาประเทศทัวๆ โลก ทั้งนี้อาจวัดความนิยมดังกล่าวได้จากจำนวนองค์การส่วนภูมิภาคที่บรรดาชาติต่างๆ ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เพื่อเ่รงแสวงหาความมั่นคงและส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันในขอบเขตของตน
แม้ว่าบรรดาประเทศทั้งเล็กและใหญ่ต่างเล็งเห็นความสำคัญของอวค์การในระดับภูมิภาคทั้งในแง่เพื่อยึดเหนี่ยวและอำนวยประโยชน์ซึ่งกันและกัน ตลอดจนเพื่อควบคุมความเป็นระเบียบในความสัมพันธ์ระหว่างกัน แต่ปัจจุบันภาวะอย่างหนึ่งที่ไม่อาจปฏิเสธได้คือ องค์การส่วนภูมิภาคไม่สามารถปฏิบัติการสนองตอบให้สมกับความมุ่งมาดปรารถนาดังที่กำหนดไว้แต่แรกเริ่มได้ การประเมินประสิทธิภาพขององค์การส่วนภูมิภาค บ่งให้เห็นว่าความพยายามทุกๆ วิถีทางที่จะบรรเทาความ
ตึงเครียดและรักษาความมั่นคงในระดับภูมิภาคให้คงอยู่ต่อไปนั้นมิได้สัมฤทธิผลตามวัตถประสงค์มากเท่าใดนัก ในข้อนี้จะเห็นได้จากบทบาทขององค์การส่วนภูมิภาคจำพวกพันธมิตรทางทหารโดยเฉพาะ ซึ่งเมื่อพิจารณาในทางเป็ฯจริงแล้ว องค์การประเภทนี้กลับกลายเป็นเครื่อบงทวีความคลางแคลงสงสัีย และตัวถ่วงรั้งความตึงเครียดไว้ในบรรยากาศการเมืองระหว่างประเทศมากกว่าที่จะช่วยเสริมสร้างสันติภาพและเสถียรภาพระหว่างประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากชาติมหาอำนาจต่างก็มีเบื้องหลังเคลื่อบแฝงอยู่ในนโยบายของตน และพยายามชักนำผลประโยชน์มาสู่ฝ่ายตนให้ได้มากที่สุด เพื่อที่ต่างฝ่ายต่างจะได้ใช้กลไกข้อตกลงเป็นเครื่องคอนคุมเชิงซึ่งกันและกัน และคอยรักษาอำนาจและเขตอิทธิพลของตนเงอไว้ สภาพการณ์ขององค์การส่วนภูมิภาคในลักษณะดังกล่าว จึงเป็นเหตุให้องค์การพันธมิตรทางทหารเริ่มเสื่อมคลาย
ทางบทบาทลง เพราะไม่ได้ยังประโยชน์ให้กับสังคมระหว่างชาติส่วนรวมเท่าใดนัก แต่ความจริงประการนี้มิได้หมายความว่า คุณประโยชน์ความหมายและความเจริญก้าวหน้าขององค์ฏารส่วนภูมิภาคจะหมดสิ้นไป อันที่จริงแล้ว นักวิเคราะห์ในสาขานี้หลายท่านกลับเล็งเห็นว่าพลังของการร่วมมือในกรูปแบบขององค์การเศรษฐฏิจ ซึ่งมุ่งส่งเสริมารพัฒนางานด้านสวัสดิการในอันที่จะช่วยยกระดับทางเศรษฐกิจของชาติภาคีในกลุ่มนั้นต่างหากที่จะ่วยพยุงหลักการภูมิภาคนิยมให้ยืนหยัดต่อไ ตลอดจนสามารถขยายวงงานในขอบเขตภูมิภาคให้ก้าวไปสู่การร่วมมือกันของประชาชาติในระดับโลกได้
ปัจจัยที่สร้างความตื่นตัว และดึงดูดความสนใจในเเขนงนี้เนื่องมาจากความสำเร็จขององค์การตลาดร่วมยุโรปที่ทั่วๆ ไปต่างยอมรับกันว่าเป็นสถาบันที่มีความมั่นคงเพียงพอ แลฃะเป็นรากฐานที่แข็.กกร่งสำหรับก้าวไปสู่การวาวนฝโยบายร่วมกันในทางการเมืองได้ แต่กระนั้นก็ดี อุปสรรคที่กีดขวางและรั้งความเจริญก้าวหน้าขององค์การส่วนภูมิภาคก็เป็นส่ิงที่ไม่ควรละเลย แต่ควรได้รับการพัฒนาหาลู่ทางออกตามแต่กรณี ปัญหาพอกพูนที่ขวางกั้นมิให้องค์ฏารดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอนั้นเป็นเรื่องของการกระทบกระทั่งกันทางผลประโยชน์ของแต่ละรัฐเสียส่วนมาก การทะเลาะเบาะแว้งกันเองเป็นสาเหตุที่ไม่มีจุดส้ินสุด ในเมื่อต่างฝ่ายต่าง
คำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติตนเป็นสำคัญ ทั้งนี้สืบเนื่องมาแต่ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจของแต่ละชาติภาคีบ้าง รูปแบบของสังคม ทัศนคติโครงการปกครองที่ผิดแผกจากกันบ้าง หรือความเห็ฯไม่ลงรอยของรํฐบุรุษที่ยึดถืออุถดมการณ์คนะลแนวทาง ตลอดจนปัญหาความแตกต่างทางวัฒนธรรมและอื่นๆ นอกจากนั้นยังเป็นการยากที่สถบันระหว่างรัฐจะดำเนินรอยตามเจตนารมณ์ได้อย่างสมบูรณ์ในเมื่อหลายชาติยังไม่เพียบพร้อมที่จะยอมรบอำนาจสถาบันที่มีัลักษณธเป็การบั่นทอนการใช้อำนาจอธิปไตยในบางกรณีได้ อนึ่ง ความกระตือรือร้นที่จะลอกเลียนแบบพัฒนาการของการรวมตัวทางเศรษฐกิจเยี่ยงในยุโรป ทำให้บรรดากลุ่มองค์การส่วนภูมิภาคอื่นๆ มองข้ามความต้องการทางเศรษฐกิจของแต่ละภาคีสมารชิกในกลุ่มด้วยกันเองเสียสิ้น จะเห็นได้ว่า ชาติภาคีด้วยกันเองส่วนมากเป็นประเทศที่มีพื้นฐานทางเกษตรกรรม และมีผลผลิตคล้ยคลึงกัน การส่งสิ้นค้าออกจำหน่ายจึงมีลักษณะเป็นการแข่ขันกันเองมากกว่า และคงต้องอาศัยการค้าขายกับประเทศนอกกลุ่มเช่นเดิม ลำพังการและเปลี่ยนสินค้าระหว่างกันเองคงไม่สามารถป้อนความต้องการทางเศรษฐกิจของแต่ละสมาชุกได้พอเียง ดังน้ันปัญหาในลักษณธที่กล่าวจึงทำให้ภาคีของสถาบันเหล่านี้ไม่อยู่ในฐานะที่จะพึ่งพากันเองได้เต็มที่และโอกาสที่องค์การเหล่านี้จะร่วมกันประสานระบบการค้าแบบปกป้องคุ้มกันภาคีสมาชิกในกลุ่มจากการเอารัดเอาเปรียบของกลุ่มภายนอก ย่อมลดลงเป็นเงาตามตัว ฉะนั้น ปัฐหาทั้งหมดจึงอยู่ที่ความตั้งใจจริงและการรอมชอมของภาคีสมาชิกในทุกๆ กลุ่มที่จะช่วยลดความขัแย้งทั้งหมดให้น้อยลง และหันมาส่งเสิรมการ่วมือกันเองโดยตรง
องค์การระหว่างรัฐนี้คือ สถาบันนานาชาติที่สวมบทบาทของผุ้ปกป้องรักษาความมั่นคงร่วมกัน เป็นองค์การที่มีอำนาจเหนือรัฐในการชี้ขาดตัดสินข้อพิพาทระหว่างผระเทศ และไกล่เกลี่ยข้อบาทหมางที่บังเกิดขึ้นในความสัมพันะ์ระหว่างรัฐต่ารงๆ ตลอดจนอำนาจในการดำเนินการและแก้ไขปัญหากิจกรรมแขนงอื่นๆ ท่ประเทศทั้งหลายมีผลประโยชน์ร่วมกันอยู่
ต่อเมื่อความเลื่อมใสศรัทธาต่อองค์การสหประชาชาติได้หย่อนคลายลงไปการสนับสนุนข้อตกลงร่วมมือระหว่างรัฐบาลในส่วนภูมิภาคจึงทวีขึ้นตามลำดับ ดังที่ปรากฎจากจำนวนสมาคมหรือสถาบันต่าง ๆ ส่วนภูมิภาคที่เพ่ิมขึ้นมากรายในระยะหลังๆ
อย่างไรก็ดี การหมายมั่นให้องค์การส่วนภูมิภาคเป็นวิถีทางหนึ่งในการส่งเสริมความมั่นคงระหว่งชาติเป็นปัญหาที่จะต้องวิเคราะห์และพิจารณากันต่อไปว่าจะบ่ายโฉมหน้าไปทางทิศใด แต่เท่าที่ปรากฎให้ประจักษ์ สถาบันระวห่างประเทศไม่ได้ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร กล่าวคือ ไม่สามารถสนองตอบเป้าหมายที่ได้วางไว้แต่แรกเริ่มได้ ทั้งนี้ด้วยอุปสรรคขัดขวางหลายประการด้วยกัน ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาและศึกษาต่อไป
ลักษณะหรือจุดหมาย เน้นในทางสมานสมัคคีกันเองในกลุ่ม กล่วคือ พยายามสนับสนุนการประนีประนอมในการระงับข้อพิพาทบาดหมางโดยสันติวิธีทั้ง่งเสริมใหมีการประสานนโยบายทั่วไปให้สอดคล้องกันเองภายในกลุ่มด้วย
ลักษณะที่สอง มักจะเน้นการตกลงผูกมัดด้วยเลื่อนไข การร่วมือทางทหารตามพันธกรณีที่บัญญัติไว้ ผุ้ร่วมสัญญาจะต้องยอมรับหลักการให้ความช่วยเหลือหรือร่วมป้องกันเมื่อมีการรุกรานหรือโจมตีสมาชิกฝ่ายอื่นๆ
ลักษณะที่สาม จะเป็ฯในรูปของการเจาะจงหน้าที่ในด้านต่างๆ กัน เพื่อการพัฒนาและเชื่อมความสัมพันธ์์ต่อกันและกันของกลุ่มสมาชิกในเครือ ส่วนมากส่งเสริมผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนช่วยเลหือกันทางสวัสดิการ ด้านวิทยาการเทคนิค โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเศรษฐกิจ ตลอดจนด้านอื่นๆ ด้วย
ด้วยลักษณะทั้งสามประการจึงแยประเภทขององค์การส่วนภูมิภาคออกเป็น สามกลุ่มใหญ่ ดังนี้
1) ประเภท Cooperative องค์การที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้มีลัษณะแนวโน้มทั้งสองประการแรกรวมกกันน กล่าวคือ มีลักษณะเด่นในทางส่งเสริมความเป็ฯปึกแผ่นของภาคีในภาคพื้น องค์การมีบทบาทในการจัดแจงไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทระหว่างรัฐในหลุ่มเดี่ยวกัน
พร้อมทั้งส่งเสริมนโยบายการป้องกันร่วมกันของภาคีสมาชิก หากมีการรุกรานแทรกแซงจากภายนอก เช่น องค์การรัฐอเมริกัน OAS และองค์การเอกภาพแห่งอาฟริกา OAU อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีสัญญข้อตกลงร่วมป้องกันการุกรานรวมอยู่ในกฎบัตร องค์การเหล่านนี้ไม่ถือว่มีลักาณะเป็นพันธมิตรแบบเดียวกับองค์การสนธิสัญญป้องกันร่วมกันโดยตรงเพราะเจตจำนงใหญ่ขององค์การ คือ การร่วมประสานนโยายและรับผิดชอบต่อภูมิภาคส่วนตนเหนืออื่นใด
2) ประเถทพันธมิตรทางทหาร Alliance องค์การที่สังกัดอยู่ในกลุ่มนี้ทั้งหมดถือกำเนินจากสนธิสัญญาการป้องกันร่วมกัน โดยที่กลุ่มประเทศในเครือสนธิสัญญาร่วมตกลงผุกมัดตนเองเข้าด้วยกัน และวางเงื่อนไขว่า กรณีที่มีการโจมตีภาคีสมาชิกชาติหนึ่งชาติใด สมาชิกฝ่ายอื่นๆ หรือทั้งหมดจะต้องใช้มาตรการต่างๆ โดยเฉพาะทางทหานให้ความคุ้ม
กันภัยแก่ภาคีนั้นๆ องค์การสนธิสัญญาประเภทนี้ เกิดขึ้นมากมานในระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สองตามอาณาบริเวณต่างๆ กัน เช่น องค์การ นาโต้, วอร์ซอว์แพคท์,แอนซุส,และเซนโต้ เป็นต้น แม้องค์การประเภทนี้ระยะล่าสุดลดกิจกรรมทางทหารและเพิ่มบทบาททางพลเรือนแทน แต่องค์การเหล่านี้ยังคงรักษาเจตจำนงดั้งเดิมไว้ไม่ได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงแต่อย่างไร
3) ประเภทFunctional คือมองในแง่หน้าที่ -ประโยชน์ องค์การประเภทนี้คือ บรรดาสภาบันระหว่งรัฐบาล ซึ่งได้วางจุดมุ่งหมายหน้าที่โดยเฉพาะไว้เพื่อส่งเสริมผลประโยชขน์จากากรร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเมือง ภาพพจน์ขององค์การเหล่านี้ไม่ได้แสดงออกในรูปของการจัดตั้งขบวนการป้องกันทางทหารหรือเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางทหารแต่อย่างใด องค์การที่จัีดอยู่ในหมู่ที่สามนี้โดยทั้งไป
- สมาชิกในเครือองค์การเหล่านี้ มีความแน่นอนใจล่วงหน้าแล้ว การขัดแย้งที่ถึงบังเกิดขึ้นในหมู่ภาคีของตนจะไม่ก้าวไปถึงขนาดการใช้กำลังอาวุธ ประเทศในกลุ่มต่างนอนใจได้ว่า การขัดแย้งทางผลประโยชน์กันเองสามารถลงเอยได้ด้วยการประนีประนอมของคู่กรณี
- ลักษณะหลัง คือ สถาบันระหว่างรัฐเหล่านรรี้ มุ่งปฏิบัติภารกิจหน้าที่ เช่นด้านเศรษฐกิจการค้า วิทยาการเทคนิค หรือในด้านระบบการเงิน เพื่อให้เกิดการคงตัวในระดับการพัฒนา จะไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องหรือมีพันธกรณีทางทหารและกำลังอาวุธทั้งปวง
อาจกล่าวเป็นแนวกว้างๆ ได้ว่า ความคิดแนวภูมิภาคนิยมได้เป็นพลังจูงใจ และสร้างความเลื่อมใสให้บังเกิดขึ้นในหมู่รัฐบุรุษจากนานาประเทศทัวๆ โลก ทั้งนี้อาจวัดความนิยมดังกล่าวได้จากจำนวนองค์การส่วนภูมิภาคที่บรรดาชาติต่างๆ ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เพื่อเ่รงแสวงหาความมั่นคงและส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันในขอบเขตของตน
แม้ว่าบรรดาประเทศทั้งเล็กและใหญ่ต่างเล็งเห็นความสำคัญของอวค์การในระดับภูมิภาคทั้งในแง่เพื่อยึดเหนี่ยวและอำนวยประโยชน์ซึ่งกันและกัน ตลอดจนเพื่อควบคุมความเป็นระเบียบในความสัมพันธ์ระหว่างกัน แต่ปัจจุบันภาวะอย่างหนึ่งที่ไม่อาจปฏิเสธได้คือ องค์การส่วนภูมิภาคไม่สามารถปฏิบัติการสนองตอบให้สมกับความมุ่งมาดปรารถนาดังที่กำหนดไว้แต่แรกเริ่มได้ การประเมินประสิทธิภาพขององค์การส่วนภูมิภาค บ่งให้เห็นว่าความพยายามทุกๆ วิถีทางที่จะบรรเทาความ
ตึงเครียดและรักษาความมั่นคงในระดับภูมิภาคให้คงอยู่ต่อไปนั้นมิได้สัมฤทธิผลตามวัตถประสงค์มากเท่าใดนัก ในข้อนี้จะเห็นได้จากบทบาทขององค์การส่วนภูมิภาคจำพวกพันธมิตรทางทหารโดยเฉพาะ ซึ่งเมื่อพิจารณาในทางเป็ฯจริงแล้ว องค์การประเภทนี้กลับกลายเป็นเครื่อบงทวีความคลางแคลงสงสัีย และตัวถ่วงรั้งความตึงเครียดไว้ในบรรยากาศการเมืองระหว่างประเทศมากกว่าที่จะช่วยเสริมสร้างสันติภาพและเสถียรภาพระหว่างประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากชาติมหาอำนาจต่างก็มีเบื้องหลังเคลื่อบแฝงอยู่ในนโยบายของตน และพยายามชักนำผลประโยชน์มาสู่ฝ่ายตนให้ได้มากที่สุด เพื่อที่ต่างฝ่ายต่างจะได้ใช้กลไกข้อตกลงเป็นเครื่องคอนคุมเชิงซึ่งกันและกัน และคอยรักษาอำนาจและเขตอิทธิพลของตนเงอไว้ สภาพการณ์ขององค์การส่วนภูมิภาคในลักษณะดังกล่าว จึงเป็นเหตุให้องค์การพันธมิตรทางทหารเริ่มเสื่อมคลาย
ทางบทบาทลง เพราะไม่ได้ยังประโยชน์ให้กับสังคมระหว่างชาติส่วนรวมเท่าใดนัก แต่ความจริงประการนี้มิได้หมายความว่า คุณประโยชน์ความหมายและความเจริญก้าวหน้าขององค์ฏารส่วนภูมิภาคจะหมดสิ้นไป อันที่จริงแล้ว นักวิเคราะห์ในสาขานี้หลายท่านกลับเล็งเห็นว่าพลังของการร่วมมือในกรูปแบบขององค์การเศรษฐฏิจ ซึ่งมุ่งส่งเสริมารพัฒนางานด้านสวัสดิการในอันที่จะช่วยยกระดับทางเศรษฐกิจของชาติภาคีในกลุ่มนั้นต่างหากที่จะ่วยพยุงหลักการภูมิภาคนิยมให้ยืนหยัดต่อไ ตลอดจนสามารถขยายวงงานในขอบเขตภูมิภาคให้ก้าวไปสู่การร่วมมือกันของประชาชาติในระดับโลกได้
ปัจจัยที่สร้างความตื่นตัว และดึงดูดความสนใจในเเขนงนี้เนื่องมาจากความสำเร็จขององค์การตลาดร่วมยุโรปที่ทั่วๆ ไปต่างยอมรับกันว่าเป็นสถาบันที่มีความมั่นคงเพียงพอ แลฃะเป็นรากฐานที่แข็.กกร่งสำหรับก้าวไปสู่การวาวนฝโยบายร่วมกันในทางการเมืองได้ แต่กระนั้นก็ดี อุปสรรคที่กีดขวางและรั้งความเจริญก้าวหน้าขององค์การส่วนภูมิภาคก็เป็นส่ิงที่ไม่ควรละเลย แต่ควรได้รับการพัฒนาหาลู่ทางออกตามแต่กรณี ปัญหาพอกพูนที่ขวางกั้นมิให้องค์ฏารดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอนั้นเป็นเรื่องของการกระทบกระทั่งกันทางผลประโยชน์ของแต่ละรัฐเสียส่วนมาก การทะเลาะเบาะแว้งกันเองเป็นสาเหตุที่ไม่มีจุดส้ินสุด ในเมื่อต่างฝ่ายต่าง
คำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติตนเป็นสำคัญ ทั้งนี้สืบเนื่องมาแต่ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจของแต่ละชาติภาคีบ้าง รูปแบบของสังคม ทัศนคติโครงการปกครองที่ผิดแผกจากกันบ้าง หรือความเห็ฯไม่ลงรอยของรํฐบุรุษที่ยึดถืออุถดมการณ์คนะลแนวทาง ตลอดจนปัญหาความแตกต่างทางวัฒนธรรมและอื่นๆ นอกจากนั้นยังเป็นการยากที่สถบันระหว่างรัฐจะดำเนินรอยตามเจตนารมณ์ได้อย่างสมบูรณ์ในเมื่อหลายชาติยังไม่เพียบพร้อมที่จะยอมรบอำนาจสถาบันที่มีัลักษณธเป็การบั่นทอนการใช้อำนาจอธิปไตยในบางกรณีได้ อนึ่ง ความกระตือรือร้นที่จะลอกเลียนแบบพัฒนาการของการรวมตัวทางเศรษฐกิจเยี่ยงในยุโรป ทำให้บรรดากลุ่มองค์การส่วนภูมิภาคอื่นๆ มองข้ามความต้องการทางเศรษฐกิจของแต่ละภาคีสมารชิกในกลุ่มด้วยกันเองเสียสิ้น จะเห็นได้ว่า ชาติภาคีด้วยกันเองส่วนมากเป็นประเทศที่มีพื้นฐานทางเกษตรกรรม และมีผลผลิตคล้ยคลึงกัน การส่งสิ้นค้าออกจำหน่ายจึงมีลักษณะเป็นการแข่ขันกันเองมากกว่า และคงต้องอาศัยการค้าขายกับประเทศนอกกลุ่มเช่นเดิม ลำพังการและเปลี่ยนสินค้าระหว่างกันเองคงไม่สามารถป้อนความต้องการทางเศรษฐกิจของแต่ละสมาชุกได้พอเียง ดังน้ันปัญหาในลักษณธที่กล่าวจึงทำให้ภาคีของสถาบันเหล่านี้ไม่อยู่ในฐานะที่จะพึ่งพากันเองได้เต็มที่และโอกาสที่องค์การเหล่านี้จะร่วมกันประสานระบบการค้าแบบปกป้องคุ้มกันภาคีสมาชิกในกลุ่มจากการเอารัดเอาเปรียบของกลุ่มภายนอก ย่อมลดลงเป็นเงาตามตัว ฉะนั้น ปัฐหาทั้งหมดจึงอยู่ที่ความตั้งใจจริงและการรอมชอมของภาคีสมาชิกในทุกๆ กลุ่มที่จะช่วยลดความขัแย้งทั้งหมดให้น้อยลง และหันมาส่งเสิรมการ่วมือกันเองโดยตรง
วันศุกร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560
Mekong River
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีพญานาคราช สองตัวเป็นเพื่อนรักกันมาก ชื่อ ฑพญาศรีสุทโธนาค" กับพญาสุวรรณนาค"ทั้งสองแบ่งกันปกครองเมืองบาดาลหนองกระแสฝ่ายละครึ่งเมือง ซึ่งคนสมัยก่อนเชื่อกันว่า "หนองกระแส" คือเมืองบาดาลอยู่ใต้ทะเลสาบ"หนองหาน" พญานาคทั้งสองนั้นมีพญานาคบริวารฝ่ายละ 500 ตัว ทุกๆ ปีทั้งสองฝ่ายจะไปมาหาสู่กันเพื่อเยียมยามถามข่าวถึงสารทุกข์สุกดิบกันอยู่เสมอมิได้ขาด
อยู่มาวันหนึ่งพญาศรีสุทโธนาคได้พาบริวารออกไปล่าสัตว์ในป่าเผอิญล่าได้ช้าป่ามาตัวหนึ่งพญาศรีสุทโธนาคนึกถึงสหายพญาสุวรรณนาค จึงชำเเหละเนือช้างให้บริวารนำไปให้ครึ่งตัว เมื่อพญาสุวรรณนาคได้รับของฝากจาเพื่อรักเป็นเนื้องช้างก็มีความยินดี จึงได้ส่งสาส์นแสดงความขอบใจมายังพญาศรรีสุทโธนาค ทั้งบอกว่าในโอกาสหน้าตนคงจะได้ส่งของฝากมาเป็นการตอบแทนบ้าง วันหนึ่งพญาสุวรรณนาคได้พาบริวารออกไปล่าสัตว์ในป่า โดยล่าได้เม่นมาหนึ่งตัว พญาสุวรรณนาคจึงสั่งให้ชำแหละเนื้อเม่นแล้วแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งเอาไว้กินเอง และอีกส่วนหนึ่งให้บริวารนำไปให้แก่พญาศรีสุทโธนาค เพื่อเป็นของฝาก พญาศรีสุทโธนาคเมื่อได้รับเนื้อเม่น เห็นว่ามีจำนวนน้อยนิดผิดกับเนื้อช้างที่ตนนำไปให้ก็ไม่พอใจ โดยคิดว่าเม่นน่าจะตัวใหญ๋หว่าช้าง เพราะขนเม่นยาวกว่าขนช้าง จึงไม่รับของฝากนั้น
พอพญาสุวรรณนาคทราบดังนั้นก็ไม่สบายใจ รีบเดินทางมาอธิบายชีแจงใหพญาศรีสุทโธนาคฟังว่า แม้ขนเม่นจะยาวกว่าขนช้างแต่เม่นก็ตัวเล็กกว่าช้างมาก ฉะนั้น เนื้อเม่นคตังตัวจึคงน้อยกว่าเนื้อช้างครึ่งตัวแน่นอน แต่พญาศรีสุทโธนาคก็ไม่ฟังเหตุผล หาว่าพญาสุวรรณนาคเอาเปรียบตน จคึงเกิดการโต้เถียงทะเลาะกันอย่างรุนแรงจนถึงประกาศท้ารบกันขึ้น พญาศรีสุทโธนาคผุ้มุทะลุจึงยกทัพนาคมาบุกประชิดติดชายแดนเมืองหนองกระแสด้านที่อยู่ในความปกครองของพญาสุวรรณนาค การเคลื่อนพลมาอย่างรีบร้อนทำให้น้ำในทะเลสาบหนองกระแสขุ่นคลั่กเป็นสีชมพู ฝ่ายพญาสุวรรณนาคเห็นดังนั้นก็จนใจต้องพาบริวารออกต่อสู้กับเพื่อนรัก เพื่อป้องกันแว่นแคว้นในปกครอง พญานาคทั้งสองฝ่ายได้เข้าต่อสู้ประหัตประหารกันอยู่นานถึง 7 ปี แต่ก็ไม่มีฝ่ายใดชนะอย่างเด็ดขาดสงครามนาคครั้งนี้ทำให้โลกสั่นสะเทือนลั่นหวั่นไหวสะท้านไปถึงสวรรค์และบาดาล เดือดร้อนกันไปทั่วทั้งมนุษย์ เทวดา และนาค จากเรื่องที่เข้าใจผิดกัน
พญาแถนผู้เป็นใหญ่บนสวรรค์เห็นเหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจึงเสด็จมายังดลมนุษย์ ณ บริเวณสนามรบที่เมืองหนองกระแส พร้อมมีเทวโองการว่า
"ข้าพญาแถนจอมสวรรค์ผู้ยิ่งใหญ่ ขอสั่งให้สองฝ่ายหยุดรบกันพวกเจ้าไม่มีใครเก่งกว่าใคร และขอประกาศให้เมืองหนองกระแสเป็นเขตปลอดสงคราม ให้ทั้งสองจงพาไพล่พลออกจากเมืองหนองกระแสโดยด่วนที่สุด ถ้าเจ้าทั้งสองเก่งจริงขอจงไปสร้างแม่น้ำแข่งขันกันเถิดใครสร้างแม่น้ำไปถึงทะเลก่อนถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ชนะ แล้วข้อจะปล่อยปลาบึกลงในแม่น้ำสายที่สร้างเสร็จก่อน"
พอสิ้นเทวโองการ พญานาคทั้งสองต่างก็พากันแยกย้ยไปในทันที โดยพญาศรีสุทโธนาคผู้มีอารมณ์อันมุทะลุดุดันและมุ่งหวังเอาชนะ ได้สร้างแม่น้ำไปทางทิศตะวันออกของเมืองหนองกระแสอย่างรีบร้อยไม่พิถีพิถันเอาเสร็จเข้าว่า แม่น้ำจึงคดเคี้ยวเลี้ยวไปมาตามแนวภูเขชาจึงเรียกว่า "แม่น้ำโค้ง"ต่อมาเพี้ยนเป็น "แม่น้ำโขง" ส่วนพญาสุวรรณนาคผุ้ใจเย็นสุขุมลุ่มลึก พาไพล่พลสร้างแม่น้ำมุ่งไปยังทิศใต้ของเมืองหนองกระแส โดยตั้งใจสร้างอย่างพิถีพิถันเป็นเส้นตรง เพื่อย่นระยะทางในการสร้าง แม่น้ำสายนี้จึงเรียกชื่อว่า "แม่น้ำน่าน" ผลของการสร้างแม่น้ำแข่งกันในครั้งนี้ ปรากฎว่าพญาศรีสุโธนาคเป็น่ายชนะ พญาแถนจึงปล่อยปลาบึกซึ่งเป็นน้ำจืดขนาดใหญ่ที่สุดลงในแม่น้ำโขง และเป็นแม่น้ำสายเดียวเท่านั้นที่มีปลาบึกอาศัียอยู่จนทุกวัีนนี้( วิเชียน เกษประทุม. นิทานพื้นบ้าน ชุดที่ 5 ชุดตำนาน, กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์พัีฒนาศึกษา, 2551.)
แม่น้ำโขง มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัยไหลผ่านบริเวณที่รอบสูงทิเบตและ มณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศ จีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งสิ้น 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ แม่น้ำล้านช้างและเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึคงคำเมืองล้านนาก็เรียกแม่น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง
ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือมีตลิ่งสูงชันมากทั้งสองฝั่่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปีระดับ ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านประเทศต่างๆ หลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่า แม้น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูปตะวันออก
นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็นหนึ่งในสามของแม่น้ำที่ำด้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนานภายใต้ชื่อพื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนานพื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลากทางชีวภาพสูง(wikipedia. แม่น้ำโขง)
6 เหลี่ยมเศรษฐกิจ กลุ่มความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง Greater Mekong Subregion cooperation(GMS) คือ กลุ่มประเทศอาเซียนที่เชื่อมโยงโดยผ่านแม่น้ำโขงมี 5 ประเทศและรวมกับจีนแทบยูนนานเป็น 6 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวยดนาม กัมพูชา และทางตอนใต้ของจีนแทบยูนนาน ได้มีการจัดทำแผนความร่วมมือเชื่อมโยงเครือข่ายด้านสธารณูปโภคพื้นฐานมากว่า 2 ทศวรรษ โครงการดังกล่าวเิร่มจากากรทำแผนจังหวัดยุทธศาสตร์ของกระทรวงมหาดไทยซึ่งมีคุณอนันต์ อนันตกูล เป็นปลัดกระทรวงซึ่งได้ริเริ่มจัดทำแผนยุทธศาสตร์จังหวัด 5 แห่ง ได้แก่ ภูเก็ต นครศณีธรรมราช ชลบุรี มุกดาหารและเชียงราย ในกรอบยุทธศาสตร์ของจังหวัดเชียงรายกได้มีวิสัยทัศน์เชื่อมโยงจังหวัดเชียงรายเข้ากับประเทศเพื่นบ้าน ซึ่งก็คือต้นกำเนิดของ 6 เหลี่ยมเศรษฐกิจ ต่อมา ADB ได้ให้การสนับสนุนกับโครงการดังกลาวและกลายเป็นนโยบายของรัฐบาลไทยซึ่งในยุคนั้นมีรองนายกฯ คือคุณศุภชัย พานิชภักดิ์ เป็นผู้ริเริ่มและให้การสนับสนุนจนกลายเป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ
ในกรอบ AEC ข้อที่ 2 คือการส่งเสริมขีด
ความสามารถการแข่งขันและอีก 1 องค์ประกอบคือ พัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานร่วมกัน GMS จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของ AEC ซึ่งเป็นโครงการพัี่พัฒนาต่อเนื่องมาก่อนหน้านี้ และเมื่อพม่าเปิดประเทศ โครงการดังกล่าวยิ่งได้รับความสนใจและมีพลวัตรของการขับเคลื่อนที่รวดเร็วยิ่งขึ้น ภายใต้กรอบดังกล่าว แต่ละประเทศตกลงที่จะรับผิดขอบในการพัฒนาเครือข่ายสาธารณูปโภคพื้นฐานร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งทางน้ำ ทางบก และอื่นๆ และแน่นอน เครือข่ายดังกล่าวย่อมทำให้เกิดการขยายตัวของเครือข่ายคมนาคม โลจิสติกส์ หรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ซึ่งจะช่วยหนุนด้านการค้าและการลงทุนของประเทศในกรอบดังกล่าว ภายใต้ GMS จะมีกรอบเชื่อมโยงที่เรียกว่า ระเบียง Corridors 3 ระเบียง กล่าวคือ
1) เรียกว่า North-South ซึ่งมีการเชื่อมโยง 3 เส้นทาง เริ่มจากยูนนาน ลาว พม่า จังหวัดพิษณุโลก กรุงเทพฯ เข้า ประจวบ และไปเชื่อมโยงกับสามเหลี่ยมทางตอนใต้ (Indonesia-MalaySia-Thailand Growth Triangle : IMT-GT)
2) เรียกว่า East-West เริ่มจาก แว้ ดานัง สุวรรณเขต เข้าอีสาน เชื่อมต่อ พิษณุโลก กรุงเทพฯ ไปออกเมืองมะละแหม่ง และเมาะลำไยของพม่า ไปสู่กลุ่ม BIMST-ECไปออกอินเดีย เชื่อต่อไปสู่ตะวันออกกลาง และยุโรป
3) South-South เชื่อมต่อ 4 เส้นทาง เริ่มจากกรุงเทพฯไปจบที่เวียดนาม บางเส้นจบที่หวงเตา บางเส้นจบผ่านเสียมเรียบ บางเส้นผ่านตราดและกาะง การเชื่อมโยงดังกล่าว ทำให้เกิดการขยายตัวของเมืองทำให้เกิดการขยายตัวของเขตเศรษบกิจจำเพาะ โดยเฉพาะบริเวณรอบต่อ เช่น แม่สอด แม่สายกับเมียวดี หนองคายกับลาว ตราด เกาะกงกับกัมพูชา การเชื่อมต่อจะทำให้เกิดการขยายตัวของการค้าและการลงทุน ซึ่งทำให้ราคาที่ดินขึ้นอย่างมหาศาล จังหวัดที่อยุ่ในกรอบเส้นทางดังกล่าว โดยเฉพาะพิษณุโลก ราคาที่ดินขึ้นถึง 1,000 เปอร์เซนต์(http//www.chaoprayanews.com, ความร่วมมือเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(GMS),1 สิงหาคม 2014.)
...เตือนใจ ดีเทศน์ อดีต ส.ว. จังหวัดเชียงราย กล่าวว่า แม่น้ำโขงตอนบนอยู่ในประเทศจีนที่เรียกว่า แม้น้ำล้านช้าง หรือหลานชางเจียง ถูกรัฐบาลจีนกำนหดแผนสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้า 28 เขื่อน ขณะนี้สร้าเสร็จแล้ว 6 เขื่อน
นักธรณีวิทยาระบุว่า แม่น้ำโขในจีนตั้งอยุ่บนรอยเลื่อนของเปลือกโลกที่ยังมีพลังแผ่นดินไหวเกิดขึ้นในยูนนานหลายครั้ง หากเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงเขื่อนอาจแตก
งานวิจัยหลายช่ินชี้ว่านับแต่มีเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงในจีน "ปริมณน้ำในฟดูน้ำหลกลดลง แต่ปริมาณน้ำในฤดูแล้วกลับเพิ่มขึ้น" ในฤดูแล้งเกือบ 100 เปอร์เซนต์ของน้ำโขง ที่อำเภอเชียงแสน จ.เชียงราย ไหลจากมแ่น้ำโขงไปจีน ส่วนในฤดูน้ำหลากปริมาณน้ำโขงกลับลดลง เพราะมีการเก็บกักน้ำไว้ในเขื่อน สิบกว่าปีที่ผ่านมาพบว่าส่งผลกระทรุนแรง ทำให้พื้นที่ลุ่มน้ำโขงตอนล่างที่น้ำท่วมถึงลดลงทำลายความมั่นคงทางอาหารประเทศท้ายน้ำ ตะกอนดิน สารอาหารที่สมบูรณ์ถูกเก็บกักไว้ในเชื่อ ส่งผลต่อการทำเกษตรริมฝั่ง เกิดการกัดเซาะตลิ่งและท้องน้ำ
"ทางท้ายน้ำกด้ฒีความกังวลว่าสามเหลี่ยนมปากแม่น้ำโขงในเวียดนามที่ค่อยๆ จมลงนั้นอาจเป็นเพราะขาดดินตะกอนมาทับถมเพ่ิมเติมจากแม่น้ำโข เมื่อเกิดพายุความเสียหายจะรุนแรงยิ่งขึ้น"
สำหรับ.."ชะตากรรมของแม่น้ำโขงตอนล่าง" อดีต ส.ว.เชียงราย กบล่าวว่า รัฐบาล 4 ประเทศในลุ่มน้ำโขงตอนล่าง ได้แก่ ลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม มีแผนสร้างเขื่อนและโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ 12 โครงการ (http//www.thairath.co.th, อภิมหาเขื่อนยักษ์ หายนะแม่โขง)
อยู่มาวันหนึ่งพญาศรีสุทโธนาคได้พาบริวารออกไปล่าสัตว์ในป่าเผอิญล่าได้ช้าป่ามาตัวหนึ่งพญาศรีสุทโธนาคนึกถึงสหายพญาสุวรรณนาค จึงชำเเหละเนือช้างให้บริวารนำไปให้ครึ่งตัว เมื่อพญาสุวรรณนาคได้รับของฝากจาเพื่อรักเป็นเนื้องช้างก็มีความยินดี จึงได้ส่งสาส์นแสดงความขอบใจมายังพญาศรรีสุทโธนาค ทั้งบอกว่าในโอกาสหน้าตนคงจะได้ส่งของฝากมาเป็นการตอบแทนบ้าง วันหนึ่งพญาสุวรรณนาคได้พาบริวารออกไปล่าสัตว์ในป่า โดยล่าได้เม่นมาหนึ่งตัว พญาสุวรรณนาคจึงสั่งให้ชำแหละเนื้อเม่นแล้วแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งเอาไว้กินเอง และอีกส่วนหนึ่งให้บริวารนำไปให้แก่พญาศรีสุทโธนาค เพื่อเป็นของฝาก พญาศรีสุทโธนาคเมื่อได้รับเนื้อเม่น เห็นว่ามีจำนวนน้อยนิดผิดกับเนื้อช้างที่ตนนำไปให้ก็ไม่พอใจ โดยคิดว่าเม่นน่าจะตัวใหญ๋หว่าช้าง เพราะขนเม่นยาวกว่าขนช้าง จึงไม่รับของฝากนั้น
พอพญาสุวรรณนาคทราบดังนั้นก็ไม่สบายใจ รีบเดินทางมาอธิบายชีแจงใหพญาศรีสุทโธนาคฟังว่า แม้ขนเม่นจะยาวกว่าขนช้างแต่เม่นก็ตัวเล็กกว่าช้างมาก ฉะนั้น เนื้อเม่นคตังตัวจึคงน้อยกว่าเนื้อช้างครึ่งตัวแน่นอน แต่พญาศรีสุทโธนาคก็ไม่ฟังเหตุผล หาว่าพญาสุวรรณนาคเอาเปรียบตน จคึงเกิดการโต้เถียงทะเลาะกันอย่างรุนแรงจนถึงประกาศท้ารบกันขึ้น พญาศรีสุทโธนาคผุ้มุทะลุจึงยกทัพนาคมาบุกประชิดติดชายแดนเมืองหนองกระแสด้านที่อยู่ในความปกครองของพญาสุวรรณนาค การเคลื่อนพลมาอย่างรีบร้อนทำให้น้ำในทะเลสาบหนองกระแสขุ่นคลั่กเป็นสีชมพู ฝ่ายพญาสุวรรณนาคเห็นดังนั้นก็จนใจต้องพาบริวารออกต่อสู้กับเพื่อนรัก เพื่อป้องกันแว่นแคว้นในปกครอง พญานาคทั้งสองฝ่ายได้เข้าต่อสู้ประหัตประหารกันอยู่นานถึง 7 ปี แต่ก็ไม่มีฝ่ายใดชนะอย่างเด็ดขาดสงครามนาคครั้งนี้ทำให้โลกสั่นสะเทือนลั่นหวั่นไหวสะท้านไปถึงสวรรค์และบาดาล เดือดร้อนกันไปทั่วทั้งมนุษย์ เทวดา และนาค จากเรื่องที่เข้าใจผิดกัน
พญาแถนผู้เป็นใหญ่บนสวรรค์เห็นเหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจึงเสด็จมายังดลมนุษย์ ณ บริเวณสนามรบที่เมืองหนองกระแส พร้อมมีเทวโองการว่า
"ข้าพญาแถนจอมสวรรค์ผู้ยิ่งใหญ่ ขอสั่งให้สองฝ่ายหยุดรบกันพวกเจ้าไม่มีใครเก่งกว่าใคร และขอประกาศให้เมืองหนองกระแสเป็นเขตปลอดสงคราม ให้ทั้งสองจงพาไพล่พลออกจากเมืองหนองกระแสโดยด่วนที่สุด ถ้าเจ้าทั้งสองเก่งจริงขอจงไปสร้างแม่น้ำแข่งขันกันเถิดใครสร้างแม่น้ำไปถึงทะเลก่อนถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ชนะ แล้วข้อจะปล่อยปลาบึกลงในแม่น้ำสายที่สร้างเสร็จก่อน"
พอสิ้นเทวโองการ พญานาคทั้งสองต่างก็พากันแยกย้ยไปในทันที โดยพญาศรีสุทโธนาคผู้มีอารมณ์อันมุทะลุดุดันและมุ่งหวังเอาชนะ ได้สร้างแม่น้ำไปทางทิศตะวันออกของเมืองหนองกระแสอย่างรีบร้อยไม่พิถีพิถันเอาเสร็จเข้าว่า แม่น้ำจึงคดเคี้ยวเลี้ยวไปมาตามแนวภูเขชาจึงเรียกว่า "แม่น้ำโค้ง"ต่อมาเพี้ยนเป็น "แม่น้ำโขง" ส่วนพญาสุวรรณนาคผุ้ใจเย็นสุขุมลุ่มลึก พาไพล่พลสร้างแม่น้ำมุ่งไปยังทิศใต้ของเมืองหนองกระแส โดยตั้งใจสร้างอย่างพิถีพิถันเป็นเส้นตรง เพื่อย่นระยะทางในการสร้าง แม่น้ำสายนี้จึงเรียกชื่อว่า "แม่น้ำน่าน" ผลของการสร้างแม่น้ำแข่งกันในครั้งนี้ ปรากฎว่าพญาศรีสุโธนาคเป็น่ายชนะ พญาแถนจึงปล่อยปลาบึกซึ่งเป็นน้ำจืดขนาดใหญ่ที่สุดลงในแม่น้ำโขง และเป็นแม่น้ำสายเดียวเท่านั้นที่มีปลาบึกอาศัียอยู่จนทุกวัีนนี้( วิเชียน เกษประทุม. นิทานพื้นบ้าน ชุดที่ 5 ชุดตำนาน, กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์พัีฒนาศึกษา, 2551.)
แม่น้ำโขง มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัยไหลผ่านบริเวณที่รอบสูงทิเบตและ มณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศ จีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งสิ้น 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ แม่น้ำล้านช้างและเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึคงคำเมืองล้านนาก็เรียกแม่น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง
ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือมีตลิ่งสูงชันมากทั้งสองฝั่่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปีระดับ ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านประเทศต่างๆ หลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่า แม้น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูปตะวันออก
นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็นหนึ่งในสามของแม่น้ำที่ำด้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนานภายใต้ชื่อพื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนานพื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลากทางชีวภาพสูง(wikipedia. แม่น้ำโขง)
6 เหลี่ยมเศรษฐกิจ กลุ่มความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง Greater Mekong Subregion cooperation(GMS) คือ กลุ่มประเทศอาเซียนที่เชื่อมโยงโดยผ่านแม่น้ำโขงมี 5 ประเทศและรวมกับจีนแทบยูนนานเป็น 6 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวยดนาม กัมพูชา และทางตอนใต้ของจีนแทบยูนนาน ได้มีการจัดทำแผนความร่วมมือเชื่อมโยงเครือข่ายด้านสธารณูปโภคพื้นฐานมากว่า 2 ทศวรรษ โครงการดังกล่าวเิร่มจากากรทำแผนจังหวัดยุทธศาสตร์ของกระทรวงมหาดไทยซึ่งมีคุณอนันต์ อนันตกูล เป็นปลัดกระทรวงซึ่งได้ริเริ่มจัดทำแผนยุทธศาสตร์จังหวัด 5 แห่ง ได้แก่ ภูเก็ต นครศณีธรรมราช ชลบุรี มุกดาหารและเชียงราย ในกรอบยุทธศาสตร์ของจังหวัดเชียงรายกได้มีวิสัยทัศน์เชื่อมโยงจังหวัดเชียงรายเข้ากับประเทศเพื่นบ้าน ซึ่งก็คือต้นกำเนิดของ 6 เหลี่ยมเศรษฐกิจ ต่อมา ADB ได้ให้การสนับสนุนกับโครงการดังกลาวและกลายเป็นนโยบายของรัฐบาลไทยซึ่งในยุคนั้นมีรองนายกฯ คือคุณศุภชัย พานิชภักดิ์ เป็นผู้ริเริ่มและให้การสนับสนุนจนกลายเป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ
ในกรอบ AEC ข้อที่ 2 คือการส่งเสริมขีด
ความสามารถการแข่งขันและอีก 1 องค์ประกอบคือ พัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานร่วมกัน GMS จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของ AEC ซึ่งเป็นโครงการพัี่พัฒนาต่อเนื่องมาก่อนหน้านี้ และเมื่อพม่าเปิดประเทศ โครงการดังกล่าวยิ่งได้รับความสนใจและมีพลวัตรของการขับเคลื่อนที่รวดเร็วยิ่งขึ้น ภายใต้กรอบดังกล่าว แต่ละประเทศตกลงที่จะรับผิดขอบในการพัฒนาเครือข่ายสาธารณูปโภคพื้นฐานร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งทางน้ำ ทางบก และอื่นๆ และแน่นอน เครือข่ายดังกล่าวย่อมทำให้เกิดการขยายตัวของเครือข่ายคมนาคม โลจิสติกส์ หรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ซึ่งจะช่วยหนุนด้านการค้าและการลงทุนของประเทศในกรอบดังกล่าว ภายใต้ GMS จะมีกรอบเชื่อมโยงที่เรียกว่า ระเบียง Corridors 3 ระเบียง กล่าวคือ
1) เรียกว่า North-South ซึ่งมีการเชื่อมโยง 3 เส้นทาง เริ่มจากยูนนาน ลาว พม่า จังหวัดพิษณุโลก กรุงเทพฯ เข้า ประจวบ และไปเชื่อมโยงกับสามเหลี่ยมทางตอนใต้ (Indonesia-MalaySia-Thailand Growth Triangle : IMT-GT)
2) เรียกว่า East-West เริ่มจาก แว้ ดานัง สุวรรณเขต เข้าอีสาน เชื่อมต่อ พิษณุโลก กรุงเทพฯ ไปออกเมืองมะละแหม่ง และเมาะลำไยของพม่า ไปสู่กลุ่ม BIMST-ECไปออกอินเดีย เชื่อต่อไปสู่ตะวันออกกลาง และยุโรป
3) South-South เชื่อมต่อ 4 เส้นทาง เริ่มจากกรุงเทพฯไปจบที่เวียดนาม บางเส้นจบที่หวงเตา บางเส้นจบผ่านเสียมเรียบ บางเส้นผ่านตราดและกาะง การเชื่อมโยงดังกล่าว ทำให้เกิดการขยายตัวของเมืองทำให้เกิดการขยายตัวของเขตเศรษบกิจจำเพาะ โดยเฉพาะบริเวณรอบต่อ เช่น แม่สอด แม่สายกับเมียวดี หนองคายกับลาว ตราด เกาะกงกับกัมพูชา การเชื่อมต่อจะทำให้เกิดการขยายตัวของการค้าและการลงทุน ซึ่งทำให้ราคาที่ดินขึ้นอย่างมหาศาล จังหวัดที่อยุ่ในกรอบเส้นทางดังกล่าว โดยเฉพาะพิษณุโลก ราคาที่ดินขึ้นถึง 1,000 เปอร์เซนต์(http//www.chaoprayanews.com, ความร่วมมือเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(GMS),1 สิงหาคม 2014.)
...เตือนใจ ดีเทศน์ อดีต ส.ว. จังหวัดเชียงราย กล่าวว่า แม่น้ำโขงตอนบนอยู่ในประเทศจีนที่เรียกว่า แม้น้ำล้านช้าง หรือหลานชางเจียง ถูกรัฐบาลจีนกำนหดแผนสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้า 28 เขื่อน ขณะนี้สร้าเสร็จแล้ว 6 เขื่อน
นักธรณีวิทยาระบุว่า แม่น้ำโขในจีนตั้งอยุ่บนรอยเลื่อนของเปลือกโลกที่ยังมีพลังแผ่นดินไหวเกิดขึ้นในยูนนานหลายครั้ง หากเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงเขื่อนอาจแตก
งานวิจัยหลายช่ินชี้ว่านับแต่มีเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงในจีน "ปริมณน้ำในฟดูน้ำหลกลดลง แต่ปริมาณน้ำในฤดูแล้วกลับเพิ่มขึ้น" ในฤดูแล้งเกือบ 100 เปอร์เซนต์ของน้ำโขง ที่อำเภอเชียงแสน จ.เชียงราย ไหลจากมแ่น้ำโขงไปจีน ส่วนในฤดูน้ำหลากปริมาณน้ำโขงกลับลดลง เพราะมีการเก็บกักน้ำไว้ในเขื่อน สิบกว่าปีที่ผ่านมาพบว่าส่งผลกระทรุนแรง ทำให้พื้นที่ลุ่มน้ำโขงตอนล่างที่น้ำท่วมถึงลดลงทำลายความมั่นคงทางอาหารประเทศท้ายน้ำ ตะกอนดิน สารอาหารที่สมบูรณ์ถูกเก็บกักไว้ในเชื่อ ส่งผลต่อการทำเกษตรริมฝั่ง เกิดการกัดเซาะตลิ่งและท้องน้ำ
"ทางท้ายน้ำกด้ฒีความกังวลว่าสามเหลี่ยนมปากแม่น้ำโขงในเวียดนามที่ค่อยๆ จมลงนั้นอาจเป็นเพราะขาดดินตะกอนมาทับถมเพ่ิมเติมจากแม่น้ำโข เมื่อเกิดพายุความเสียหายจะรุนแรงยิ่งขึ้น"
สำหรับ.."ชะตากรรมของแม่น้ำโขงตอนล่าง" อดีต ส.ว.เชียงราย กบล่าวว่า รัฐบาล 4 ประเทศในลุ่มน้ำโขงตอนล่าง ได้แก่ ลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม มีแผนสร้างเขื่อนและโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ 12 โครงการ (http//www.thairath.co.th, อภิมหาเขื่อนยักษ์ หายนะแม่โขง)
วันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2560
The Socialist Republic of Vietnam
เวียดนาม เป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ของชาติที่ยาวนานประเทศหนึ่ง มีสภาพแวดล้อมประชิดติดกับจีน ลาว และกัมพุชา การที่เวียดนามตั้งอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีนทำให้เวียนดนามได้รับอิทธิพลด้านต่างๆ อาทิ วัฒนธรรม ศาสนา ภาษา และการเมืองการปกครองในอดีตมาจากอินเดียและจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากจีน ซึ่งเวียดนามเคยตกเป็นเมืองขึ้นเป้นเวลานับพันปี ต่อมาเวยนามเป็นเอกราชกว่า 900 ปี จึงตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสในยุคอาณานิยมจนถึงสงครามโลครั้งที่ 2 จึงตกเ็นเมืองขึ้นของญี่ปุ่นชั่วคราว เมื่อสิ้นสุดสงครามเวียดนามได้รับเอกราชในห้วยระยะเวลาสั้นๆ ก่อนผรังเศสกลับเข้ายึดครองอีกครั้ง เวียดนามรบชนะฝรั่งเศสที่เดียน เบียน ฟู เป็นผลให้มีการเจรจาสันติภาพที่กรุงเจนีวา
กำหนดให้แบ่งเวียดนามเป็นเหนือ-ใต้ ชั่วคราวเป็นเวลา 2 ปี แต่ก็ไม่สามารถรวมกันได้ โดยผุ้นำเวียดนามใต้อ้างว่าไม่ได้ลงนามในสนธิสัญญานั้น เวียดนามใต้เกรงกลัวว่าหากปล่อยให้มีการเลือกตั้งเพื่อรวมปรเทศในครั้งนั้นฝ่ายใต้จะเป็นฝ่ายแพ้เนื้องจากความนิยมชองชาวเวียดนามที่ีมีต่อโอจิมินห์ ซึ่งเป็นผู้นำเวียดนามตอนเหนือ (ความแตกแยกเหนือ-ใต้ ของเวียดนามมีมาตั้งแต่โบราณจากความแตกต่างทางภฺมิศาสตร์ แนวคิด อุดมการณ รวมทั้งคุณลักษณะของประชากร) ทำให้เวียดนามตกอยู่ในสภาวะสงครามภายใน ซึ่งต่อมากลายเป็นสงครามตัวแทนของฝ่ายคอมมิวนิสต์และฝ่ายโลกเสรีในยุคสงครามเย็น กระทั่งปี พ.ศ. 2518 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของเวียดนามเหนือและเวียดกง ต่อเวียดนามใต้และพันธมิตร ในปีต่อมาเวียดนามก็สามารถรวมประเทศได้อีกครั้งภายใต้ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
จากชัยชนะครั้งนั้น ประกอบกับการหนุนหลังของสหภาพโซเวียตและประเทศในยุโรปตะวันออกในการขยายอิทะิพลอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ รวมทั้งแนวคิดของอดีตผู้นำเวียดนามคือ โฮจิมินห์ ที่เรียกว่าพินัยกรรม ฉบับ พ.ศ.2512 และสรรนิพนธ์โฮจิมินห ซึ่งพิจารณาว่าลาวและกัมพูชาเป็นดินแดอยู่ในอาณัติของเวียดนามด้วย ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้เป็นผลให้เวียดนามกำหนดนโยบายต่างประเทศเป็นมิตรกับประเทศในกลุ่มคอมมิวนิสต์และเป็นศัตรูกับประเทศโลกเสรีทั้งยังส่งทหารเข้ารุกรามกัมพูชา และยึดพนมเปญได้ใน ผลจากการดำเนินนโยบายต่างประเทศ และการกระทำของเวียดนามในครั้งนั้นได้กระทบต่อสภาพแวดล้อมในภูมิภาคอย่างใหญ่หลวง ประเทศโลกเสรีทั้งหบลาย รวมทั้งอาเซียนต่างก็วิตกถึงภัยคุกคามจาการแพร่ขยายของคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประทเศไทยฐานะประเทศด่านหน้า ทำให้ประเทศต่างๆ ในอาเซียนหันมากระชับความร่วมมือระหว่างกันมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาการยึดครองกัมพูชาของเวียดนาม ทั้งทางการเมืองระหว่างประเทศและการให้ความช่วยเลหือกองกำลังกัมพูชา 3 ฝ่ายอย่างลับๆ ในกาต่อสู้กับรัฐบาลหุ่น เฮง สัมริน ของเวียดนาม อาจกล่าวได้ว่า ผลจากสิ่งแวดล้อมในขณะนั้นได้กระทบต่อนโยบายของแต่ละประเทศในอาเซียนและนโยบายของอาเซียนโดยส่วนรวม
เมื่อสถานะการณ์เปลี่ยนไป อภิมหาอำนาจสหภาพโซเวียตประสบปัญหาเศรษบกิจภายในประเทศ มิคาเอง กอร์บาชอฟ เปลี่ยนนโยบายทั้งนโยบายภายในและต่างประเทศโดยนำนโยบายการปฏิรูปทางเศรษฐกิจและการเปิดกว้างทางการเมืองมาใช้ และการดำเนินการของอาเชียนในเวทีการเมอืงโลก เพื่อผลักดันเวียดนามให้ออกจากกัมพูชา และปัญหาภายในเวียดนามเอง ส่งผลให้เวียดนามต้องถอนทหารออกจากกัมพูชาในปี พ.ศ. 2532 ซึ่งช่วยคลายความตึงเครียดในภูมิภาคเป็นอย่างมาก และเมื่อโลกสิ้นสุดยุคสงครามเย็นอันเนื่องมาจากการล้มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 เวียดนามเองก็ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนี้ จึงปรับท่าที่โดยใน พ.ศ. 2535 เวียดนามได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ซึ่งเป็นฉบับที่ 4 สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้คือ เลิกระบุชาติที่เป็นศัตรู เลิกระบุถึงพินัยกรรมโอจิมินห์ ทางด้านนโยบายต่างประเทศได้ปรับเปลี่ยนเป็นการสร้างความร่วมมือต่อทุกประเทศโดยไม่คำนึงถึงคามแตกต่างทางการเมือง นอกจากนี้ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจก็มีส่วนสำคัญ ที่ทำให้เวียดนามต้องทำการปฏิรูปทางเศรษฐกิจของตนเองโดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2529 จนถึงปัจจุบัน เวียดนามมีระบบเศรษฐกิจที่ยินยอมให้การตลอดเข้ามามีบทบาทสำคัญ ภายใต้ระบบการเมืองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (งานวิจัย "ทัศนะของทหารต่อการเข้าร่วมเป็นสมาขิกอาเซียนของเวียดนาม" บทที่ 2, น.17-19, 2538.)
ลักษณะการปกครอง เวียดนามเป็ฯประเทศสัีงคมนิยมที่ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ (พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนาม Communist of Vietnam-CPV ซึ่งเป็นสถาบันการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายในการปกครองประเทศโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานในการร่างกฎหมายและปกครองทั่วไป ประธานาธิบดีทำหน้าที่ดูแลนโยบายของรัฐ การทหาร และการรักษาความสงบภายในประเทศและมีสถาบันที่สำคัญคือ รัฐบาล ซึ่งแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีและรับรองโดยสภาแห่งชาิต โดยมีวาระ 5 ปีเวียดนามแบ่งออกเป็น 59 จังหวัด และ 5 เขตเมือง หรือเรียกว่า นคร (Can Tho, Da Nang, Hai Phong, Ha Noi, Ho Chi Minh)
การเมืองของเวียดนามมีเสถียรภาพ เนื่องจากมีพรรคคอมมิวนิสต์ เป็นองค์กรที่มีอำนาจ สูงสุดผูกขาดการชี้นำภายใต้ระบบผู้นำร่วม ที่คานอำนาจระหว่างกลุ่มผุ้นำ ได้แก่
- กลุ่มปฏิรูป ที่สนับสนุนการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ นำโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ฟาน วัน
- กลุ่มอนุรักษ์นิยม ซึ่งต่อต้านหรือชะลอการเปิดประเทศ เพราะเกรงภัยของ "วิวัฒนาการที่สันติ" อันเนื่องมากจากการเปิดประเทศ
- กลุ่มที่เป็นกลาง ประนีประนอมระหว่างสองกลุ่มแรก นำโดยอดีตประธานาธิบดี เจิ่น ดึ๊ก เลือง ส่งผลให้รัฐบาลเวียดนามต้องปรับแนวทางการบริหารประเทศให้ยือหยุ่นและเปิดกว้างมากขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดำเนินไปได้ในย่างก้าวที่รวดเร็วนัก(http//www.61.47.41.107/..การเมืองการปกครองเวียดนาม)
โครงสร้างการปกครองเวียดนาม
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ มีสมาชิกรวม 493 คน มีอำนาจสูงสุดในการกำหนดนโยบายทั้งภายในและต่างประเทศ มีหน้าที่บัญญํติและแก้ไขกฎหมาย แต่งตั้งประธานาธิบดีตามที่พรรคคอมมิวนิสต์เสนอ ให้การรับรองหรือถอดถอนนายกรัฐมนตรีตามที่ประธานาธิบดีเสนอ รวมทั้งแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ อันเป็นระบบการบิหารแบบผู้นำร่วมสมาชิกสภาแห่งชาติมาจากเลือกตั้ง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี แม้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกของพรรคคอมมิวนิสต แต่กฎหมายเวียดนามก็อนุญาตให้ผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกของพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งได้เช่นกันโดยต้องได้รับความเห็นชอบจากแนวร่วมปิตุภูมิแห่งชาติ อันเป็นองค์กรส่วนหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์ ทำหน้าที่ดูแลรักษาอุดมการณ์สังคมนิยม
ฝ่ายบริหาร ประกอบด้วย ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี รวมไปถึงตำแหน่งสำคัญในพรรคคอมมิวนิสต์ เช่น สมัชชาของพรรคคอมมิวนิสต์ มีวาระดำรงตำแหน่ง 5 ปี มีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการำนินงานขององค์กรริหารระดับสูง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ เป็นผุ้มีอำนาจสูงสุดของพรรค คณะกรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์ ทำหน้าที่กำหนดนโยบายด้านการเสือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กรมการเมือง เป็นองค์กรบริหารสูงสุด เป็นศูนย์กลางอำนาจในการกำหนดนโยบายและควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามแนวทางที่กำหนด
สภาเเห่งชาติ ของเวียดนาม ปัจจุบันเป็นชุดที่ 12 ได้รับเลือกตั้งเมื่อเดือน พฤษภาคม 2550 ซึ่งในครั้งนี้มีการลงมติรับรองการปรับคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยปรับลดจำนวนกระทรวงและรัฐมนตรีเหลือเพียง 22 ตำแหน่ง จากเดิม 26 ตำแหน่ง โดยรวมและยกเลิกกระทรวงต่างๆ ที่มีลักษณะงานใหกล้เคียงหรือสามารถบริหารร่วมกันได้ อาทิเช่น กระทรวงการประมงรวมกับกระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบทกระทรวงการค้าเปลียนชื่อเป็นกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า คณะกรรมการพลศึกษาและการกีศา รวมกับองค์กรด้านการท่องเที่ยว เปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงวัฒนธรรมท กีฆา และท่องเที่ยว กระทรวงไปรษณีย์และโทรคมนาคม รวมกับกระทรวงวัฒนธรรมและข่าวสาร เปลี่ยนเป็นกระทรวงข้อมูลแบะการสื่อสาร และยกเลิกคณะกรรมการด้านประชากร ครอบครัวและเด็ก เป็นต้น นโยบายดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของรัฐบาลที่ต้องการลดขั้นตอนและซ้ำซ้อนในการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารประเทศ
การปกครองท้องถิ่น แต่ละจังหวัดจะมีคณะกรรมการประชาชน ทำหน้าที่บริหารงานภายในท้องถ่ินให้เป็นไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ นโยบายและกฎระเบียบต่างๆ ที่บัญญัติโดยองค์กรของรัฐที่อยู่ในระดับสูงกว่า ระบบการบริาหรราชการท้องถิ่นของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คอื ระดับจังหวัดและเทียบเท่า มี 59 จังหวัด กับอีก 5 นคร คือ ฮานอย โอจิมินห์ ไฮฟอง ดานัง และเกิ่นเธอ ซึ่งจะได้รับงบประมาณจากส่วนหลางโดยตรง รวมทั้งข้าราชการจะได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากส่วนกลาง จึงมีอำนาจในการตัดสินใจอย่างเต็มที่ ชวยให้เกิดความคล่องตัวในการบิรหารงาน สำหรับระดับเมืองและเทศบาลมีประมาณ 600 หน่วยและระดับตำบลมประมาณ 10,000 ตำบล (http//www.boi.go.th/.., โครงสร้างการปกครองของเวียดนาม)
กำหนดให้แบ่งเวียดนามเป็นเหนือ-ใต้ ชั่วคราวเป็นเวลา 2 ปี แต่ก็ไม่สามารถรวมกันได้ โดยผุ้นำเวียดนามใต้อ้างว่าไม่ได้ลงนามในสนธิสัญญานั้น เวียดนามใต้เกรงกลัวว่าหากปล่อยให้มีการเลือกตั้งเพื่อรวมปรเทศในครั้งนั้นฝ่ายใต้จะเป็นฝ่ายแพ้เนื้องจากความนิยมชองชาวเวียดนามที่ีมีต่อโอจิมินห์ ซึ่งเป็นผู้นำเวียดนามตอนเหนือ (ความแตกแยกเหนือ-ใต้ ของเวียดนามมีมาตั้งแต่โบราณจากความแตกต่างทางภฺมิศาสตร์ แนวคิด อุดมการณ รวมทั้งคุณลักษณะของประชากร) ทำให้เวียดนามตกอยู่ในสภาวะสงครามภายใน ซึ่งต่อมากลายเป็นสงครามตัวแทนของฝ่ายคอมมิวนิสต์และฝ่ายโลกเสรีในยุคสงครามเย็น กระทั่งปี พ.ศ. 2518 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของเวียดนามเหนือและเวียดกง ต่อเวียดนามใต้และพันธมิตร ในปีต่อมาเวียดนามก็สามารถรวมประเทศได้อีกครั้งภายใต้ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
จากชัยชนะครั้งนั้น ประกอบกับการหนุนหลังของสหภาพโซเวียตและประเทศในยุโรปตะวันออกในการขยายอิทะิพลอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ รวมทั้งแนวคิดของอดีตผู้นำเวียดนามคือ โฮจิมินห์ ที่เรียกว่าพินัยกรรม ฉบับ พ.ศ.2512 และสรรนิพนธ์โฮจิมินห ซึ่งพิจารณาว่าลาวและกัมพูชาเป็นดินแดอยู่ในอาณัติของเวียดนามด้วย ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้เป็นผลให้เวียดนามกำหนดนโยบายต่างประเทศเป็นมิตรกับประเทศในกลุ่มคอมมิวนิสต์และเป็นศัตรูกับประเทศโลกเสรีทั้งยังส่งทหารเข้ารุกรามกัมพูชา และยึดพนมเปญได้ใน ผลจากการดำเนินนโยบายต่างประเทศ และการกระทำของเวียดนามในครั้งนั้นได้กระทบต่อสภาพแวดล้อมในภูมิภาคอย่างใหญ่หลวง ประเทศโลกเสรีทั้งหบลาย รวมทั้งอาเซียนต่างก็วิตกถึงภัยคุกคามจาการแพร่ขยายของคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประทเศไทยฐานะประเทศด่านหน้า ทำให้ประเทศต่างๆ ในอาเซียนหันมากระชับความร่วมมือระหว่างกันมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาการยึดครองกัมพูชาของเวียดนาม ทั้งทางการเมืองระหว่างประเทศและการให้ความช่วยเลหือกองกำลังกัมพูชา 3 ฝ่ายอย่างลับๆ ในกาต่อสู้กับรัฐบาลหุ่น เฮง สัมริน ของเวียดนาม อาจกล่าวได้ว่า ผลจากสิ่งแวดล้อมในขณะนั้นได้กระทบต่อนโยบายของแต่ละประเทศในอาเซียนและนโยบายของอาเซียนโดยส่วนรวม
เมื่อสถานะการณ์เปลี่ยนไป อภิมหาอำนาจสหภาพโซเวียตประสบปัญหาเศรษบกิจภายในประเทศ มิคาเอง กอร์บาชอฟ เปลี่ยนนโยบายทั้งนโยบายภายในและต่างประเทศโดยนำนโยบายการปฏิรูปทางเศรษฐกิจและการเปิดกว้างทางการเมืองมาใช้ และการดำเนินการของอาเชียนในเวทีการเมอืงโลก เพื่อผลักดันเวียดนามให้ออกจากกัมพูชา และปัญหาภายในเวียดนามเอง ส่งผลให้เวียดนามต้องถอนทหารออกจากกัมพูชาในปี พ.ศ. 2532 ซึ่งช่วยคลายความตึงเครียดในภูมิภาคเป็นอย่างมาก และเมื่อโลกสิ้นสุดยุคสงครามเย็นอันเนื่องมาจากการล้มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 เวียดนามเองก็ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนี้ จึงปรับท่าที่โดยใน พ.ศ. 2535 เวียดนามได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ซึ่งเป็นฉบับที่ 4 สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้คือ เลิกระบุชาติที่เป็นศัตรู เลิกระบุถึงพินัยกรรมโอจิมินห์ ทางด้านนโยบายต่างประเทศได้ปรับเปลี่ยนเป็นการสร้างความร่วมมือต่อทุกประเทศโดยไม่คำนึงถึงคามแตกต่างทางการเมือง นอกจากนี้ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจก็มีส่วนสำคัญ ที่ทำให้เวียดนามต้องทำการปฏิรูปทางเศรษฐกิจของตนเองโดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2529 จนถึงปัจจุบัน เวียดนามมีระบบเศรษฐกิจที่ยินยอมให้การตลอดเข้ามามีบทบาทสำคัญ ภายใต้ระบบการเมืองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (งานวิจัย "ทัศนะของทหารต่อการเข้าร่วมเป็นสมาขิกอาเซียนของเวียดนาม" บทที่ 2, น.17-19, 2538.)
ลักษณะการปกครอง เวียดนามเป็ฯประเทศสัีงคมนิยมที่ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ (พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนาม Communist of Vietnam-CPV ซึ่งเป็นสถาบันการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายในการปกครองประเทศโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานในการร่างกฎหมายและปกครองทั่วไป ประธานาธิบดีทำหน้าที่ดูแลนโยบายของรัฐ การทหาร และการรักษาความสงบภายในประเทศและมีสถาบันที่สำคัญคือ รัฐบาล ซึ่งแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีและรับรองโดยสภาแห่งชาิต โดยมีวาระ 5 ปีเวียดนามแบ่งออกเป็น 59 จังหวัด และ 5 เขตเมือง หรือเรียกว่า นคร (Can Tho, Da Nang, Hai Phong, Ha Noi, Ho Chi Minh)
การเมืองของเวียดนามมีเสถียรภาพ เนื่องจากมีพรรคคอมมิวนิสต์ เป็นองค์กรที่มีอำนาจ สูงสุดผูกขาดการชี้นำภายใต้ระบบผู้นำร่วม ที่คานอำนาจระหว่างกลุ่มผุ้นำ ได้แก่
- กลุ่มปฏิรูป ที่สนับสนุนการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ นำโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ฟาน วัน
- กลุ่มอนุรักษ์นิยม ซึ่งต่อต้านหรือชะลอการเปิดประเทศ เพราะเกรงภัยของ "วิวัฒนาการที่สันติ" อันเนื่องมากจากการเปิดประเทศ
- กลุ่มที่เป็นกลาง ประนีประนอมระหว่างสองกลุ่มแรก นำโดยอดีตประธานาธิบดี เจิ่น ดึ๊ก เลือง ส่งผลให้รัฐบาลเวียดนามต้องปรับแนวทางการบริหารประเทศให้ยือหยุ่นและเปิดกว้างมากขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดำเนินไปได้ในย่างก้าวที่รวดเร็วนัก(http//www.61.47.41.107/..การเมืองการปกครองเวียดนาม)
โครงสร้างการปกครองเวียดนาม
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ มีสมาชิกรวม 493 คน มีอำนาจสูงสุดในการกำหนดนโยบายทั้งภายในและต่างประเทศ มีหน้าที่บัญญํติและแก้ไขกฎหมาย แต่งตั้งประธานาธิบดีตามที่พรรคคอมมิวนิสต์เสนอ ให้การรับรองหรือถอดถอนนายกรัฐมนตรีตามที่ประธานาธิบดีเสนอ รวมทั้งแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ อันเป็นระบบการบิหารแบบผู้นำร่วมสมาชิกสภาแห่งชาติมาจากเลือกตั้ง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี แม้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกของพรรคคอมมิวนิสต แต่กฎหมายเวียดนามก็อนุญาตให้ผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกของพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งได้เช่นกันโดยต้องได้รับความเห็นชอบจากแนวร่วมปิตุภูมิแห่งชาติ อันเป็นองค์กรส่วนหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์ ทำหน้าที่ดูแลรักษาอุดมการณ์สังคมนิยม
ฝ่ายบริหาร ประกอบด้วย ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี รวมไปถึงตำแหน่งสำคัญในพรรคคอมมิวนิสต์ เช่น สมัชชาของพรรคคอมมิวนิสต์ มีวาระดำรงตำแหน่ง 5 ปี มีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการำนินงานขององค์กรริหารระดับสูง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ เป็นผุ้มีอำนาจสูงสุดของพรรค คณะกรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์ ทำหน้าที่กำหนดนโยบายด้านการเสือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กรมการเมือง เป็นองค์กรบริหารสูงสุด เป็นศูนย์กลางอำนาจในการกำหนดนโยบายและควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามแนวทางที่กำหนด
สภาเเห่งชาติ ของเวียดนาม ปัจจุบันเป็นชุดที่ 12 ได้รับเลือกตั้งเมื่อเดือน พฤษภาคม 2550 ซึ่งในครั้งนี้มีการลงมติรับรองการปรับคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยปรับลดจำนวนกระทรวงและรัฐมนตรีเหลือเพียง 22 ตำแหน่ง จากเดิม 26 ตำแหน่ง โดยรวมและยกเลิกกระทรวงต่างๆ ที่มีลักษณะงานใหกล้เคียงหรือสามารถบริหารร่วมกันได้ อาทิเช่น กระทรวงการประมงรวมกับกระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบทกระทรวงการค้าเปลียนชื่อเป็นกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า คณะกรรมการพลศึกษาและการกีศา รวมกับองค์กรด้านการท่องเที่ยว เปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงวัฒนธรรมท กีฆา และท่องเที่ยว กระทรวงไปรษณีย์และโทรคมนาคม รวมกับกระทรวงวัฒนธรรมและข่าวสาร เปลี่ยนเป็นกระทรวงข้อมูลแบะการสื่อสาร และยกเลิกคณะกรรมการด้านประชากร ครอบครัวและเด็ก เป็นต้น นโยบายดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของรัฐบาลที่ต้องการลดขั้นตอนและซ้ำซ้อนในการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารประเทศ
การปกครองท้องถิ่น แต่ละจังหวัดจะมีคณะกรรมการประชาชน ทำหน้าที่บริหารงานภายในท้องถ่ินให้เป็นไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ นโยบายและกฎระเบียบต่างๆ ที่บัญญัติโดยองค์กรของรัฐที่อยู่ในระดับสูงกว่า ระบบการบริาหรราชการท้องถิ่นของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คอื ระดับจังหวัดและเทียบเท่า มี 59 จังหวัด กับอีก 5 นคร คือ ฮานอย โอจิมินห์ ไฮฟอง ดานัง และเกิ่นเธอ ซึ่งจะได้รับงบประมาณจากส่วนหลางโดยตรง รวมทั้งข้าราชการจะได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากส่วนกลาง จึงมีอำนาจในการตัดสินใจอย่างเต็มที่ ชวยให้เกิดความคล่องตัวในการบิรหารงาน สำหรับระดับเมืองและเทศบาลมีประมาณ 600 หน่วยและระดับตำบลมประมาณ 10,000 ตำบล (http//www.boi.go.th/.., โครงสร้างการปกครองของเวียดนาม)
วันพุธที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560
Transnational Organized Crime
องค์กรอาชญกรรม หมายถึง กลุ่มที่มีการจัดโครงสร้างของบุคคลตั้งแต่สามคนกรือมากกว่า ที่ดำรงอยู่เป็นระยะเวลาหนึ่งและมีการประสานการดำเนินงานระหว่างกัน โดยมีเป้าหมายในการกะทำอาชญากรรมร้ายแรงหนึ่งอย่างหรือมากกว่า เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ทางการเมือง หรือผลประโยชน์ทางวัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมโดยอาชกรรมร้ายแรงนั้น อนุสัญญาฯ ระบุว่า คือการกระทำความผิดซึ่งมีโทษจำคุกขั้นสูงเป็นเวลาอย่างน้อย 4 ปี หรือมากกว่า นอกจากนี้ในข้อ 3 ของอนุสัญญาฯ ยังระบุถึงลักษณะความผิดต่างๆ ที่ถือว่าเป็นอาชญากรรมข้ามชาติ ได้แก่
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งประเทศ
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งแต่ส่วนสำคัญของการตระเตรียมการวางแผน การสังการ หรือการควบคุมได้กระทำในอีกประเทศหนึ่ง
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งแต่เกี่ยวข้องกับองค์กรอาชญากรรมซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดทางอาญาในอาณาเขตของประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศ หรือ
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งแต่มีผลกระทบที่สำคัญเกิดขึ้นในอีกประเทศหนึ่ง...
ในภาพกว้าง องค์กรอาชญากรรมข้ามชาติหรือแก๊งมาเฟียจะดำเนินกิจกรรมผิดกฎหมายในสองลักษณคือการขายสินค้าและบริการที่ผิดกฎหมาย เช่น ค้ายาเสพติด อาวุธ สินค้าโจรกรรม ลักลอบขนแรงงานเถื่อน ปลอมแปลงเอกสารบุคคลเป็นต้น และอีกลักษณะหนึ่งคืออาชญากรรมประเภทอื่นที่ไม่เข้าข่ายการจัดหาอุปทานสินค้าและบริการ เช่น การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ การฉ้อฉลต่างๆ...
ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในอาเชียน อาชญากรรมข้ามชาติเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศต่างๆ ในเอเซียตะวันอกและอาเซียน เนื่องจากภาครัฐในหลายประเทศไม่สามารถจัดการกับปัญหาอาชญากรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนทำให้ธุรกิจสีเทาต่างๆ เติบโตข้นจนกลายเป็นปัญหาความมั่นคงและปัญหาเศรษฐกิจ โดยภูมิภาพเอเซียตะวันออกประสบปัญหารอาชญากรรมข้ามชาติที่สำคัญ ได้แก่
1) การค้ามนุษย์และการลักลอบขนผุ้ย้ายถิ่น ประกอบด้วย
- การขนย้ายแรงงานและผุ้บ้ายถ่ินในอนุภูมิภาคลุมแม่น้ำโขง (GMS) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานพม่าที่เข้ามาทำงานในไทย คาดว่ามีการลักลอบขนย้ายคนเหล่านี้เข้ามาในไทยปีละกว่าห้าแสนคน กว่าร้อยละห้า หรือประมาณ26,400 คน เป็นเหยื่อค้ามนุษย์
- การลักลอบขนคนต่างด้าวจากกลุ่ม GMS เข้ามาขายบริการทางเพศในไทยและกัมพูชา
- การลักลอบขนผุ้ย้ายถิ่นจากเอเซียตะวันออกและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ไปยังยุดรปและสหรัฐฯ โดยประเมินว่ามีการลักลอบนำชาวจีนและเวียดนาม ปีละกว่า 12,000 คน และเกือบ 1,000 คนตามลำดับเข้าไปยังสหรัฐฯ
- การขนผุ้ย้ายถิ่นจากเอเซียใต้และเอเชียตะวันตก เช่น กลุ่มทมิฬจากศรีลังการ ชาวอิรัก และอื่นๆ ผ่านภูมิภาคอาเซียนเข้าไปยังออสเตรเลียและแคนาดา โดยในแต่ละปีจะมีผุ้อพยพทางเรือเข้าไปยังออสเตรเลียกว่า 6,000 คน
2) การผลิตและค้ายาเสพติด ประกอบด้วย
- การค้าฝิ่นและเฮโรอีนจากพม่าและอัฟกานิสถานมายังเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก โดยส่วนใหญ่ส่งจากรัฐฉานในพม่าไปยังจีน และจากอัฟกานิสถานส่งมายังจีนและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อลำเลียงไปยังที่อื่นต่อ โดยฮ่องกงเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญไปยังสหรัฐ
- การค้าแอเฟตามีนและยาบ้าที่ผลิตจากพม่า จีนและประเทศใน GMS โดยส่งมาที่ไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเซีย โดยยาเสพติดทีผลิตในพม่าและจีนจะถูกส่งไปยังญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ สหรัฐฯ สำหรับพม่า ชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดนโดยเฉพาะกลุ่มว้าแดงและโกก้างเป็นผุ้แลค้ายาเสพติดรายใหญ่ นอกจากนี้ยังมีขบวนการค้ายาเสพติดชาวจีนและชาวพม่าเชื้อสายจีนที่มีกองกำลังคุ้มกันอย่างเข้มแข็ง
3) การค้าพืชพันธ์และสัตว์ป่า รวมถึงสารทำละลายโอโซนและขยะอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย
- การค้าสัตว์ป่าคุ้มครอง
- การค้าไม่เถื่อนจากอินโดนีเซีย มาเลเซียและประเทศอื่นในภูมิภาคไปยังจีนและเวียดนาม
- การขนขยะอิเล็ทรอนิกส์จากสหรัฐฯ ยุโรปและญี่ปุ่นมายังเอเซียโดยเฉพาะจีน ไทย อินโดนีเซยและเวียดนาม โดยใช้ฮ่องกงแลุภาคเหนือของเวียดนามเป็นจุดขนถ่ายสำคัญ
- การลักลอบค้าสารทำลายโอโซน ซึ่งต้องยกเลิกตามพิธีสารมอนทรีออล โดยมีกานขนสาร ODS จากจีนมายังไทย ฟิลิปปินส์และอินโดยนีเซียเป็นส่วนใหญ่ ผ่านผุ้นำเข้าที่เป็นผุ้ผลิตเครื่องทำความเย็น
4) การค้าสินค้าปลอดแปลง ประกอบด้วย
- สินค้าอุปโภคบริโภคปลอมแปลงและละเมิดลุขสิทะิ์ ซึ่งส่วนใหญ่ผลิตจากเอเซีย โดยแหลงผลิตใหญ่คือประเทศจีน
- ยาปลอมซึ่งส่วนใหญ่ผลิตจากจีนและอินเดีย และนำไปจำหน่ายในเอเซียและแอฟริกา...
...ที่ผ่านมา อเาซียนได้พัฒนาความร่วมือทีเ่กี่ยวข้องกับปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติมาเป็นลำดับ โดยเริ่มจากความร่วมมือในการแก้ปัญหายาเสพติด จากนั้นก็ได้มีการหารือประเด็นความมั่นคงที่เกี่ยวกับปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในกรอบการประชุมต่างๆ เช่น การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน เป็นต้น ต่อมา ค.ศ. 1977 ได้มีการประชุมระดับรัฐมนตรีด้านอาชญากรรมขช้ามชาติขึ้นเป็นครั้งแรก ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศอาเซียร่วมลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ ซึ่งถือเป็นความร่วมือที่เป็นรูปธรรมครั้งแรก โดยคำประกาศดังกล่าวได้กำหนดให้มีกลไกความร่วมมือต่างๆ เช่น การประชุม ทุกสองปี การประชุมประจำปีของเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนว่าด้วยกาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น ต่อมาได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์คือ
1) พัฒนายุทธศาสตร์ความร่วมมือของภูมิภาคเพื่อป้องกัน ควบคุมและปราบปรามปาชญากรรมข้ามชาติ
2) ร่วมมือกันในขึ้นตอนการสืบสวนฟ้องร้องและพิพากษาคดี และการฟื้นฟูผู้ก่ออาชญกรรม
3) ส่งเริมการประสานงานกลไกต่างๆ ของอาเซียน
4) พัฒนาขีดความสามารถขององค์กรและหน่วยงานต่างๆ ของอาเซียนในการจัดการกับปัญหา
5) พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมายและความตกลงของภูมิภาคที่เกี่ยวกับขบวนการยุติธรรม สำหรับกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ของแผนปฏิบัติการฯ นี้ประกอบด้วยการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรา่วมมือด้านกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายการฝึกอบรม การพัฒนาองค์กร และความร่วมมือกับประเทศนอกภูมิภาคอาเซียน
นอกจากความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกันเองแล้ว อาเซียนยังพัฒนาความร่วมมือกับประเทศนอกกลุ่มด้วย ดดยเฉพาะกับญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้ เช่น ความร่วมมือกับญี่ปุ่นเรื่อปัญหาโจรสลัด
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งประเทศ
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งแต่ส่วนสำคัญของการตระเตรียมการวางแผน การสังการ หรือการควบคุมได้กระทำในอีกประเทศหนึ่ง
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งแต่เกี่ยวข้องกับองค์กรอาชญากรรมซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดทางอาญาในอาณาเขตของประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศ หรือ
- ความผิดนั้นกระทำลงในประเทศหนึ่งแต่มีผลกระทบที่สำคัญเกิดขึ้นในอีกประเทศหนึ่ง...
ในภาพกว้าง องค์กรอาชญากรรมข้ามชาติหรือแก๊งมาเฟียจะดำเนินกิจกรรมผิดกฎหมายในสองลักษณคือการขายสินค้าและบริการที่ผิดกฎหมาย เช่น ค้ายาเสพติด อาวุธ สินค้าโจรกรรม ลักลอบขนแรงงานเถื่อน ปลอมแปลงเอกสารบุคคลเป็นต้น และอีกลักษณะหนึ่งคืออาชญากรรมประเภทอื่นที่ไม่เข้าข่ายการจัดหาอุปทานสินค้าและบริการ เช่น การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ การฉ้อฉลต่างๆ...
ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในอาเชียน อาชญากรรมข้ามชาติเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศต่างๆ ในเอเซียตะวันอกและอาเซียน เนื่องจากภาครัฐในหลายประเทศไม่สามารถจัดการกับปัญหาอาชญากรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนทำให้ธุรกิจสีเทาต่างๆ เติบโตข้นจนกลายเป็นปัญหาความมั่นคงและปัญหาเศรษฐกิจ โดยภูมิภาพเอเซียตะวันออกประสบปัญหารอาชญากรรมข้ามชาติที่สำคัญ ได้แก่
1) การค้ามนุษย์และการลักลอบขนผุ้ย้ายถิ่น ประกอบด้วย
- การขนย้ายแรงงานและผุ้บ้ายถ่ินในอนุภูมิภาคลุมแม่น้ำโขง (GMS) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานพม่าที่เข้ามาทำงานในไทย คาดว่ามีการลักลอบขนย้ายคนเหล่านี้เข้ามาในไทยปีละกว่าห้าแสนคน กว่าร้อยละห้า หรือประมาณ26,400 คน เป็นเหยื่อค้ามนุษย์
- การลักลอบขนคนต่างด้าวจากกลุ่ม GMS เข้ามาขายบริการทางเพศในไทยและกัมพูชา
- การลักลอบขนผุ้ย้ายถิ่นจากเอเซียตะวันออกและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ไปยังยุดรปและสหรัฐฯ โดยประเมินว่ามีการลักลอบนำชาวจีนและเวียดนาม ปีละกว่า 12,000 คน และเกือบ 1,000 คนตามลำดับเข้าไปยังสหรัฐฯ
- การขนผุ้ย้ายถิ่นจากเอเซียใต้และเอเชียตะวันตก เช่น กลุ่มทมิฬจากศรีลังการ ชาวอิรัก และอื่นๆ ผ่านภูมิภาคอาเซียนเข้าไปยังออสเตรเลียและแคนาดา โดยในแต่ละปีจะมีผุ้อพยพทางเรือเข้าไปยังออสเตรเลียกว่า 6,000 คน
2) การผลิตและค้ายาเสพติด ประกอบด้วย
- การค้าฝิ่นและเฮโรอีนจากพม่าและอัฟกานิสถานมายังเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก โดยส่วนใหญ่ส่งจากรัฐฉานในพม่าไปยังจีน และจากอัฟกานิสถานส่งมายังจีนและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อลำเลียงไปยังที่อื่นต่อ โดยฮ่องกงเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญไปยังสหรัฐ
- การค้าแอเฟตามีนและยาบ้าที่ผลิตจากพม่า จีนและประเทศใน GMS โดยส่งมาที่ไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเซีย โดยยาเสพติดทีผลิตในพม่าและจีนจะถูกส่งไปยังญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ สหรัฐฯ สำหรับพม่า ชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดนโดยเฉพาะกลุ่มว้าแดงและโกก้างเป็นผุ้แลค้ายาเสพติดรายใหญ่ นอกจากนี้ยังมีขบวนการค้ายาเสพติดชาวจีนและชาวพม่าเชื้อสายจีนที่มีกองกำลังคุ้มกันอย่างเข้มแข็ง
3) การค้าพืชพันธ์และสัตว์ป่า รวมถึงสารทำละลายโอโซนและขยะอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย
- การค้าสัตว์ป่าคุ้มครอง
- การค้าไม่เถื่อนจากอินโดนีเซีย มาเลเซียและประเทศอื่นในภูมิภาคไปยังจีนและเวียดนาม
- การขนขยะอิเล็ทรอนิกส์จากสหรัฐฯ ยุโรปและญี่ปุ่นมายังเอเซียโดยเฉพาะจีน ไทย อินโดนีเซยและเวียดนาม โดยใช้ฮ่องกงแลุภาคเหนือของเวียดนามเป็นจุดขนถ่ายสำคัญ
4) การค้าสินค้าปลอดแปลง ประกอบด้วย
- สินค้าอุปโภคบริโภคปลอมแปลงและละเมิดลุขสิทะิ์ ซึ่งส่วนใหญ่ผลิตจากเอเซีย โดยแหลงผลิตใหญ่คือประเทศจีน
- ยาปลอมซึ่งส่วนใหญ่ผลิตจากจีนและอินเดีย และนำไปจำหน่ายในเอเซียและแอฟริกา...
1) พัฒนายุทธศาสตร์ความร่วมมือของภูมิภาคเพื่อป้องกัน ควบคุมและปราบปรามปาชญากรรมข้ามชาติ
2) ร่วมมือกันในขึ้นตอนการสืบสวนฟ้องร้องและพิพากษาคดี และการฟื้นฟูผู้ก่ออาชญกรรม
3) ส่งเริมการประสานงานกลไกต่างๆ ของอาเซียน
4) พัฒนาขีดความสามารถขององค์กรและหน่วยงานต่างๆ ของอาเซียนในการจัดการกับปัญหา
5) พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมายและความตกลงของภูมิภาคที่เกี่ยวกับขบวนการยุติธรรม สำหรับกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ของแผนปฏิบัติการฯ นี้ประกอบด้วยการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรา่วมมือด้านกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายการฝึกอบรม การพัฒนาองค์กร และความร่วมมือกับประเทศนอกภูมิภาคอาเซียน
นอกจากความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกันเองแล้ว อาเซียนยังพัฒนาความร่วมมือกับประเทศนอกกลุ่มด้วย ดดยเฉพาะกับญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้ เช่น ความร่วมมือกับญี่ปุ่นเรื่อปัญหาโจรสลัด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...