โจรสลัด คือ บุคคลที่ปล้นหรือโจรกรรมในทะเล หรือบางครั้งตามชายฝั่งหรือท่าเรือต่งๆ โจนสลัดในปัจจุบันจะแตกต่างกับโจรสลัดในอดีตที่มัลักษณะเฉพาะคือจะมีผ้าคาดห้ว ใช้ดาบใบกว้างหรือปืนพกและเรือโจรสลัดขนาดใหญ่ ในปัจจุบันโจรสลัดนิยมใช้เรือเร็วและใช้ปืนกลแทนที่ดาบ เป้าหมายส่วนใหญ่ที่โจรสลัดเลือกคือเรือสินค้าและเรือโดยสารสำหรับรูปแบบที่ใช้ในกาบุกเข้าปล้นมัทั้งชูธงหลอกล่อเป้าหมายว่าเป็นเรือสินค้าบ้าง เรือของกองทัพหรือของศาสนจักรบ้าง หรือแม้กระทั่งใช้กำลังบุกเข้าโจมตีโดยตรงเลยก็มี
โจรสลัดในปัจจุบัน ชายฝั่งและทะเลในอเมริกาใต้และทะเลเมติเตอเรเนียน ยังคงมีโจรสลัดที่ปล้นผู้อื่น โดยชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา และชายฝั่งของทะเลแคริบเบียน เร่ิมลดน้อยลงเนื่องจากมีการป้องกันจากกองกำลังรัฐบาล ค่าเสียหายที่เกิดจากโจรสลัดปล้นในปัจจุบัน คาดว่าประมาณ 5 - 5.6 แสนล้านบาทต่อปีทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างวยิ่งในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย จุดที่อยู่ระหว่างช่องแคบมะละกาและประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีเรือพาณิชย์ผ่านประมาณ 50,000 ต่อปี
โจรสลัดที่ออกปล้นได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า ปฏิบัติการปล้นจะใช้เือเล็กเร็วเทียบขนายเรือใหญ่แล้วปีนขึ้นเรืออย่างรวดเร็วและเงียบเชียบ ด้วยความชำนาญ ซึ่งบางครั้งลูกเรือใหญ่ไม่รู้ตัวเลยด้วยซ้้ำ ในขณะที่บางคนจะบริกรรมคาถาซึ่งเชื่อว่าจะช่วยในการกำบังกายได้ด้วย และควบคุมลูกเรือทั้งหมดให้อยุ่ในจุดเดียวกัน ขณะที่บุคคลสำคัญ เช่นกัปตัน หรือต้นหนจุถูกกักตัวไว้เพื่อเรียกค่าไถ่ ในบางครั้งอาจนะแค่ปล้นทรัพย์อย่างเดียว ส่วนตัวบุคคลหากไม่จำเป็นแล้ว อาจมีการสังหารทิ้งศพลงทะเล
นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 สำนักงานพาณิชยนาวีระหว่างประเทศ รายงานการปล้นของโจรสัดในช่องแคบมะละกาและบริเวณใกล้เคียงมีถึง 258 คั้ง โดยมีลูกเรือกว่า 200 คนถูกจับเป็นตัวประกันและ 8 คนเสียชีวิต ในประเทศไทย ฝั่งบริเวณทะเลอันดามัน ยังคงมีโจรสลัดอยู่ ซึ่งใช้เรือเร็วปล้นเรือสินค้าของผุ้คนที่แล่นเรือผ่าน โดยในบางครั้งจะเก็บค่าคุ้มครอง หรือจ่ายเงินค่าผ่านทางแทน
โจรสลัดในยุคปัจจุบันมักใช้เรือเล็กแต่มีอุปกรร์ที่ทันสมัย ทั้งโทรศัพท์ดาวเทียม, จีพีเอ, ระบบโซนาร์ ในช่วงเดือนมกราคม -กันยายน 2545 มีสถิติเรือสินค้าที่แล่นในแถบอ่าวเอเดนและนอกชายฝั่งของโซมาเลียได้ถูกโจรสลัดโจมตีถึง 306 ลำซึ่งในบางครั้ง โจรสลัดจะไม่สนใจสินค้าที่บรรทุกมา แต่จะมุ่งฉกฉวยทรัพย์สมบัติของผุ้โดยสาร ตลอดจนตู้เซฟของเรือมี่เก็บเงินก้อนใหญ่เพื่อขายหรือใช้ต่อไปหรือกระทำการอุกอาจกว่านั้น คือ คุมตัวเจ้าหน้าที่ระดับบริหารของเรือไว้แล้วเรียกค่าไถ่ เพื่อหวังจะได้ค่าตอบแทนระดับสูง
จากการประเทฯในปี พ.ศ. 2547 ระบุว่า อนาคตจะมีเรือโจรสลัดโซมาเลีย เพิ่มขึ้นปีละ 400 ลำ โดยมีสิ่งจูงใจคือ มูลค่าจกาการปล้นที่สูงถึง 8,000 ดอลลาร์สหรัฐ เฉพาะปี 2546 ปีเดียวซึ่งเฉลี่ยแล้วรายได้โจรสลัดโซมาเลียแต่ะคนอยู่ราวปีละ 80.000 ดอลลาร์สหรัฐ สูงกว่ารายได้เฉลี่ยของชาวโซมาเลียทั่วไปถึง 150 เท่า จากเหตุการณ์นี้มีการร่วมมือกันหลายชาติในสหประชาชาติ รวมถึงไทย ในการส่งกองทัพเรือปฏิบัติการร่วมกัน ในชื่อ ปฏิบัติการปราบปรามโจรสลัดโซมาเลีย ...(wikipedia.th.org/..การกระทำอันเป็นโจรสลัด)
...ช่องแคบมะละการคือ.."จุดยุทธศาสตร์โลก" เป็นช่องแคบระหว่างแหลมมลายูและเกาะสุมาตรา อยู่บริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศไทย ตะวันตกและใต้ของมาเลเซีย ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือและเหนือของเกาะสุมาตรา และเลยไปถึงทางด้านใต้ของสิงคโปร์ นอกจากเป็นจุดยุทธศาสตร์ และทำเลทองของวงการธุรกิจโลก เนื่องจากเป็นรอยต่อของสามประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ประกอบกับการเป็นเส้นทางทางเดินเรือที่ใช้ขนถ่ายสินค้าและน้ำมันที่สำคัญทั้งในทวีปเอเชียและทั่วโลก ประเทศมหาอำนาจต่างๆ ทั่วทุกมุมโลกจึงปรารถนาจะเข้ามาแผ่อิทธิพลเพื่อช่งชิงความได้เปียบในดินแดนปลายสุดแหลมมลายู และ ด้วยเหตุนี้ ทั้ง 3 ประเทศทีครอบครองดินแดนในช่องแคบดังกล่าว จึงต้องเดินเกมทั้งทางการเมืองและการทหาร เพื่อรักษา "สมดุลแห่งอำนาจ"เพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติไว้ให้ได้มากที่สุด
ช่องแคบมะละการ ตั้งอยู่ระหว่างประเทศมาเลเซียกับประเทศอินโดนีเซีย โดยมีประเทศสิงคโปร์อยุ่ปากทางเข้าด้านใต้ มีการขนสินค้าผ่านช่องทางนี้มากกว่า 1 ใน 4 ของการค้าโลกทั้งหมด เป็นเส้นทางเดินเรือทะเลที่สำคัญที่สุดทางยุทธศาสตร์ และเป็นเส้นทางที่เสี่ยงต่ออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ โดยเฉพาะภัยก่อการร้าย และโจรสลัด ทั่ฝั่งตัวหากินกับเรือพาณิชย์ที่แล่นผ่านสัญจรเข้าออก เป็นจำนวนมาก โดยในแต่ละปีเรือพาณิชย์กว่า 5 หมื่นลำ ล้วนแต่ใช้ช่องแคบแห่งนี้ ซึ่งมีความยาวกว่า 800 กม.เป็นทางผ่านในการขนส่งสินค้าไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก
จากสถิติของสำนักงานเดินเรือทะเลระหว่างประเทศ พบว่า ทั่วโลกต้องประสบกับภัยโจรสลัดที่เพิ่มขึ้นมากในช่วงระยะเวลา 10 ปี สูงถึง 3 เท่าของการโจรกรรมสินค้า ปีล่าสุดมีสถิติสูงขึ้นถึง 20 % ขณะที่ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉีงใต้มียอดสูงกว่า 40% โดยเฉพาะการโจรกรรมเรือบรรทุกน้ำมัน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือ ก๊าซธรรมชาิตเหลวทุกลำจากตะวันออกกลาง ที่มุ่งหน้ามายังแถบเอเซีย ที่จะต้องผ่านช่องแคบมะละกา โดยมีบริษัทเดินเรือ 400 แห่ง
ขณะที่กว่า 80% ของน้ำมันที่ประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และจีน สั่งน้ำเขาจากอ่าวเปอร์เซีย ต้องใชเส้นทางนี้เช่นกัน เมื่อไม่นามานี้ สหรัฐอเมิรกาได้เคลื่อนย้ายกำลังทหารเข้ามอย่างเงียบๆ ด้วยการแผงตัวมากับเรือบรรทุกสินค้าเพื่อดูลาดเลา เพราะต้องการเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในช่องแคบแห่งนี้ กระทั่ง มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่บนสองฟากฝั่งช่องแคบมะละกาแสดงความไม่พอใจอย่างมาก
แต่ "วาระซ่อนเร้น" ย่อมหนีไม่พ้นการ "คามอำนาจ"ของมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา..แน่นอน!!(tigerthematic.blongspot.com/.., "ช่องแคบมะละกาจุดยุทธศาสตร์โลก" 13 มกราคม 2558.)
นายธานี ชัยวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวในวงเสวนางานเสวนา "เศรษฐกิจนอกกฎหมาย" ว่าด้วยมาเฟียและโจรสลัดทางทะเล" โดยศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง ที่คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่า ระบอบมาเฟียคืออุตสาหกรรมขายความรุนแรงในสังคมที่กฎหมายอ่อนแด ถือเป็นธุรกิจนอกกฎหมายที่มีมูลค่ามากว่าร้อยละ 30 ของ GDP ทั่วทั้งโลก ขณะที่องค์กรอาชญากรรมข้ามชาติมีมูลค่ามากว่าร้อยละ 15 ของ GDP โลกจุดกำเนิดของระบอบมาเฟียอยู่ที่ประเทศอิตาลี ซึ่งมีปัญหาทั้งการค้ามนุษย์และการค้ายาเสพติด โดยกลุ่มที่มีชื่อดังมากที่สุดคือ มาเฟียชิชิลี ตั้งกลุ่มอยู่ทางตอนใต้ของอิตาลี ปัจจุบันมาเฟียมีหน้าที่เชื่อมโยงเศรษฐกิจนอกระบบและในระบบเข้าด้วยกัน
นายธานี กล่าวว่า ในระยะสั้นจะมีการแข่งขันความคุ้มกันธุรกิจของประชาชนระหว่างรัฐกับมาเฟีย แต่ส่วนใหญ่ประชาชนมักจะยอมจ่ายค่าคุ้มครองให้มาเฟีย เพราะมาเฟียมีประสิทธิภาพการคุ้มครองดีกว่ารัฐ อย่างไรก็ตามมาเฟียทำให้ความเหลื่อมล้ำและสถิติอาชญากรรมมีมากขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ และจะทำลายการพัฒนาของประเทศด้วย
นายวัชรพงศ์ รติสุขพิมล คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวในวงเสวนาในประเด็นโจรสลัดทางทะเลว่า ตามที่ศึกษาโจรสลัดเริ่มมีตั้งแต่ยุคตื่นทอง ช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ข้อมูลอย่างเป็นทางการที่รวบรวมตั้งแต้อดีตถึงปี 2555 มีการปล้นจากโจรสลัดกว่า หกพันครั้ง ส่วนใหญ๋เป็นเรือบรรทุกสินค้า และเรือบรรทุกน้ำมันแต่เกือบครึ่งหนึ่งโจรสลัดมักจะไม่ได้อะไรจากการปล้นเพราะช่วงหลังเรือส่วนใหญ่มีระบบป้องกันไว้อย่างดีแล้ว แต่บางครั้งลูกเรือจะถูกลักพาตัว ฆาตกรรม เรียกค่าไถ่หรือค้าประเวณี ในปี 2543 เป็นปีที่มียอดการปล้น
สูงที่สถดโดยป้นสำเร็จ 318 ครั้งและปีต่อมาปล้นสำเร็จ 211 ครั้ง ภูมิภาคที่โจรสลัดปล้นมากที่สุดคือบริเวณช่องแคบมะละกา แต่บริเวณที่ยอดการปล้นเพิ่มขึ้นสุงและรุนแรงมากในช่วงหลังคือภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกในแถบโซมาเลีย โดยมีสาเหตุจากชาวประมงที่มีความยากจนเพราะไม่มีสัตว์น้ำให้จับแต่มีความสามารถด้านการเดินเรือเป็นแรงผลักดันให้หลายคนหันไปประกอบอาชีพโจรสลัด หรือวัฒนธรรมบางท้องถ่ินที่มีการพิสูจน์ความเป็นชายด้วยการเป็นโจรสลัด(มติชนออนไลน์, "แฉ ช่องแคบมะละกา โจรสลัดชุมมากที่สุดในโลก เผยโซมาเลียมาแรงสถิติปล้นกระฉูด" 15 มิถุนายน 2555.)
AFP เกิดเหตุโจรสลัดบุกปล้นเรือบรรทุกน้ำมันของบริษัทสิงคโปร์ในช่องแคบมะละกา พร้อมลักพาตัว 3 ลูกเรือชาวอินโดนีซียและขโมยน้ำมันดีเซลไปได้บางส่วน องค์การทางทะเลแถลง
โดนเเอล ชูง หัวหน้าศูนย์รับแจ้สเหตุโจรสลัดของไอเด็มบีซึ่งมีฐานอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ระบุว่า เหตุปล้นเรือบรรทุกน้ำมันครั้งเกิดขึ้นบริเวณนอกขายฝั่งตะวันตกของมาเลเซีย โดยเข้าใจว่าเรือบรรทุกน้ำมันดีเซลลำดังกล่าวกำลังจะเดินทางไปยังประเทศเาียนมาร์(ผู้จัดการ,โจรสลัดปล้นเรือบรรทุกน้ำมัน สิงคโปร์ในช่องแคบมะละกา-ลักพาตัว 3 ลูกเรืออิเหนา,23 เมษายน 2557)
โจรสลัดอินโดฯ ใช้อาวุธปืน ดาบ ปล้นเรือขนน้ำมัน สัญชาติไทย กลางทะเลช่องแคบมะละกา ดูดน้ำมันไปทั้งหมด ก่อนวางระเบิดที่เอ็นที บนสะพานเดินเรือ ขณะที่จนท.อีโอดี ได้เข้าตรวจสอบแล้ว..
เมื่อเวลา 14.00 น. วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พล.ต.ต.สุนทร เฉลิมเกี่ยรติ ผบก.ภ.สตูล ได้รับการประสานจาก นายฑีมทัศน์ เจริญสุข ผู้บังคับเรือลาภิณ ซึ่งเป็นเรือบรรทุกน้ำมันเตาจำนวน 2,000 ตัส และดีเซล 5 ตัน บรรทุกมาจากประเทศสิงคโปร์ เพื่อส่งจ.กระบี่ ได้ถูกเรือโจรสลัด คาดว่าเป็นขชาวอินโดนีเซีย ประมาณ 6-8 คนใช้เรือเล็กเข้าเที่ยบ และใช้อาวุธปืน 3 คนที่เหลือใช้ดาบ ได้จีบังคับลูกเรือประมาณ 15 คน ปล้นเอาน้ำมันทั้งหมด โดยนำเรือใหญ่เข้าเทียบแล้วดูดน้ำมันออกจากรเือบริเวณช่องแคบมะละกา พร้อมทั้งวางระเบิดบนสะพานเดินแรื เป็นระเบิดที่เอ็นที่แสวงเครื่องพันด้วยสายไฟ ด่อกับโหลแก้ว
จากนั้นโจรสลัดได้ปล่อยเรือลอยลำเข้ามาในเขตน่นน้ำ จ.สตูล โดยเือทอดสมอ ที่ด้านหลังเกาะยุโหลน ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สะตูล ห่างจากฝั่งประมาณ 25 ไมล์ทะเลและเรือที่ถูกปล้น ได้ประสานขอเจ้าหน้าที่ไปช่วยกู้ระเบิดในเรือซึ่งต่อมา พล.ต.ต.สุนทร ได้สั่งการให้ พ.ต.อ.โสภณ ปานสมทรง ผบก.ภ.จ.สตูล นำชุดอีโอดี บก.ภ.จ.สตูล และตำรวจพิสูจน์หลักฐาน จ.สตูล ร่วมกับชุดอีโอดีของทหารเรือ กองทัพเรือภาค 2 เข้าตรวจสอบแล้ว (ไทยรัฐ, โจรสลัดอินโดฯ วางบึมปล้นเรือน้ำมันไทย กลางช่องแคบมะละกา, 15 กุมภาพันธ์ 2558.)
วันศุกร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Strait of Malacca
เป็นชองแคบที่มีความกว้างที่สุด 126 ไมล์ ซึ่งอยู่ระหว่างเกาะปีนังของมเลเซียและชายฝั่งทาเมียง ของเกาะสุมาตรา ส่วนที่แคบที่สุดกว้างเพียง 8.4 ไม่ล์ อยู่ตรงทางเข้าระหว่างเกาะกูกุบ ของมาเลเซียและเกาะลิตเติลคลามัน ของอินโดนีเซียนอกจากนี้ช่องแคบมะละกามีความยาวประมาณ 500 ไมล์ ส่วนที่ลึกที่สุดระมาณ 26-30 เมตรพื้นทะเลในส่วนของช่องแคบมะละกาเป็นทราย แต่ในช่องแคบที่เป็นส่วนของสิงคโปร์เป็นพื้นทะเลเป็นหิน และาการสำรวจสภาพช่องแคบมะละกาพบว่า ในบริเวณทั้งหมด 89 แห่ง จะปรากฎที่ตื้นน้อยกว่า 23 เมตร จากซากเรืออัปปางและพื้นท้องทะเลเต็มไปด้วยลอนทราย บริเวณเส้นทางเข้าสู่ที่ตื้นเรียกว่า One Fathom Bank หรือที่ตื้อนหนึ่งวา จนกระทั่งถงช่องแคบสิงคโปร์เป็นเส้นทางที่อนตรายมาก ความลึกตรงทางเข้าช่องแคบด้านตะวันตก มีความลักระหว่าง 34 เมตรและ 84 เมตร แต่บริเวณใกล้เกาะอะรัว ของอินโดนีเซียมีความลึกเพียง 18-19 เมตร และบริเวณ
ปอร์ตคลางของมาเลเซียมีที่ตื้นอยู่หลายแห่ง บางแห่งมีความลักน้อยกว่า 10 เมตร ทางด้านเหนือของปอร์ต ติดสันดานชายฝั่ยมาเลซียมีที่ตื้นเป็นหย่อมๆ ทำให้เรือขนาดใหญ่ต้องเดินเทางหลบหลีกไปมาในบริเวณช่องแคบสิงคโปร์มีบริเวณที่แคบที่สุดกว้างเพียง 3.2 ไมล์อยู่ระหว่างเกาะเซอนาง ของสิงคโปร์และเกาะตากอบ เยอร์ชา ของอินโดนีเซีย และบริเวณที่แคบอีกแห่งหนึ่งอบู่ระหว่งเกาะเซนต์ จอห์น ของสิงคโปร์และเกาะอะนัค ซัมโม ของอินโดนีเซียมีความหว้างเพียง 3.4 ไมล์
ช่องแคบมะละกาอยู่บริเวณปลายสุดของแปลมมลายูระหว่างประเทศมาเลเซียสิงคโปร์และเากสุมาตราของอินโดนีเซียเชือมต่อระหว่างทะเลอันดามันของมหาสุมทรอินเดียและทะเลจีนใต้ขชองมหาสมุทรแปซิฟิก
ปากทางเข้าทางทิศตะวันตกของซ่องแคบเริ่มจากตอนใต้ของเกาภูเก็ตถึงตอนเหนือสุดของเกาะสุมตราของอินโดนีเซียบริเวณเหลม Piai มีความกว้างประมาณ500 ไม่ล์
ปากทางเข้าทิศตะวันออกเป็นจุดเดียวกันกับที่เริ่มต้น ช่องแคบสิงคโปร์ โดยอยู่บริเซณใต้สุดของประเทศมาเลเซียที่เกาะ คุคุป ซึ่งมีความกว้างประมาณ 8.4 ไมล์
ความลึกของระดับน้ำในช่องแคบมีความไม่แน่นอน เนื่องจากพื้นที่ดินท้องทะเลเป็นทรายซึ่งถูกกระแสน้ำพัดพา ทำให้เปลี่ยนรูปร่างไปได้เสมอ อย่างไรก็ตามความลึกโดยเฉลี่ยบริเวณปากทางเข้าทางทิศตะวันตกจนถึงเกาะเปรักของมาเลเซียมีระดับลึกพอที่จะไม่เกิดอันตรายต่อการเดนเรือ คือ ประมาณ 34-88 เมตร ในขณะที่บริเวณต่อจากเกาะเปรักจนถึงเกาะ คุคุป อันเป็นจุดเริ่มต้นของช่องแคบสิงคโปร์นั้น ระดับน้ำค่อนข้างตื้นและในบางบริเวณก็ตื้นมากจนสามารถเป็นอันตรายต่อการเดนเรือได้ โดยเฉลี่ยมีความลึกประมาณ 20 เมตร แต่ในบางบริเวณก็ลึกเพียง 3 เมตรเท่านั้น...
... การผลัดเปลี่ยนกันเข้ามามีอำนาจเหนือช่องแคบโดยชาติต่างๆ มีผลต่อหลักเกณฑ์การผ่านข่องแคบด้วยเช่นกัน เนือ่งจากแนวคิดที่มีต่อหลักเษฑ์การผ่านช่องแคบไปตามยุคสมัยซึ่งอาจแ่งออกได้กว้างๆ เป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 สมัยโบราณ ช่องแคบอยู่ใต้อำนาจของชาวพื้นเมืองหรือชาเอเซียชาติอื่น เช่ส ชาวอาหรับ หลักเกณฑ์การผ่านช่องแคบจึงเป็ฯไปตามแนวความคิดของชาวเอเชีย คือ ถือว่าทะเลเป็นทรัพย์สมบัติส่วนกลาง ซึ่งไม่สามทารถยึดถือเป็นเจ้าของได้ เรือจึงสมารถเดินผ่านได้อย่างเสรี
ระยะที่ 2 สมัยอาณานิคม เมื่อชาวยุโรปต่างๆ คือ โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ และอังกฤษเข้ามาควบคุมการเดินเรือผ่านช่องแคบ การผ่านช่องแคบตกอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐชายฝัง ทั้งนี้น่าจะได้รับอิทะิพลมาจากแนวความคิดของนักกฎหมายฝ่ายที่เห็นว่า ทะเลสามารถถูกครอบครองเป็นเจ้าของได้ ซึ่งเป็นปนวความคิดที่แพร่หลายอยู่ในยุโรปสมัยหนึ่งดังนั้น ในสมัยนี้การเดินเรือผ่านชองแคบจึงไม่ได้เป็นไปโดยเสรี
ระยะที่ 3 เมื่อรัฐประชิดช่องแคบได้รับเอกราช เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองรัฐประชิดช่องแคบทั้งสาม คือ อินโดนีเซีย มาเลเซียและสิงคฮปร์ ต่างได้รับเอกราช ในระยะนี้แต่เดิมแนวปฏิบัติโดยทั่วไป ถือว่าทะเลอาณาเขตมีความกว้างเพียง 3 ไมล์ทะเล ทางเดินเรือผ่านช่องแคบจึงไม่ได้รับความกระทบกระเทือน ถึงแม้ว่ารัฐประชิดช่องแคบต่างต้องการที่จะเข้ามาควบคุมการผ่านก็ตาม เนื่องจากยังคงมีส่วนที่เป็นะเลหลวงอยู่บริเวณต่อนแลางของช่องแคบ แต่ภายหลังเมื่อมีการยอมรับกันมากขึ้นในเรื่องความกว้างของทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล เป็นผลให้น่านร้ำส่วนใกญ่ในช่องแคบตกอยู่ภายใต้ทะเลอาณาเขตของรัฐประชิดช่องแคบการผ่านช่องแคบของเรือชาติต่างๆ จึงได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะสำหรับเรือรบและเรือพาณิชย์ดังนั้นในระยะที่ 3 นี้ การผ่านช่องแคบจึงเป็ฯสิทธิประเภทเดียวกับการผ่านทะเลอาณาเขต
อาจกล่าวได้ว่า สถานภาพของช่องแคลมะละกา เมื่อแรกเริ่มนั้นในหมู่นักเดินเรือมักจะรู้ว่าเป็นชุมชนโจรสลัด นอกจากนี้ช่องแคบมะละกาเป็นแหล่งลักลับที่เป็ฯทางผ่านของเรือ เป็นตลาดการค้า ซึ่งจัดเป็นหนึ่งในห้าของเกาะปากน้ำของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรังโจรสลัดที่เข้มแข็. ต่อมาได้ดำเนินการค้าอย่างถูกกฎหมาย กิจกรรมทางการค้าได้เปลี่ยนสถานที่จากเกาะไปบนแผ่นดิน เรือจากมหาสมุทรอินเดียที่จะไปจีนสามารถใช้อ่าวมะละการเป็นที่จอดพักเรือ และสามารถติดต่อดินแดนตอนใต้ของมหาสมุทรมลายู...
...สถานภาพช่องแคบมะละกาในทางกฎหมายระหว่งประเทศ จากากรตกลงร่วกัน รัฐประชิดช่องแคบได้แยกปัญหาเกี่ยวกับช่องแคบมะละกาและสิงคโปร์ออกเป็น 2 ประเด็นด้วยกันคือ ปัญหาเกี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบ และปัญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรือในช่องแคบ ซึ่งสาเหตุที่ต้องแยกออกจากกันเนื่องจากอินโดนีเซียและมาเลเซียมีความเห็นร่วมกันว่า ช่องแคบมีสถานะเป็นทะเลอาณาเขตธรรมดาเท่านั้น การผ่านช่องแคบจึงต้องเป็นไปตามหลักสิทธิการผ่านโดยสุจริตในทะเลอาณาเขต ซึ่งสิทธิการผ่านจะต้องถูกจำกัดลงบางประการ โดยที่สิงคโปร์ไม่เห็นด้วย เพราะสิงคโปร์์มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการเดินเรือผ่านช่องแคบจึงต้องการให้มีการผ่านช่องแคบอย่างเสร ดังนั้นในปัญหาเกี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบจะต้องแผกออกเป็นเรื่องต่างหาก และกว่างย้ำไว้ในความตกลงร่วมว่าเป็นปัญหาที่แยกออกจากปัญหาเรื่องความปลอดภัยในการเดินเรือ ซึ่งเป็นเรื่องที่รัฐประชิดชองแคบมีผลประโยชน์ร่วมกันและสามารถตกลงกันไ้ด้
ในกรณีแรกเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบมะละกานั้นเนื่องจากรัฐประชิดช่องแคบทั้งหมดมิได้เห็นพ้องต้องกันจึงยังคงเป็นปัญหาเกี่ยวกัความชัดเจนของทางปฏิบัติในเรื่องนี้ และไม่อาจถือว่าความตกลงร่วมฉบับนี้ได้แสดงถึงสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบได้ อาจถือได้ว่าเป็นเพียงการแสดงจุดยืนของอินโดนีเซียและมาเลเซียฝ่ายหนึ่งกับสิงคโปร์อีฝ่ายหนึ่งเท่านั้น
ในกรณีที่สอง เกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรือ รัฐประชิดช่องแคบได้แสดงจุดยืนอย่างหนักแน่นว่า เป็นเรื่องระหว่างรัฐประชิดช่องแคบเท่านั้น ซึ่งเป็นการยากจะอธิบายว่า เหตุใดปัญหาเกี่ยวกับความปลอภัยในการเดินเรือและปัญหาเี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบจึงมิได้เกี่ยวข้องกัน เพราะการใช้อำนาจใดๆ เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยในกาเดินเรือจำเป็นต้ออาัยการอ้างอิงอำนาจ ตามกฎหมายระหว่างประเทศด้วย ด้วยเหตุนี การที่รับประชิดช่องแคบลกล่าวอ้างว่า ปัญหาความปลอดภัยในการเดินเรือเป็นเรื่องของตนโดยเฉพาะจึงเป้นปากรแสดงโดยปริยายว่า อำนาจของรัฐประชิดช่องแคบเหนือน่านน้ำในช่องแคบน้น คือ อำนาจอธิปไตยในทะเลอาณาเขตและจึงต้องสอดคล้องกับข้อกล่าวอ้างของอินโดนีเซียและมาเลเซียว่า ช่องแคบมะละกาและสิงคโปร์เป็นทะเลอาณาเขตของตน
ความตกลงร่วมฉบับนั้จึงแสดงให้เก็นถึงความแตกต่างในระหว่างรัฐประชิดช่องแคบเกี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบมะละกา แต่ในขณะเดียวกันก็แสดงถึงความสนใจของรัฐประชิดช่องแคบที่จะเข้ามาจัดการในช่องแคบมากขึ้น..("บทบาทและความสำคัญของช่องแคมะละกา" บทที่ 2,file///G;/.../ASAIN/ทเล..)
...ช่องแคบมะละการยังมีความสำคัญที่ภุมิศาสตร์ที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ อันเกี่ยวพันธ์กับผลประโยชน์ของชาติมหาอำนาจต่างๆ ในโลก เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ จึงหนีไม่พ้นการแทรกแซงจากชาติมหาอำนาจ "หมู่เกาะเครื่องเทศ" ในอดีตยังคงเป็น "หมู่เกาะเครื่องเทศ"ในศตวรรษใหม่ ยุคแห่งสารสนเทศ รูปแบบใหม่ของการล่าอาณานิคม จากยุคตื่นตัว ไการพัฒนาทางด้านเทคนิคการผลิต"ในพุทธศตวรรษที่ทำให้อำนาจทางการผลิตยิ่งใหญ่ ครอบคลุมโลกในยุคล่าอาณานิคมยาวนานราว 500 ปี และพัฒนาสู่ยุคทะนนิยมสมบูรณ์แบบ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีระดับไมโคร ทำให้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ได้รับการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโด สู่การวิจัยพัฒนาขึ้นสูงในระดับ "นาโนเทคโนโลยี"โลกยุคปัจจุบัน อำนาจของตลาดเงิน ตลอดทุน ได้แสดงบทบาทที่มีอำนาจเหนือกว่าอำนาจทางการผลิตยุคอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน เช่น
- การฟยุดการเติบโต อนาจทาการผลิตของญี่ปุ่น เมื่อร่วม 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ด้วยปลายปากกาของ สถาบันจัดอันดับเครดิตตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้สร้างปัญหากดอำนาจการผลิต ของเศรษฐกิจมาถึงปัจจุบัน
- การโจมตีเพื่อหยุดยั้งการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจ ของประเทศที่ติดขอบทะเลปแซิฟิกด้านเซีย (แปซิฟิกกริม) ด้วยการเริ่มต้นที่ประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 1536-1540 และพังทลายทั่วเอเซีย จนกลายเป็นตำนาน "ต้มยำกุ้ง" โดยกลุ่มครองอำนาจตลอดทุ ตลดเงิน พวกเขาอาศัยเพียงปลายปากกาของ สถาบันจัดอันดับเครดิตดลาดทุนในสหรัฐอเมริกา Moody's, S&Pและกองทุน เฮดฟันด์จอร์จซ์ โซรอสซ์
- ล่าสุดสิงหาคม 2557 อำนาจของตลาดเงิน ตลาดทุน ได้แสดงบทบาทที่เหนือกว่า "อำนาจทางการผลิต อย่างชัดเจนเมื่อกองทุนเฮดฟันด์ เข้าเก็งกำไรในตลาดน้ำมันดิบโลก สร้างกำไรมหาศาล รวมทั้งการสร้างกำไรจากตลาดทุน ขณะที่ราคาน้ำมันดิบ ไต่สูงขึ้นไปแตะระดับ 50 ดอลล่าร์ต่อบาร์เรล ราคาหุ้นในตลาดหุ้นทั่วโลกร่วงลงระนาว โดอาสก็เป็นของเฮดฟันด์เข้าช้อนซื้อหุ้น และเมือ่ดันระคาน้ำมันลง ตลาดหุ้นทั่วโลกก็จะเขียวยกแผง สร้างกำไรอีกมหาศาลฯลฯ
อย่างไรก็ตามแม้ตำนาน "หมู่เกาะเครื่องเทศ" จะได้เปลี่ยนรูปแบบไป ไม่มีกองเรือของดัตซ์ ปอร์ตุเกส สเปน และอังกฤษ ที่เข้าไปปล้นสะดมทรัพยากร ฆ่าฟันชนพื้นเมือง อีกต่อไป แต่รูปแบบการล่าเมืองขึ้นยุคใหม่ "อำนาจของตลาดเงิน ตลาดทุน ก็ได้เข้ามาแทนที่ ดังนั้นความจำเป็นขอพวกเขาจึงต้องสร้างอำนาจทางการทหาร และเข้าไปควบคุมจุดยุทธศาสต์สำคัญๆ ของโลกไว้ "ช่องแคลบมะละกา" จึงเป็นเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญ" ในการสร้างดุลอำนาจที่เหนือกว่า เพื่อปกป้องคุ้มครอง และเป็นหลักประกันความั่งคั่งมั่นคงของตนให้คงอยู่เป็นนิรันดร์..(www.visitsurin.com, ช่องแคบมะละกา, I'm America)
ปอร์ตคลางของมาเลเซียมีที่ตื้นอยู่หลายแห่ง บางแห่งมีความลักน้อยกว่า 10 เมตร ทางด้านเหนือของปอร์ต ติดสันดานชายฝั่ยมาเลซียมีที่ตื้นเป็นหย่อมๆ ทำให้เรือขนาดใหญ่ต้องเดินเทางหลบหลีกไปมาในบริเวณช่องแคบสิงคโปร์มีบริเวณที่แคบที่สุดกว้างเพียง 3.2 ไมล์อยู่ระหว่างเกาะเซอนาง ของสิงคโปร์และเกาะตากอบ เยอร์ชา ของอินโดนีเซีย และบริเวณที่แคบอีกแห่งหนึ่งอบู่ระหว่งเกาะเซนต์ จอห์น ของสิงคโปร์และเกาะอะนัค ซัมโม ของอินโดนีเซียมีความหว้างเพียง 3.4 ไมล์
ช่องแคบมะละกาอยู่บริเวณปลายสุดของแปลมมลายูระหว่างประเทศมาเลเซียสิงคโปร์และเากสุมาตราของอินโดนีเซียเชือมต่อระหว่างทะเลอันดามันของมหาสุมทรอินเดียและทะเลจีนใต้ขชองมหาสมุทรแปซิฟิก
ปากทางเข้าทางทิศตะวันตกของซ่องแคบเริ่มจากตอนใต้ของเกาภูเก็ตถึงตอนเหนือสุดของเกาะสุมตราของอินโดนีเซียบริเวณเหลม Piai มีความกว้างประมาณ500 ไม่ล์
ปากทางเข้าทิศตะวันออกเป็นจุดเดียวกันกับที่เริ่มต้น ช่องแคบสิงคโปร์ โดยอยู่บริเซณใต้สุดของประเทศมาเลเซียที่เกาะ คุคุป ซึ่งมีความกว้างประมาณ 8.4 ไมล์
ความลึกของระดับน้ำในช่องแคบมีความไม่แน่นอน เนื่องจากพื้นที่ดินท้องทะเลเป็นทรายซึ่งถูกกระแสน้ำพัดพา ทำให้เปลี่ยนรูปร่างไปได้เสมอ อย่างไรก็ตามความลึกโดยเฉลี่ยบริเวณปากทางเข้าทางทิศตะวันตกจนถึงเกาะเปรักของมาเลเซียมีระดับลึกพอที่จะไม่เกิดอันตรายต่อการเดนเรือ คือ ประมาณ 34-88 เมตร ในขณะที่บริเวณต่อจากเกาะเปรักจนถึงเกาะ คุคุป อันเป็นจุดเริ่มต้นของช่องแคบสิงคโปร์นั้น ระดับน้ำค่อนข้างตื้นและในบางบริเวณก็ตื้นมากจนสามารถเป็นอันตรายต่อการเดนเรือได้ โดยเฉลี่ยมีความลึกประมาณ 20 เมตร แต่ในบางบริเวณก็ลึกเพียง 3 เมตรเท่านั้น...
... การผลัดเปลี่ยนกันเข้ามามีอำนาจเหนือช่องแคบโดยชาติต่างๆ มีผลต่อหลักเกณฑ์การผ่านข่องแคบด้วยเช่นกัน เนือ่งจากแนวคิดที่มีต่อหลักเษฑ์การผ่านช่องแคบไปตามยุคสมัยซึ่งอาจแ่งออกได้กว้างๆ เป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 สมัยโบราณ ช่องแคบอยู่ใต้อำนาจของชาวพื้นเมืองหรือชาเอเซียชาติอื่น เช่ส ชาวอาหรับ หลักเกณฑ์การผ่านช่องแคบจึงเป็ฯไปตามแนวความคิดของชาวเอเชีย คือ ถือว่าทะเลเป็นทรัพย์สมบัติส่วนกลาง ซึ่งไม่สามทารถยึดถือเป็นเจ้าของได้ เรือจึงสมารถเดินผ่านได้อย่างเสรี
ระยะที่ 2 สมัยอาณานิคม เมื่อชาวยุโรปต่างๆ คือ โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ และอังกฤษเข้ามาควบคุมการเดินเรือผ่านช่องแคบ การผ่านช่องแคบตกอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐชายฝัง ทั้งนี้น่าจะได้รับอิทะิพลมาจากแนวความคิดของนักกฎหมายฝ่ายที่เห็นว่า ทะเลสามารถถูกครอบครองเป็นเจ้าของได้ ซึ่งเป็นปนวความคิดที่แพร่หลายอยู่ในยุโรปสมัยหนึ่งดังนั้น ในสมัยนี้การเดินเรือผ่านชองแคบจึงไม่ได้เป็นไปโดยเสรี
ระยะที่ 3 เมื่อรัฐประชิดช่องแคบได้รับเอกราช เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองรัฐประชิดช่องแคบทั้งสาม คือ อินโดนีเซีย มาเลเซียและสิงคฮปร์ ต่างได้รับเอกราช ในระยะนี้แต่เดิมแนวปฏิบัติโดยทั่วไป ถือว่าทะเลอาณาเขตมีความกว้างเพียง 3 ไมล์ทะเล ทางเดินเรือผ่านช่องแคบจึงไม่ได้รับความกระทบกระเทือน ถึงแม้ว่ารัฐประชิดช่องแคบต่างต้องการที่จะเข้ามาควบคุมการผ่านก็ตาม เนื่องจากยังคงมีส่วนที่เป็นะเลหลวงอยู่บริเวณต่อนแลางของช่องแคบ แต่ภายหลังเมื่อมีการยอมรับกันมากขึ้นในเรื่องความกว้างของทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล เป็นผลให้น่านร้ำส่วนใกญ่ในช่องแคบตกอยู่ภายใต้ทะเลอาณาเขตของรัฐประชิดช่องแคบการผ่านช่องแคบของเรือชาติต่างๆ จึงได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะสำหรับเรือรบและเรือพาณิชย์ดังนั้นในระยะที่ 3 นี้ การผ่านช่องแคบจึงเป็ฯสิทธิประเภทเดียวกับการผ่านทะเลอาณาเขต
อาจกล่าวได้ว่า สถานภาพของช่องแคลมะละกา เมื่อแรกเริ่มนั้นในหมู่นักเดินเรือมักจะรู้ว่าเป็นชุมชนโจรสลัด นอกจากนี้ช่องแคบมะละกาเป็นแหล่งลักลับที่เป็ฯทางผ่านของเรือ เป็นตลาดการค้า ซึ่งจัดเป็นหนึ่งในห้าของเกาะปากน้ำของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรังโจรสลัดที่เข้มแข็. ต่อมาได้ดำเนินการค้าอย่างถูกกฎหมาย กิจกรรมทางการค้าได้เปลี่ยนสถานที่จากเกาะไปบนแผ่นดิน เรือจากมหาสมุทรอินเดียที่จะไปจีนสามารถใช้อ่าวมะละการเป็นที่จอดพักเรือ และสามารถติดต่อดินแดนตอนใต้ของมหาสมุทรมลายู...
...สถานภาพช่องแคบมะละกาในทางกฎหมายระหว่งประเทศ จากากรตกลงร่วกัน รัฐประชิดช่องแคบได้แยกปัญหาเกี่ยวกับช่องแคบมะละกาและสิงคโปร์ออกเป็น 2 ประเด็นด้วยกันคือ ปัญหาเกี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบ และปัญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรือในช่องแคบ ซึ่งสาเหตุที่ต้องแยกออกจากกันเนื่องจากอินโดนีเซียและมาเลเซียมีความเห็นร่วมกันว่า ช่องแคบมีสถานะเป็นทะเลอาณาเขตธรรมดาเท่านั้น การผ่านช่องแคบจึงต้องเป็นไปตามหลักสิทธิการผ่านโดยสุจริตในทะเลอาณาเขต ซึ่งสิทธิการผ่านจะต้องถูกจำกัดลงบางประการ โดยที่สิงคโปร์ไม่เห็นด้วย เพราะสิงคโปร์์มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการเดินเรือผ่านช่องแคบจึงต้องการให้มีการผ่านช่องแคบอย่างเสร ดังนั้นในปัญหาเกี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบจะต้องแผกออกเป็นเรื่องต่างหาก และกว่างย้ำไว้ในความตกลงร่วมว่าเป็นปัญหาที่แยกออกจากปัญหาเรื่องความปลอดภัยในการเดินเรือ ซึ่งเป็นเรื่องที่รัฐประชิดชองแคบมีผลประโยชน์ร่วมกันและสามารถตกลงกันไ้ด้
ในกรณีแรกเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบมะละกานั้นเนื่องจากรัฐประชิดช่องแคบทั้งหมดมิได้เห็นพ้องต้องกันจึงยังคงเป็นปัญหาเกี่ยวกัความชัดเจนของทางปฏิบัติในเรื่องนี้ และไม่อาจถือว่าความตกลงร่วมฉบับนี้ได้แสดงถึงสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบได้ อาจถือได้ว่าเป็นเพียงการแสดงจุดยืนของอินโดนีเซียและมาเลเซียฝ่ายหนึ่งกับสิงคโปร์อีฝ่ายหนึ่งเท่านั้น
ในกรณีที่สอง เกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรือ รัฐประชิดช่องแคบได้แสดงจุดยืนอย่างหนักแน่นว่า เป็นเรื่องระหว่างรัฐประชิดช่องแคบเท่านั้น ซึ่งเป็นการยากจะอธิบายว่า เหตุใดปัญหาเกี่ยวกับความปลอภัยในการเดินเรือและปัญหาเี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบจึงมิได้เกี่ยวข้องกัน เพราะการใช้อำนาจใดๆ เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยในกาเดินเรือจำเป็นต้ออาัยการอ้างอิงอำนาจ ตามกฎหมายระหว่างประเทศด้วย ด้วยเหตุนี การที่รับประชิดช่องแคบลกล่าวอ้างว่า ปัญหาความปลอดภัยในการเดินเรือเป็นเรื่องของตนโดยเฉพาะจึงเป้นปากรแสดงโดยปริยายว่า อำนาจของรัฐประชิดช่องแคบเหนือน่านน้ำในช่องแคบน้น คือ อำนาจอธิปไตยในทะเลอาณาเขตและจึงต้องสอดคล้องกับข้อกล่าวอ้างของอินโดนีเซียและมาเลเซียว่า ช่องแคบมะละกาและสิงคโปร์เป็นทะเลอาณาเขตของตน
ความตกลงร่วมฉบับนั้จึงแสดงให้เก็นถึงความแตกต่างในระหว่างรัฐประชิดช่องแคบเกี่ยวกับสถานะตามกฎหมายระหว่างประเทศของช่องแคบมะละกา แต่ในขณะเดียวกันก็แสดงถึงความสนใจของรัฐประชิดช่องแคบที่จะเข้ามาจัดการในช่องแคบมากขึ้น..("บทบาทและความสำคัญของช่องแคมะละกา" บทที่ 2,file///G;/.../ASAIN/ทเล..)
...ช่องแคบมะละการยังมีความสำคัญที่ภุมิศาสตร์ที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ อันเกี่ยวพันธ์กับผลประโยชน์ของชาติมหาอำนาจต่างๆ ในโลก เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ จึงหนีไม่พ้นการแทรกแซงจากชาติมหาอำนาจ "หมู่เกาะเครื่องเทศ" ในอดีตยังคงเป็น "หมู่เกาะเครื่องเทศ"ในศตวรรษใหม่ ยุคแห่งสารสนเทศ รูปแบบใหม่ของการล่าอาณานิคม จากยุคตื่นตัว ไการพัฒนาทางด้านเทคนิคการผลิต"ในพุทธศตวรรษที่ทำให้อำนาจทางการผลิตยิ่งใหญ่ ครอบคลุมโลกในยุคล่าอาณานิคมยาวนานราว 500 ปี และพัฒนาสู่ยุคทะนนิยมสมบูรณ์แบบ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีระดับไมโคร ทำให้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ได้รับการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโด สู่การวิจัยพัฒนาขึ้นสูงในระดับ "นาโนเทคโนโลยี"โลกยุคปัจจุบัน อำนาจของตลาดเงิน ตลอดทุน ได้แสดงบทบาทที่มีอำนาจเหนือกว่าอำนาจทางการผลิตยุคอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน เช่น
- การฟยุดการเติบโต อนาจทาการผลิตของญี่ปุ่น เมื่อร่วม 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ด้วยปลายปากกาของ สถาบันจัดอันดับเครดิตตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้สร้างปัญหากดอำนาจการผลิต ของเศรษฐกิจมาถึงปัจจุบัน
- การโจมตีเพื่อหยุดยั้งการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจ ของประเทศที่ติดขอบทะเลปแซิฟิกด้านเซีย (แปซิฟิกกริม) ด้วยการเริ่มต้นที่ประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 1536-1540 และพังทลายทั่วเอเซีย จนกลายเป็นตำนาน "ต้มยำกุ้ง" โดยกลุ่มครองอำนาจตลอดทุ ตลดเงิน พวกเขาอาศัยเพียงปลายปากกาของ สถาบันจัดอันดับเครดิตดลาดทุนในสหรัฐอเมริกา Moody's, S&Pและกองทุน เฮดฟันด์จอร์จซ์ โซรอสซ์
- ล่าสุดสิงหาคม 2557 อำนาจของตลาดเงิน ตลาดทุน ได้แสดงบทบาทที่เหนือกว่า "อำนาจทางการผลิต อย่างชัดเจนเมื่อกองทุนเฮดฟันด์ เข้าเก็งกำไรในตลาดน้ำมันดิบโลก สร้างกำไรมหาศาล รวมทั้งการสร้างกำไรจากตลาดทุน ขณะที่ราคาน้ำมันดิบ ไต่สูงขึ้นไปแตะระดับ 50 ดอลล่าร์ต่อบาร์เรล ราคาหุ้นในตลาดหุ้นทั่วโลกร่วงลงระนาว โดอาสก็เป็นของเฮดฟันด์เข้าช้อนซื้อหุ้น และเมือ่ดันระคาน้ำมันลง ตลาดหุ้นทั่วโลกก็จะเขียวยกแผง สร้างกำไรอีกมหาศาลฯลฯ
อย่างไรก็ตามแม้ตำนาน "หมู่เกาะเครื่องเทศ" จะได้เปลี่ยนรูปแบบไป ไม่มีกองเรือของดัตซ์ ปอร์ตุเกส สเปน และอังกฤษ ที่เข้าไปปล้นสะดมทรัพยากร ฆ่าฟันชนพื้นเมือง อีกต่อไป แต่รูปแบบการล่าเมืองขึ้นยุคใหม่ "อำนาจของตลาดเงิน ตลาดทุน ก็ได้เข้ามาแทนที่ ดังนั้นความจำเป็นขอพวกเขาจึงต้องสร้างอำนาจทางการทหาร และเข้าไปควบคุมจุดยุทธศาสต์สำคัญๆ ของโลกไว้ "ช่องแคลบมะละกา" จึงเป็นเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญ" ในการสร้างดุลอำนาจที่เหนือกว่า เพื่อปกป้องคุ้มครอง และเป็นหลักประกันความั่งคั่งมั่นคงของตนให้คงอยู่เป็นนิรันดร์..(www.visitsurin.com, ช่องแคบมะละกา, I'm America)
วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Roll-on Roll-off
การคมนาคมทางทะเลมีเส้นทางเดินเรือตั้งแต่สมัยโบราณ ฝั่งทะเลด้านตะวันออกและฝั่งอ่าวไทยมักถูกใช้เป็นที่พักเรือสินค้าที่มาจากจีน อินเดีย อาหรับและยุโรป รวมทั้งเป็นที่หลบลมมรสุม ดินแดนในภูมิภาคนี้จึงมีการติดต่อคมนาคมทางทะเลในภูมิภาคกันเองและติดต่อกับโลกภายนอกด้วย ปัจจุบันการคมนาคมทางทะลมีความก้าวหน้ามาก มีท่าเรือในทุกประเทศยกเว้นประเทศลาวเนื่องจากไม่มีทางออกทะเล ท่าเรือในปัจจุบันมีความสะดวกในการใช้งานและมีความทันสมัยสามารถจอเดรือใหญ่ได้ ขนถ่านสินค้าและใช้ในการคมนาคมได้รดเร็วกว่าสมัยก่อน ท่าเรือที่สำคัญได้แก้ ท่าเรือของประเทศสิงคโปร์ ถือเป็นท่าเรือที่เป้นจุดเชื่อมโยงและเป็นจุดฟ่านของเส้นทางเดินเรือตั้งแต่สมัยโบราณ ในสมัยราชวงศ์ถังปรากฎบันทึกว่าท่าเรื่อสิงคโปร์อยู่ในเส้นทางสายไหมของโลก ปัจจุบันก็ยังเป็นท่าเรือที่มีความสำคัญมากในภูมิภาค นอกจากนี้ยังมีการสร้างท่าเรือน้ำลึกแห่งใหม่ที่น่าสนใจคือท่าเรือน้ำลึกทวายในเมียนมาร์ที่เชื่อต่อกับเส้นทางคมนาคมทางบกผ่านจังหวัดกาญจนบุรีของไทยเข้าไปยังกรุงเทพมหานครและเขชื่อโยงต่อไปยังท่าเรือแหลมฉบัง จะเป็นจุดเชื่อมโยงทางคมนาคมและการขนส่งสินค้าทางทะเลแห่งใหม่ที่สำคัญในเอเซียตะวนออเฉพียงใต้ เป้นต้น (สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด กาญจนบุรี, การคมนาคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
เส้นทางสายไหม คือเส้นทางทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ที่เคยเชื่อมโยงภูมิภาคต่างๆ เข้าด้วยกันมาตั้งแต่อดีต ปัจจุบันภายใต้การบริหารประเทศของประธานาธิบดี สี จิ้น ผิง ได้มีแผนพัฒนา "เส้นทางสายไหมใหม่ ภายใต้ศตวรรษที่ 21" ขึ้นเพื่อกระชับความสัมพันะ์และพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศอีกครั้ง โดยนโยบายเส้นทางสายไหมใหม่สตวรรษที่ 21 The New Silk Road มีแนวคิดยุทธศาสตร์ คือ "One belt One Road" policy(หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง) นับเป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของจีนในปัจจุบัน ครอบคลุมการพัฒนาและสร้างเส้นทางคมนาคม 2 เส้นทางคือ เส้นทางสายไหมทางเศรษฐกิจทางบก มีลักษณะคล้ายแถบเส้นเข็มขัดที่เชื่อมโยงจากฝั่งตะวันตกของจีน ผ่านเอเซียกลาง เอเซียตะวันตก(รัสเซีย) และไปสุดที่ยุโรป (ออสเตรีย) และ เส้นทางสายไหมทางทะเล คือเส้นทางที่เชื่อมโยงจากท่าเรือทางตอนใต้ของจีน ผ่านภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เอชียใต้ ตะวันออกกลาง อแฟริกาตะวันออก และไปสุดที่ยุโรป(เบลเยี่ยม) ซึ่งเส้นทางสายใหมทางทะะล ถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการขยายผลประโยชน์ระหว่งจีนกับประเทศต่าางๆ ครอบคลุมหลายภูมิภาค โดยเฉพาะอาเซียน และอาจกลายเป็นเส้นทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการค้าและการลงทุนมากที่สุดอีกเส้นทางหนึ่งในอนาคต(บทความ "จีนกับประชาชนเศรษฐกิจอาเซียน ภายใต้แผนพัฒนาเส้นทางสายไหมใหม่)
สมาชิกในประชาคมอาเซียนทั้งหมด 10 ชาติ มีเพียงลาวประเทศเดียวมี่ไม่มีทางออกทะเล อีก 9 ประเทศล้วนมีชายฝั่งติดทะเล ระยะทางรวมกันแล้วกว่า110,000 กิโลเมตร ยาวกว่าเส้นรอบโลกเกือบ 3 เท่า หรือเท่ากับ 5.5 เท่าของความยาวชายฝั่งประเทศสหรัฐอเมริกา ในจำนวนนี้ ประเทศอินโดนีเซียมีชายฝั่วยาวไกลมากที่สุด รองลงมาคือฟิลิปปินส์..และชายวฝั่งที่ยาวไกลนี้ เป็นที่ตั้งของเกาะแก่งจำนวนมหาศาล บางประเทศเป็นประเทศที่เป็นเกาะเช่น อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เมื่อนับรวมจำนวนเกาะของทั้งภูมิภาครวมกัน คิดเป็นตัวเลขกว่า 30,000 เกาะ มากว่าจำนวนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย
ทะเลของประชาคมอาเซียนตั้งอยุ่ในเขตร้อน ตามหลักทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแล้ว ทะเลเขตร้อนเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตสูงกว่าทะเลเขตอบอุ่นและทะเลเขตหนาวเป็นอย่างมากนอกจากนี้ ทะเลอาเซียนยังอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า "เขตอินโด-แปซิฟิก" หรือเขตเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ พบว่าทะเลเขตนี้มีความหลากหลายสูงที่สุดในโลก ไม่ทำให้ทะเลในเขตอเาซียนมีเพียงความใหญ่โตมโหฬาร แต่ยังคงอุดมสมบูรณ์ที่สุดด้วย
ตลอดเวลยาวนาน นักวิทยาศสตร์ทางทะเลพยายามทำการศึกษาทะเลของภูมิภาคอาเซียนน แต่การศึกษาก็ค้นพบเพียงน้อยนิด เมื่อเทียงกับทรัพยากรของทะเลแห่งนี้ ทะเลอาเซียนเป้นบริเวณที่มีความหลากหบายองสิ่งมีชีวิตในแนวประการับสูงสุด สิ่งมีชีวิตในบริเวณนี้มีจำนวนชนิดมากกว่าสิ่งมีชีวิตในแนวประการรังเขตอื่นไดในโลกรวมกัน ..เกาะต่างๆ ไม่ฃต่ำกว่า 3,000 เกาะที่ไม่เคยมีมนุษย์อาศัยอยู่ และทะเลที่ลึกเป็นอันดับสามของโก ที่ร่องลึกฟิลิปปินส์ โดยความลึกสูงสุดถึง 10,540 ซึ่งสามารหย่อนภูเขาเอเวอเรสต์ลงไปได้ทั้งหมด ความลึกลับของทะเลอาเซียนจึงมีมนต์ขลังรอการพิสูจน์...(www.etatjournal.com/.., อาเซียนมีทะเลยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก)
ประชาคมอาเซียนกับความร่่วมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเล ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางทะเลนั้น ใน APSC Biueprint ได้กำหนดให้มีการส่งเสริมความร่วมมือทางทะเลที่ได้กำหนดไว้ประกอบด้วย
1) การจัดตั้งเวทการประชุมหารือเรื่องความร่วมือ เพื่อความมั่นคงทางทะเลของอาเซียน
2) การประยุกต์ใช้แนวทางอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะประเด็นเรื่องความปลอดภัยในการเดินเรือและความมั่นคงในภูมิภาค
3) การรวบรวมประเด็นความมั่นคงทางทะเล และระบุความร่วมือทางทะเลร่วมกันของสมาชิกอาเซีย
4) ส่งเสริมความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางทะเล การค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ผ่านกิจกรรมต่าง ๆเช่น การแลกเปลี่ยนข้อมุลข่าวสาร ความร่วมมือด้านเทคโนโลยี และการและเปลี่ยนการเยือนระหว่างเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (ประชาคมอาเซียน 2558 (2015) : ความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเล, นาวาเอ ภุชงค์ ประดิษฐธีระ)
แผนแม่บทและความเป็นไปได้ในการจัดตั้งโครงข่ายเชื่อมโยงบริการเรือ RO/ROและการเดินเรือระยะสั้นในอาเซียน
ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศญี่ปุ่นที่ปรกษาโครงการศึกษาแผนแม่บทและความเป้นไปได้ในการจัดตั้งโครงข่ายเชื่อมโยงบริการเรือและการเดินเรือระยะสั้นในอาเซียน ภายใต้แผนปฏิบัติการบรูไน ได้ทำารศักษาให้กับอาเซียนภายใต้แผนงานการเชื่อโยงของอาเซียน
กองกิจกรรมระหว่างประเทศ ในฐานะผู้ประสานงานได้รับฟังงานศึกษาและความก้าวหน้าของโครงการสรุปได้ดังนี้
1) การศึกษาการเดินเรือ RO-RO
- การณีของการเดินเรือสามประเทศ คือ ญี่ปุ่น เกาหลี และจีนพบว่าการขนส่งโดยเรือยังคงเป็นเรือที่ให้บริการเป็นจำนวนมากในการเดินเรือของเอเซีย อย่างไรก็ตาม การเดินเรือ RO-RO ได้ขยายเครือข่ายเพิ่มมากขึ้นเป็น 21 เส้นทาง (จีน-เกาหลี 15 เส้นทาง, ญี่ปุ่น-จีน 6 เส้นทางและญี่ปุ่น-เกาหลี % เส้นทาง) ซึงทั้ง 3 ประเทศได้ใช้ความพยายามในการใช้ chassis ร่วมกัน และการยอรับร่วมกันสำหรับผุ้ให้บริการหลักๆ
- กรณีของสหภาพยุโรป ส่วนหนึ่งของความสำเร็จในการเดินเรือระหว่างกันคือ ขั้นตอน CIQ ที่เรียบง่าย สินค้าที่เหมาะสมและเพียงพอในการเดินเรือ และเงื่อนไขของสภาพทางภูมิศาสตร์ ซึ่งในยุโรปมีเส้นทางเดินเรือจำนวนมากถึง 98 เส้นทาง ทั้งในทะเลบอลติก ทะเลเหนือ ช่องแคบโดเวอร์ และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเส้นทางที่เชื่อมยุโรปและอัฟริการเหนือ การขนส่งภายใน EU เป็น Quasi-domestic จึงต้องมีนโยบายการขนส่งร่วมกันเป็นในทิศทางเดียวกันและเาียบง่ายส่งผลต่อประสิทธิภาพของโลจิสติกส์ โดยเฉพาะที่ประเทศน้นสัดส่วนการใช้บริการเดินเรือต่อการขนส่งสินค้าทางทะเลทั้งหมดมากราวร้อยละแปดสิบ
2) กฎ ระเบียบ และกรอบของกฎหมายสำหรับการพัฒนาการเดินเรือ RO-RO
- การศึกษาของผู้เชี่ยวชาญจากญี่ปุ่นได้รลงพื้นที่สำรวจประเทศสมาชิกอาเซียน ในด้านสถาบันและกฎหมายทราบว่าความพร้อมในการพัฒนาการเดินเรือในมุมมองด้านดังกล่าวขึ้นอยู่กับระดับของการดำเนินการของประเทศสมาชิก เรือง การ accession/ratification/enforcement ความตกลงในระดับสกล ระดับภูมิภาค ระดับอนุภูมิภาคและทวิภาคีว่าด้วยการขน่วทางทะเลและทางบก ตลอดจนถึงระดับความซับซ้อนเรื่องพิธีการเข้าพรมแดน
- การปรชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหวว่างประเทศสมาชิก เห็นว่ากฎ ระเบียบและกรอบของกฎหมายเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการเดินเรือ และที่ประชุมได้ตระหนักอย่างยิ่งว่าความตกลงที่เกี่ยวข้องกับการอำนวยความสะดวกการขนส่งของอาเชียนที่ครอบคลุมการขนถ่ายสินค้าผ่านแดนและการขนส่งระหว่างและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ จะเป็นแนวทางและนำไปสู่การปฏิบัติในหลักการ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เป็นข้อติดขัดด้านกรอบกฎหมายที่เป็นอุปสรรคการเดินเรือ
3) โครงสร้างพ้นฐานรองรับการพัฒนาการเดินเรือ RO-RO
นอกจากผู้เชียวชาญฯ จะได้นำเสนอปัจจัยในการคัดเลือกเส้นทาง ประเภทและขนาดเรือ การพัฒนาท่าเที่ยบเรือ และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงความร่วมมือกรอบกฎหมาย การให้บริการ CIQs ที่มีประสิทธิภาพ กฎ ระเบียบที่เอื้ออำนวยต่อการสนับสนุนแผนการลงทุนและแผนการตลาดของผุ้ประกบอการเดินเรือ มาตรการในการกสร้างบรรยากาศการทำธุรกิจที่เหมาะสมในการเดินเรือสำหรับเส้นทางเดินเรือง ผุ้เชียวชาญฯยังได้เสอนว่าการเตรียมการสำหรับโครงสร้างพื้นฐานในเส้นทาง Priority Routes ได้แก่ พัฒนาท่าเทียบเรือนในเส้นทางดักล่าว โดยปรับปรุงท่าเทียบเรือที่มีอยู่เดิมให้สามารถรองรับเรือระหว่างประเทศ จัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกในทาเรือ การเชื่อต่อเข้าถึงถนน ทางด่วนพิเศษ แระทางหลวงอาเซียน และปรับปรุงการเชื่อมโยงพื้นที่หลังท่าเชื่อมโยงกับท่าเทียบเรือ
นอกจากนี้ แผนการเงินเพื่อจัดหาเรือ การวิเคราะห์ด้านการตลาดและอุปสงค์ และบทบาทของภาครัฐในการสนับสนุนธุรกิจเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้้การเดินเรืออาเวียน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ ตามแผนในการจัดทำเครือข่ายเดินเรือ ภายในปี พ.ศ. 2558 (แผนแม่บทและความเป็นได้ในการจัดตั้งโครงข่ายเชื่อมโยงบริการเรือRO/RO และการเดินเรือระยะสั่นในอาเซียน, กองกิจการระหว่างประเทศ,ความร่วมมือระหว่างประเทศ)
การขนส่งด้วยเรือ Ro-Ro หรือ Roll-on Roll-off เป็นการขนส่งยานพาหนะหรือสินค้า โดยนำมาวางบนล้อเลื่อนเพื่อขนขึ้นเรือ Roll-on และลงเรือ Roll-off สามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภทขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทสินค้าที่ขขนส่ง เช่น เรือที่ออกแบบมาเพื่อขนส่งรถยนต์ รถบรรทุก หรือสินค้าเพียงอย่างเดียว และ เรือลุกผสมรอบรัดบการขนส่งสินค้าและผุ้โดยสารในคราวเดียวกัน ทั่งนี้ การขนส่งด้วยเรือ Ro-Ro เร่ิมมีบทบาทสำคัญมากยิ่งขึ้นในอาเวียน โดยอาเวียนได้บรรจุโครงข่ายการเดินเรือ โร-โร และการเดินเรือระยะส้น ไว้ในแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อดยงระหว่างกันของอาเซียน และอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของการเดินเรือ โร-โร ในหลายเส้นทาง
ปัจจุบันมีเอกชนทั้งไทยและต่างผระเทศหลบายรายแสดงความสนใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว เพนื่องจากเล็งเห็นศักยภาพในกาขนส่งสินค้าด้วยเรือประเภทดังกล่าว EIC มองเห็นว่าการขนส่งด้วยเรือ โร-โรมีศักยภาพในหลายๆ ด้าน โดยเฉาพในด้านการขนส่งเพื่อรองรับเส้นทางระยะสั้น อีกทั้งยังช่วยร่นเวลาในการขนส่งได้อย่างมีนัยสำคัญ จากกรณีศึกษาของต่างประเทศที่มีการใช้เรือ โร-โร มักใช้ขนส่งสินค้าเร่งด่วน และรอบรับเส้นทางขนส่งระยะสั้นไม่เกิน 300 ไมล์ทะเล เพื่อไม่ให้ทัซ้อนกับเส้นทางการขนส่งหลักขอเรือบรรทุกคอนเทนเนอร์
การขนส่งในลักษณะดังกล่าวตอบโจทย์ของอาเซียนที่มีความต้องการขนส่งสินค้าระหว่างกันมากขึ้น โดยมูลค่าการค้าภายในภูมิภาคอาเซียนในช่วง 5 ปีที่ผ่านมามีอัตราการเติบโตสูงขึ้นกว่า 8% ต่อปี นอกจากนี้ประเทศในอาเซียนยังมีความต้องการขนส่งสินค้าในเส้นทางใกล้ๆ เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย..(posttoday.com/.., "เจาะธุรกิจเดินเรือ Ro-Roในตลาดอาเซียน", บทวิเคราะห์อาเซียน โดย ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจธนาคารไทยพาณิชย์ EIC)
เส้นทางสายไหม คือเส้นทางทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ที่เคยเชื่อมโยงภูมิภาคต่างๆ เข้าด้วยกันมาตั้งแต่อดีต ปัจจุบันภายใต้การบริหารประเทศของประธานาธิบดี สี จิ้น ผิง ได้มีแผนพัฒนา "เส้นทางสายไหมใหม่ ภายใต้ศตวรรษที่ 21" ขึ้นเพื่อกระชับความสัมพันะ์และพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศอีกครั้ง โดยนโยบายเส้นทางสายไหมใหม่สตวรรษที่ 21 The New Silk Road มีแนวคิดยุทธศาสตร์ คือ "One belt One Road" policy(หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง) นับเป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของจีนในปัจจุบัน ครอบคลุมการพัฒนาและสร้างเส้นทางคมนาคม 2 เส้นทางคือ เส้นทางสายไหมทางเศรษฐกิจทางบก มีลักษณะคล้ายแถบเส้นเข็มขัดที่เชื่อมโยงจากฝั่งตะวันตกของจีน ผ่านเอเซียกลาง เอเซียตะวันตก(รัสเซีย) และไปสุดที่ยุโรป (ออสเตรีย) และ เส้นทางสายไหมทางทะเล คือเส้นทางที่เชื่อมโยงจากท่าเรือทางตอนใต้ของจีน ผ่านภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เอชียใต้ ตะวันออกกลาง อแฟริกาตะวันออก และไปสุดที่ยุโรป(เบลเยี่ยม) ซึ่งเส้นทางสายใหมทางทะะล ถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการขยายผลประโยชน์ระหว่งจีนกับประเทศต่าางๆ ครอบคลุมหลายภูมิภาค โดยเฉพาะอาเซียน และอาจกลายเป็นเส้นทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการค้าและการลงทุนมากที่สุดอีกเส้นทางหนึ่งในอนาคต(บทความ "จีนกับประชาชนเศรษฐกิจอาเซียน ภายใต้แผนพัฒนาเส้นทางสายไหมใหม่)
สมาชิกในประชาคมอาเซียนทั้งหมด 10 ชาติ มีเพียงลาวประเทศเดียวมี่ไม่มีทางออกทะเล อีก 9 ประเทศล้วนมีชายฝั่งติดทะเล ระยะทางรวมกันแล้วกว่า110,000 กิโลเมตร ยาวกว่าเส้นรอบโลกเกือบ 3 เท่า หรือเท่ากับ 5.5 เท่าของความยาวชายฝั่งประเทศสหรัฐอเมริกา ในจำนวนนี้ ประเทศอินโดนีเซียมีชายฝั่วยาวไกลมากที่สุด รองลงมาคือฟิลิปปินส์..และชายวฝั่งที่ยาวไกลนี้ เป็นที่ตั้งของเกาะแก่งจำนวนมหาศาล บางประเทศเป็นประเทศที่เป็นเกาะเช่น อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เมื่อนับรวมจำนวนเกาะของทั้งภูมิภาครวมกัน คิดเป็นตัวเลขกว่า 30,000 เกาะ มากว่าจำนวนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย
ทะเลของประชาคมอาเซียนตั้งอยุ่ในเขตร้อน ตามหลักทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแล้ว ทะเลเขตร้อนเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตสูงกว่าทะเลเขตอบอุ่นและทะเลเขตหนาวเป็นอย่างมากนอกจากนี้ ทะเลอาเซียนยังอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า "เขตอินโด-แปซิฟิก" หรือเขตเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ พบว่าทะเลเขตนี้มีความหลากหลายสูงที่สุดในโลก ไม่ทำให้ทะเลในเขตอเาซียนมีเพียงความใหญ่โตมโหฬาร แต่ยังคงอุดมสมบูรณ์ที่สุดด้วย
ตลอดเวลยาวนาน นักวิทยาศสตร์ทางทะเลพยายามทำการศึกษาทะเลของภูมิภาคอาเซียนน แต่การศึกษาก็ค้นพบเพียงน้อยนิด เมื่อเทียงกับทรัพยากรของทะเลแห่งนี้ ทะเลอาเซียนเป้นบริเวณที่มีความหลากหบายองสิ่งมีชีวิตในแนวประการับสูงสุด สิ่งมีชีวิตในบริเวณนี้มีจำนวนชนิดมากกว่าสิ่งมีชีวิตในแนวประการรังเขตอื่นไดในโลกรวมกัน ..เกาะต่างๆ ไม่ฃต่ำกว่า 3,000 เกาะที่ไม่เคยมีมนุษย์อาศัยอยู่ และทะเลที่ลึกเป็นอันดับสามของโก ที่ร่องลึกฟิลิปปินส์ โดยความลึกสูงสุดถึง 10,540 ซึ่งสามารหย่อนภูเขาเอเวอเรสต์ลงไปได้ทั้งหมด ความลึกลับของทะเลอาเซียนจึงมีมนต์ขลังรอการพิสูจน์...(www.etatjournal.com/.., อาเซียนมีทะเลยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก)
ประชาคมอาเซียนกับความร่่วมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเล ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางทะเลนั้น ใน APSC Biueprint ได้กำหนดให้มีการส่งเสริมความร่วมมือทางทะเลที่ได้กำหนดไว้ประกอบด้วย
1) การจัดตั้งเวทการประชุมหารือเรื่องความร่วมือ เพื่อความมั่นคงทางทะเลของอาเซียน
2) การประยุกต์ใช้แนวทางอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะประเด็นเรื่องความปลอดภัยในการเดินเรือและความมั่นคงในภูมิภาค
3) การรวบรวมประเด็นความมั่นคงทางทะเล และระบุความร่วมือทางทะเลร่วมกันของสมาชิกอาเซีย
4) ส่งเสริมความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางทะเล การค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ผ่านกิจกรรมต่าง ๆเช่น การแลกเปลี่ยนข้อมุลข่าวสาร ความร่วมมือด้านเทคโนโลยี และการและเปลี่ยนการเยือนระหว่างเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (ประชาคมอาเซียน 2558 (2015) : ความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางทะเล, นาวาเอ ภุชงค์ ประดิษฐธีระ)
แผนแม่บทและความเป็นไปได้ในการจัดตั้งโครงข่ายเชื่อมโยงบริการเรือ RO/ROและการเดินเรือระยะสั้นในอาเซียน
ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศญี่ปุ่นที่ปรกษาโครงการศึกษาแผนแม่บทและความเป้นไปได้ในการจัดตั้งโครงข่ายเชื่อมโยงบริการเรือและการเดินเรือระยะสั้นในอาเซียน ภายใต้แผนปฏิบัติการบรูไน ได้ทำารศักษาให้กับอาเซียนภายใต้แผนงานการเชื่อโยงของอาเซียน
กองกิจกรรมระหว่างประเทศ ในฐานะผู้ประสานงานได้รับฟังงานศึกษาและความก้าวหน้าของโครงการสรุปได้ดังนี้
1) การศึกษาการเดินเรือ RO-RO
- การณีของการเดินเรือสามประเทศ คือ ญี่ปุ่น เกาหลี และจีนพบว่าการขนส่งโดยเรือยังคงเป็นเรือที่ให้บริการเป็นจำนวนมากในการเดินเรือของเอเซีย อย่างไรก็ตาม การเดินเรือ RO-RO ได้ขยายเครือข่ายเพิ่มมากขึ้นเป็น 21 เส้นทาง (จีน-เกาหลี 15 เส้นทาง, ญี่ปุ่น-จีน 6 เส้นทางและญี่ปุ่น-เกาหลี % เส้นทาง) ซึงทั้ง 3 ประเทศได้ใช้ความพยายามในการใช้ chassis ร่วมกัน และการยอรับร่วมกันสำหรับผุ้ให้บริการหลักๆ
- กรณีของสหภาพยุโรป ส่วนหนึ่งของความสำเร็จในการเดินเรือระหว่างกันคือ ขั้นตอน CIQ ที่เรียบง่าย สินค้าที่เหมาะสมและเพียงพอในการเดินเรือ และเงื่อนไขของสภาพทางภูมิศาสตร์ ซึ่งในยุโรปมีเส้นทางเดินเรือจำนวนมากถึง 98 เส้นทาง ทั้งในทะเลบอลติก ทะเลเหนือ ช่องแคบโดเวอร์ และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเส้นทางที่เชื่อมยุโรปและอัฟริการเหนือ การขนส่งภายใน EU เป็น Quasi-domestic จึงต้องมีนโยบายการขนส่งร่วมกันเป็นในทิศทางเดียวกันและเาียบง่ายส่งผลต่อประสิทธิภาพของโลจิสติกส์ โดยเฉพาะที่ประเทศน้นสัดส่วนการใช้บริการเดินเรือต่อการขนส่งสินค้าทางทะเลทั้งหมดมากราวร้อยละแปดสิบ
2) กฎ ระเบียบ และกรอบของกฎหมายสำหรับการพัฒนาการเดินเรือ RO-RO
- การศึกษาของผู้เชี่ยวชาญจากญี่ปุ่นได้รลงพื้นที่สำรวจประเทศสมาชิกอาเซียน ในด้านสถาบันและกฎหมายทราบว่าความพร้อมในการพัฒนาการเดินเรือในมุมมองด้านดังกล่าวขึ้นอยู่กับระดับของการดำเนินการของประเทศสมาชิก เรือง การ accession/ratification/enforcement ความตกลงในระดับสกล ระดับภูมิภาค ระดับอนุภูมิภาคและทวิภาคีว่าด้วยการขน่วทางทะเลและทางบก ตลอดจนถึงระดับความซับซ้อนเรื่องพิธีการเข้าพรมแดน
- การปรชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหวว่างประเทศสมาชิก เห็นว่ากฎ ระเบียบและกรอบของกฎหมายเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการเดินเรือ และที่ประชุมได้ตระหนักอย่างยิ่งว่าความตกลงที่เกี่ยวข้องกับการอำนวยความสะดวกการขนส่งของอาเชียนที่ครอบคลุมการขนถ่ายสินค้าผ่านแดนและการขนส่งระหว่างและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ จะเป็นแนวทางและนำไปสู่การปฏิบัติในหลักการ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เป็นข้อติดขัดด้านกรอบกฎหมายที่เป็นอุปสรรคการเดินเรือ
3) โครงสร้างพ้นฐานรองรับการพัฒนาการเดินเรือ RO-RO
นอกจากผู้เชียวชาญฯ จะได้นำเสนอปัจจัยในการคัดเลือกเส้นทาง ประเภทและขนาดเรือ การพัฒนาท่าเที่ยบเรือ และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงความร่วมมือกรอบกฎหมาย การให้บริการ CIQs ที่มีประสิทธิภาพ กฎ ระเบียบที่เอื้ออำนวยต่อการสนับสนุนแผนการลงทุนและแผนการตลาดของผุ้ประกบอการเดินเรือ มาตรการในการกสร้างบรรยากาศการทำธุรกิจที่เหมาะสมในการเดินเรือสำหรับเส้นทางเดินเรือง ผุ้เชียวชาญฯยังได้เสอนว่าการเตรียมการสำหรับโครงสร้างพื้นฐานในเส้นทาง Priority Routes ได้แก่ พัฒนาท่าเทียบเรือนในเส้นทางดักล่าว โดยปรับปรุงท่าเทียบเรือที่มีอยู่เดิมให้สามารถรองรับเรือระหว่างประเทศ จัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกในทาเรือ การเชื่อต่อเข้าถึงถนน ทางด่วนพิเศษ แระทางหลวงอาเซียน และปรับปรุงการเชื่อมโยงพื้นที่หลังท่าเชื่อมโยงกับท่าเทียบเรือ
นอกจากนี้ แผนการเงินเพื่อจัดหาเรือ การวิเคราะห์ด้านการตลาดและอุปสงค์ และบทบาทของภาครัฐในการสนับสนุนธุรกิจเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้้การเดินเรืออาเวียน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ ตามแผนในการจัดทำเครือข่ายเดินเรือ ภายในปี พ.ศ. 2558 (แผนแม่บทและความเป็นได้ในการจัดตั้งโครงข่ายเชื่อมโยงบริการเรือRO/RO และการเดินเรือระยะสั่นในอาเซียน, กองกิจการระหว่างประเทศ,ความร่วมมือระหว่างประเทศ)
การขนส่งด้วยเรือ Ro-Ro หรือ Roll-on Roll-off เป็นการขนส่งยานพาหนะหรือสินค้า โดยนำมาวางบนล้อเลื่อนเพื่อขนขึ้นเรือ Roll-on และลงเรือ Roll-off สามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภทขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทสินค้าที่ขขนส่ง เช่น เรือที่ออกแบบมาเพื่อขนส่งรถยนต์ รถบรรทุก หรือสินค้าเพียงอย่างเดียว และ เรือลุกผสมรอบรัดบการขนส่งสินค้าและผุ้โดยสารในคราวเดียวกัน ทั่งนี้ การขนส่งด้วยเรือ Ro-Ro เร่ิมมีบทบาทสำคัญมากยิ่งขึ้นในอาเวียน โดยอาเวียนได้บรรจุโครงข่ายการเดินเรือ โร-โร และการเดินเรือระยะส้น ไว้ในแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อดยงระหว่างกันของอาเซียน และอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของการเดินเรือ โร-โร ในหลายเส้นทาง
ปัจจุบันมีเอกชนทั้งไทยและต่างผระเทศหลบายรายแสดงความสนใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว เพนื่องจากเล็งเห็นศักยภาพในกาขนส่งสินค้าด้วยเรือประเภทดังกล่าว EIC มองเห็นว่าการขนส่งด้วยเรือ โร-โรมีศักยภาพในหลายๆ ด้าน โดยเฉาพในด้านการขนส่งเพื่อรองรับเส้นทางระยะสั้น อีกทั้งยังช่วยร่นเวลาในการขนส่งได้อย่างมีนัยสำคัญ จากกรณีศึกษาของต่างประเทศที่มีการใช้เรือ โร-โร มักใช้ขนส่งสินค้าเร่งด่วน และรอบรับเส้นทางขนส่งระยะสั้นไม่เกิน 300 ไมล์ทะเล เพื่อไม่ให้ทัซ้อนกับเส้นทางการขนส่งหลักขอเรือบรรทุกคอนเทนเนอร์
การขนส่งในลักษณะดังกล่าวตอบโจทย์ของอาเซียนที่มีความต้องการขนส่งสินค้าระหว่างกันมากขึ้น โดยมูลค่าการค้าภายในภูมิภาคอาเซียนในช่วง 5 ปีที่ผ่านมามีอัตราการเติบโตสูงขึ้นกว่า 8% ต่อปี นอกจากนี้ประเทศในอาเซียนยังมีความต้องการขนส่งสินค้าในเส้นทางใกล้ๆ เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย..(posttoday.com/.., "เจาะธุรกิจเดินเรือ Ro-Roในตลาดอาเซียน", บทวิเคราะห์อาเซียน โดย ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจธนาคารไทยพาณิชย์ EIC)
วันอังคารที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2560
Republik Indonesia III (Budi Utom)
ก่อนคริสตกาลประมาณ 3,000-5,000ปี ชาวมาเลย์สายมองโกลอด์จากจีนตอนใต้ ยูนาน และตังเกี๋ย อพยพเข้ามาในอินโดนิเซีย ได้นำวัฒนธรรมของยุคหินใหม่ ยุคพรอนซ์ รวมทั้งภาาออสโตรนีเซีย เข้ามาในอินโดนิเซีย รวมตลอดถึงในฟิลิปปินส์ด้วย เข้ามาอยู่อาศัยและแต่งงานกับชาวพื้นเมือง สอนวิธีปลูกข้าว สร้างที่พักอาศัย และวิธีการปั้นหม้อ และทอผ้า รวมทั้งการหาเลี้ยงชีพ และการผจญภัยในทะเล พวกเขาเหล่านี้มีความสามารในการเกิเรือ และสามารถแล่นเรือออกไปไกลถึงหมู่เกาะมาดากัสการ์ ทางทิศตะวันตก และเกาะอีเจี๋นย โปลีนีเซียตลอจนหมู่เกาะต่างๆ ทางทิศตะวันออก
ช่วงคริสตศตวรรษแรกมีการติดต่อค้าขายระหว่างจีนตอนใต้กับหมู่เกาะอินโดนิเซีย ชาวฮินดูจากอินเดียตะวันออกเฉียงใต้ อพยพเข้ามาในอินโดนีเซีย และนำภาษาสันสกฤต และภาษาปัลวะ เข้ามเผยแพร่ซึ่งต่อมาได้วิวัฒนาการเป็นภาษา ชวาเก่า ชวาใหม่ และอักษรอินโดนิเซียอื่นๆ การหลังไหลเข้ามาในอินโดนิเซียของชาวฮินดู ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องกระคริสตศตวรรษที่ 7 ทำให้อิทธิพล และความเชื่อถือในลัทธิต่างๆ ได้ขยายวงกว้างออกไปโดยเฉพาะในหมู่ชนชั้นสูง ซึ่งในที่สุดได้ปสมปสานกลืนกลายเป็วัฒนธรรมประจำชาติ วัฒนธรรมส่วนใหญ่ที่ชาวอินโดได้รับจากชาวฮินดู ได้แก่ สถาปัตยกรรมการปันรูป วรรณคดี คนตรี นาฏศิลป์ และการเล่นพื้นบ้าน ซึงอยู่ในบาลีและลอมบอร์กตะวันตก
พ.ศ.643-743 พุทธศษสนาฝ่ายมหายาน และฝ่ายเถรวาท จากอินเดียได้เริ่มเผยแผ่ดข้ามาในอินโดนิเซีย ในระยะแรกๆ ไม่ได้รับความสนใจกระทั้งสมัยอาณาจักรศรีวิชัย พุทธศาสนาจึงได้รุ่งเรืองมากขึ้น ในปี พ.ศ.1215 โดยมีศูนย์กลางที่เมืองเลมบังในเกาะสุมาตรา และชวาตอนกลาง และเร่ิมเสื่อมลงเมื่อสิ้นสุดอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัย
พ.ศ.1389 ชาวอาหรับได้เดินทางมาถึงสุมาตรา ครั้งแรกเป็นพวกพ่อค้า กระทั้ง ปีพ.ศ. 1493 พ่อค้าเหล่านี้ได้นำศาสนาอิสลามาเผยแพร่ โดยในระยะแรกตั้งศูรย์กลางเผยแพร่ศสนาขึ้นทางตอนเหนือของเกาสุมาตรา จากนั้นจึงขยายออกไปทั่วประเทศ
สมัยอาณาจักรมอสเลม เมื่ออาณาจักรฮินดูเริ่มตกต่ำระหว่างปี พ.ศ.2050-2063 อาณาจักรมอสเลมก็เริ่มรุ่งเรืองขึ้นในชวาตอนกลาง สุมาตรา สุลาเวสี กาลิมันตัน จนถึงอิเรียนตะวันตก และมีผลให้ภาษามาเลย์ซึ่งชาวมุสลิมบริเวณนี้ใช้อยู่ได้แพร่ขยายออำปและกลายเป็นภาษาประจำชาติของอินโดนีเซียในระยะนั้นด้วย
เมืองจาการ์ตายังเป็นเมืองเล็กๆ บนเกาะชวา มีชื่อว่าซุนดาเคลาปา ต่อมาเมืองนี้ได้ถูกนายพลฟามาเตอีนแห่งอาณาจักรเดมัด ยึดได้ จึงให้เปลี่ยนชื่อเป็น "จาการ์ตา" ซึ่งหมาขถึงสถานที่แห่งชัยชนะ ซึ่งเป็นชัยชนะต่อชาวโปตุเกส
พ.ศ. 2164 ฮอลแลด์ได้เข้ามายึดครองอินโดนีเซีย อินโดนนีเซียตกอยู่ในฐานะอาณานิคมของฮอลเลแนด์(ฮอลแลนด์ตั้งบริษัท United Dutch East India Company)เมื่อปี พ.ศ.2145) การทำสงครามต่อต้านฮอลแลนด์ได้เริ่มขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2209 โดยสุลต่านฮานุดดิแห่งโกลา แต่ประสบความล้มเหลว และต้องเซ็นสัญญายอมแพ้ในปี พ.ศ. 2310 ในปี พ.ศ.2233-2367 บริษัท ส่งทหารเข้าควบคุมหมู่เกาะโมลุกัส (มาลูกู) เพื่อเข้าควบคุมการค้าเครื่องเทศในระยะเวลาเดียวกันได้ปรากฎมีชาวอังกฤษเข้ามาตั้งถ่ินฐานอยู่ในเมืองเบวกูเลน นนฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตรา และได้มีการสร้างป้อมค่ายขึ้น ในระยะนี้ชาวอังกฟษยังไม่มีบทบามมากนัก ในปี พ.ศ. 2283 ชาวจีนที่อาศัยอยูในจากการ์ตาได้ทำการต่อต้านชาวดัตช์เนื่องจากไม่พอใจที่ถูกเอารัดเอเปรียบทั้งในด้านเศรษฐกิจ และในด้านอื่นๆ ชาวอินโดนีเซียได้เข้าร่วมในการต่อต้านครั้งนี้ด้วย แต่ไม่สามารถเอาชนะได้ เป็นผลให้ชาวจีนถูกชาวดัทช์สังหารมากกว่าหมื่นคน
การเข้าปกครองของอังกฤษ ในระหว่างรัชสมัยของนโปเลีย โบนาบาร์ด ฝรังเศสได้เข้าครอบครองฮอลแลนด์ บริษัท British East Company จึงได้เข้าปกครองอินโดนีเซียแทน (พ.ศ. 2358-2359) เมื่อนโปเลียนสิ้นอำนาจอินโดนีเซียก็กลับไปเป็นอาณานิคมของออลแลนด์อีกครั้ง การปราบปรามของฮอลแลนด์หลายครั้งนั
นับตั้งแต่อินโดนีเซียตกอยู่ภายใต้การปกครองของฮอลแลนด์ ชาวอินโดนีเซียได้ลุกขึ้นต่อต้านการปกครองของฮอลแลนด์หลายครั้ง แต่ไม่สามารถเอาชนะได้ มีการจัดตั้งสมาคม Budi Utom (ความบากบั่นอันสูงส่ง) ขึ้นในปี 2451 โดยร่วมกันก่อตั้งพรรคกากรเมืองขึ้นหลายพรรค เพื่อเป็นข้อต่อรองในการเรียกร้องเอกราชจากฮอลแลนด์ ปี พ.ศ.กลุ่มนักศึกษา ได้ตั้งสมาคมนักศักษาอินโดนีเซีย โดยมี ดร.โมฮัมหมัดอัตตาเป็นหัวหน้า ได้จัดตั้งองค์การสหพันธ์ โดยรวมพรรคการเมืองของอินโดนีเซียทั้งหมดเข้าด้วยกันในปีเดียวกัน ดร.ซูการ์โน และบุคคลชั้นน้ำอีกหลายคนได้ร่วมกันจัดตั้งพรรคชาตินิยมอินโดนีเซียขึ้น และใช้ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียเป็นภาษากลางในกาติดต่อ ประสานงสานสนับสนนุนโยบายที่จะไม่ให้ความร่วมมือใดๆ แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของฮอลแลนด์ การเคลื่อหไหวดังกล่าวได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางในกลุ่มเยาวชนและทำให้เกิดองค์การยุวชนขึ้นในท้องถ่ินต่างๆ
ในระหว่างสงครามมหาเอเซียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองอินโดนีเซียในระหว่างปี พ.ศ. 2485-2487 กองทัพญี่ปุ่นพยายามเอาใจชาวอินโดนีเซียด้ยวยการปล่อยตัวผุ้นำทางการเมืองที่ถูกทางการฮอนแลนด์คุมขัง และเมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามในปี พ.ศ. 2488 ญี่ปุ่นไดเ้เปิดโดกาศให้ชาวอินโดนีเซียในการนพของ ดร.ซูการ์โน และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา ประกาศอิสระภาพของอินโดนีเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2488 พร้อมกับประกาศหลักการแห่งรัฐห้าประการ(ปัญจศีล)..
อินโดนีเซียได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับแรก เมื่อปี พ.ศ. 2488 และได้เลือกตั้ง ดร.ซูการ์โน เป้นประธานาธิบดี และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา เป็นรองประธานาธิบดีหลังจากที่ได้ประกาศอิสระภาพได้ไม่นาน ฮอลแลนด์พยายามกลับเข้ายึดคีองอินโดนีเซียอีก ทำให้เกิดการสู้รบอย่างรุนแรงบนเกาะสุมาตรา เหตุจากการนองเลือดดังกล่าว อินโดนีเซียจึงประกาศใช้นโยบายสันติและเป็นมิตรกับทุกประเทศ และแสวงหาการสนับสนุนจากอังกฤษ และตกลงเซ็นสัญญาโดยฮอนแลนด์ยอมรับรองอธิปไตยของอินโดนีเซียเหนือเกาะชวา มาดุราและสุมาตรา แต่ฮอนแลนด์ไม่ยอมปฏิบัติตามสัญญา กลับสงทหารเข้ายึดครองอินโดนีเซีย และจับกุมประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีไปควบคุมตัวไว้ในปี พ.ศ. 2492 ประเทศในเอเซียรวม 19 ประเทศ ได้ร่วมประชุมกันที่กรุงนิวเดลฮี เพื่อเรียกร้องให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ บังคับให้ฮอลแลนด์ ปล่อยตัวนักโทษการเมือง ของอินโดนีเซียทั้งหมด และมอบอธิปไตยให้อินโดนีเซีย ภายในปี พ.ศ.2493 สหประชาชาติได้ตกลงให้มีการหยุดยิงในอินโดนีเซีย และให้ฮอลแลนด์ ปล่อยตัวนักโทษการเมือง ของอินโดนีเซียทั้งหมด และมอบอธิปไตยให้อินโดนีเซีย ภายในปี พ.ศ. 2493 สหประชาชาติได้ตกลงให้มีการหยุดยิงในอินโดนีเซีย และให้ฮอลแลนด์ปล่อยตัวผุ้นำทางการเมืองทั้งหมด กับจัดให้มีการประชุมขึ้นที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2492 จากการประชุมครั้งนั้น ทำให้อินโดนีเซีย ได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ เมื่อ 27 ธันวาคม 2492 ยกเว้นเกาะอิเรียนตะวันตก ยังคงอยู่ในการปกครองของเนเธร์แลนด์
ช่วงคริสตศตวรรษแรกมีการติดต่อค้าขายระหว่างจีนตอนใต้กับหมู่เกาะอินโดนิเซีย ชาวฮินดูจากอินเดียตะวันออกเฉียงใต้ อพยพเข้ามาในอินโดนีเซีย และนำภาษาสันสกฤต และภาษาปัลวะ เข้ามเผยแพร่ซึ่งต่อมาได้วิวัฒนาการเป็นภาษา ชวาเก่า ชวาใหม่ และอักษรอินโดนิเซียอื่นๆ การหลังไหลเข้ามาในอินโดนิเซียของชาวฮินดู ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องกระคริสตศตวรรษที่ 7 ทำให้อิทธิพล และความเชื่อถือในลัทธิต่างๆ ได้ขยายวงกว้างออกไปโดยเฉพาะในหมู่ชนชั้นสูง ซึ่งในที่สุดได้ปสมปสานกลืนกลายเป็วัฒนธรรมประจำชาติ วัฒนธรรมส่วนใหญ่ที่ชาวอินโดได้รับจากชาวฮินดู ได้แก่ สถาปัตยกรรมการปันรูป วรรณคดี คนตรี นาฏศิลป์ และการเล่นพื้นบ้าน ซึงอยู่ในบาลีและลอมบอร์กตะวันตก
พ.ศ.643-743 พุทธศษสนาฝ่ายมหายาน และฝ่ายเถรวาท จากอินเดียได้เริ่มเผยแผ่ดข้ามาในอินโดนิเซีย ในระยะแรกๆ ไม่ได้รับความสนใจกระทั้งสมัยอาณาจักรศรีวิชัย พุทธศาสนาจึงได้รุ่งเรืองมากขึ้น ในปี พ.ศ.1215 โดยมีศูนย์กลางที่เมืองเลมบังในเกาะสุมาตรา และชวาตอนกลาง และเร่ิมเสื่อมลงเมื่อสิ้นสุดอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัย
พ.ศ.1389 ชาวอาหรับได้เดินทางมาถึงสุมาตรา ครั้งแรกเป็นพวกพ่อค้า กระทั้ง ปีพ.ศ. 1493 พ่อค้าเหล่านี้ได้นำศาสนาอิสลามาเผยแพร่ โดยในระยะแรกตั้งศูรย์กลางเผยแพร่ศสนาขึ้นทางตอนเหนือของเกาสุมาตรา จากนั้นจึงขยายออกไปทั่วประเทศ
สมัยอาณาจักรมอสเลม เมื่ออาณาจักรฮินดูเริ่มตกต่ำระหว่างปี พ.ศ.2050-2063 อาณาจักรมอสเลมก็เริ่มรุ่งเรืองขึ้นในชวาตอนกลาง สุมาตรา สุลาเวสี กาลิมันตัน จนถึงอิเรียนตะวันตก และมีผลให้ภาษามาเลย์ซึ่งชาวมุสลิมบริเวณนี้ใช้อยู่ได้แพร่ขยายออำปและกลายเป็นภาษาประจำชาติของอินโดนีเซียในระยะนั้นด้วย
เมืองจาการ์ตายังเป็นเมืองเล็กๆ บนเกาะชวา มีชื่อว่าซุนดาเคลาปา ต่อมาเมืองนี้ได้ถูกนายพลฟามาเตอีนแห่งอาณาจักรเดมัด ยึดได้ จึงให้เปลี่ยนชื่อเป็น "จาการ์ตา" ซึ่งหมาขถึงสถานที่แห่งชัยชนะ ซึ่งเป็นชัยชนะต่อชาวโปตุเกส
พ.ศ. 2164 ฮอลแลด์ได้เข้ามายึดครองอินโดนีเซีย อินโดนนีเซียตกอยู่ในฐานะอาณานิคมของฮอลเลแนด์(ฮอลแลนด์ตั้งบริษัท United Dutch East India Company)เมื่อปี พ.ศ.2145) การทำสงครามต่อต้านฮอลแลนด์ได้เริ่มขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2209 โดยสุลต่านฮานุดดิแห่งโกลา แต่ประสบความล้มเหลว และต้องเซ็นสัญญายอมแพ้ในปี พ.ศ. 2310 ในปี พ.ศ.2233-2367 บริษัท ส่งทหารเข้าควบคุมหมู่เกาะโมลุกัส (มาลูกู) เพื่อเข้าควบคุมการค้าเครื่องเทศในระยะเวลาเดียวกันได้ปรากฎมีชาวอังกฤษเข้ามาตั้งถ่ินฐานอยู่ในเมืองเบวกูเลน นนฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตรา และได้มีการสร้างป้อมค่ายขึ้น ในระยะนี้ชาวอังกฟษยังไม่มีบทบามมากนัก ในปี พ.ศ. 2283 ชาวจีนที่อาศัยอยูในจากการ์ตาได้ทำการต่อต้านชาวดัตช์เนื่องจากไม่พอใจที่ถูกเอารัดเอเปรียบทั้งในด้านเศรษฐกิจ และในด้านอื่นๆ ชาวอินโดนีเซียได้เข้าร่วมในการต่อต้านครั้งนี้ด้วย แต่ไม่สามารถเอาชนะได้ เป็นผลให้ชาวจีนถูกชาวดัทช์สังหารมากกว่าหมื่นคน
นับตั้งแต่อินโดนีเซียตกอยู่ภายใต้การปกครองของฮอลแลนด์ ชาวอินโดนีเซียได้ลุกขึ้นต่อต้านการปกครองของฮอลแลนด์หลายครั้ง แต่ไม่สามารถเอาชนะได้ มีการจัดตั้งสมาคม Budi Utom (ความบากบั่นอันสูงส่ง) ขึ้นในปี 2451 โดยร่วมกันก่อตั้งพรรคกากรเมืองขึ้นหลายพรรค เพื่อเป็นข้อต่อรองในการเรียกร้องเอกราชจากฮอลแลนด์ ปี พ.ศ.กลุ่มนักศึกษา ได้ตั้งสมาคมนักศักษาอินโดนีเซีย โดยมี ดร.โมฮัมหมัดอัตตาเป็นหัวหน้า ได้จัดตั้งองค์การสหพันธ์ โดยรวมพรรคการเมืองของอินโดนีเซียทั้งหมดเข้าด้วยกันในปีเดียวกัน ดร.ซูการ์โน และบุคคลชั้นน้ำอีกหลายคนได้ร่วมกันจัดตั้งพรรคชาตินิยมอินโดนีเซียขึ้น และใช้ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียเป็นภาษากลางในกาติดต่อ ประสานงสานสนับสนนุนโยบายที่จะไม่ให้ความร่วมมือใดๆ แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของฮอลแลนด์ การเคลื่อหไหวดังกล่าวได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางในกลุ่มเยาวชนและทำให้เกิดองค์การยุวชนขึ้นในท้องถ่ินต่างๆ
ในระหว่างสงครามมหาเอเซียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองอินโดนีเซียในระหว่างปี พ.ศ. 2485-2487 กองทัพญี่ปุ่นพยายามเอาใจชาวอินโดนีเซียด้ยวยการปล่อยตัวผุ้นำทางการเมืองที่ถูกทางการฮอนแลนด์คุมขัง และเมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามในปี พ.ศ. 2488 ญี่ปุ่นไดเ้เปิดโดกาศให้ชาวอินโดนีเซียในการนพของ ดร.ซูการ์โน และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา ประกาศอิสระภาพของอินโดนีเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2488 พร้อมกับประกาศหลักการแห่งรัฐห้าประการ(ปัญจศีล)..
อินโดนีเซียได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับแรก เมื่อปี พ.ศ. 2488 และได้เลือกตั้ง ดร.ซูการ์โน เป้นประธานาธิบดี และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา เป็นรองประธานาธิบดีหลังจากที่ได้ประกาศอิสระภาพได้ไม่นาน ฮอลแลนด์พยายามกลับเข้ายึดคีองอินโดนีเซียอีก ทำให้เกิดการสู้รบอย่างรุนแรงบนเกาะสุมาตรา เหตุจากการนองเลือดดังกล่าว อินโดนีเซียจึงประกาศใช้นโยบายสันติและเป็นมิตรกับทุกประเทศ และแสวงหาการสนับสนุนจากอังกฤษ และตกลงเซ็นสัญญาโดยฮอนแลนด์ยอมรับรองอธิปไตยของอินโดนีเซียเหนือเกาะชวา มาดุราและสุมาตรา แต่ฮอนแลนด์ไม่ยอมปฏิบัติตามสัญญา กลับสงทหารเข้ายึดครองอินโดนีเซีย และจับกุมประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีไปควบคุมตัวไว้ในปี พ.ศ. 2492 ประเทศในเอเซียรวม 19 ประเทศ ได้ร่วมประชุมกันที่กรุงนิวเดลฮี เพื่อเรียกร้องให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ บังคับให้ฮอลแลนด์ ปล่อยตัวนักโทษการเมือง ของอินโดนีเซียทั้งหมด และมอบอธิปไตยให้อินโดนีเซีย ภายในปี พ.ศ.2493 สหประชาชาติได้ตกลงให้มีการหยุดยิงในอินโดนีเซีย และให้ฮอลแลนด์ ปล่อยตัวนักโทษการเมือง ของอินโดนีเซียทั้งหมด และมอบอธิปไตยให้อินโดนีเซีย ภายในปี พ.ศ. 2493 สหประชาชาติได้ตกลงให้มีการหยุดยิงในอินโดนีเซีย และให้ฮอลแลนด์ปล่อยตัวผุ้นำทางการเมืองทั้งหมด กับจัดให้มีการประชุมขึ้นที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2492 จากการประชุมครั้งนั้น ทำให้อินโดนีเซีย ได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ เมื่อ 27 ธันวาคม 2492 ยกเว้นเกาะอิเรียนตะวันตก ยังคงอยู่ในการปกครองของเนเธร์แลนด์
Lee Kuan Yew
สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายู ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกษ และเกาะอูจงในภาษามลาู และเกาะที่เล็กกว่ามาอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยปจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเชียโดยช่องแคบสิงคโปร์ ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะเป็นแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายออย่างต่อเนื่องโดยากรแปรสภาพที่ดิน
หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และ่ต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน ค.ศ. 1819 โดยเซอร์สแตมฟอร์ด รัฟเฟิลส์ เป็นสถานี้การค้าของบริษัทอินเดียตะวันออกโดยการอนุญาตจากรัฐสุลต่านยะฮอร์ อังกฤษได้อธิปไตยเหนือเกาะใน ค.ศ. 1824 และสิงคโปร์กลายเป็นหนึ่งในอาณานิคมช่องแคบอังกฤษใน ค.ศ. 1826 หลังถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สิงคโปร์ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี 1963 และเข้าร่วมกับอดีตดินแดนของอังกฤษอื่นเพื่อตั้งประเทศมาเลเซีย แต่ต้องแยกตัวออกมาอีกเนื่องจากมีการเหยีดชนชาติ อีกสองปีต่อมาผ่านพระราชบัญญัติโดยเอกฉันท์ นับแต่นั้น ประเทศสิงค์โปร์พัฒนาอย่างรวดเร็ว จนไดรับการรับรองว่าเป็นหนึ่งสี่เสือแห่งเอเซีย (wikipedia .th.org/...ประเทศสิงคโปร์)
ลี กวนยู เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีาิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป้นเวลาสามทศวรรษ เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นบิดผู้ก่อตั้งประเทศสิงคโปร์สมัยใหม่ เขาเป็นผุ้ร่วมก่อตั้งและเป็นเลขาธิการพรรคกิจประชาชน คนแรก และนำพรรคชนะการเลือกตั้งแปดครั้งและควบคุมการแยกสิงคโปร์จาประเทศมาเลเซีย และแปลงจากด่านอาณานิคมค่อนข้งอ้อยพัฒนาซึ่งไม่มีทรัพยากรธรรมชาติสู่การเป็นเสือและก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วตามลำดับ
นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่สอง โก๊ะ จ๊กตง แต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีอาวุโสในปี 1995 เขดำรงตำแหน่างที่ปรึกษารัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ที่ตั้งแต่งเขาเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี นาย ลี เซียนลุง ด้วยการดำรงตำ
แน่างรัฐมนตรีติดต่อกันเป็นเวลากว่า 50 ปีของเขา ทำให้เป็นรัฐมนตรีที่รับราชการนานที่สุดใประวัติศาสตร์คนหนึ่ง เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2554 ลี และ โก๊ะ ประกาศเกษียณจากคณะรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี 2554 แต่ลียังคงเป็นสมาชิกรัฐสภา ลี กวน ยู ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558 ด้วยโรคปอดบวม( wikipedia.th.org./...ลี กวนยู)
..จริงๆ แล้วสิงคโปร์เป็นประเทศประชาธิปไตย มีการเลือกตั้งตอลดมาแต่ก็มีการจำกัดสิทธิเสรีภาพมากมาย ฝ่ายคต้านถูกกีดกันสื่อมวลชนถูกควบคุมเข้มงวด จนถือกันทั่วไปว่าลี กวน ยูเป็นเผด็จการ แต่ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น "เผด็จการผู้ทรงคุณ" สิงคโปร์ภายใต้การนำของ ลี กวน ยู ได้ชื่อว่าเป็นประเทศเดียวในโลกที่สามารถพัฒนาจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนาไปสุ่ประเทศพัฒนาแล้ว ได้ภายในหนึ่งช่วงอายุคน เมื่อได้รับเอกราช และแยกตัวออกมาจากมาเลเซีย สิงคโปร์มีจีดีพีต่อหัวอยู่ที่ 516 ดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งก็มีรายได้มากที่สุดในอาเซียนแต่ก็ยังเป็นประเทศที่ยากจนอยู่ เพราะสหรัฐอเมริกปีนั้นค่าจีดีพีต่อหัวต่อคนอยูที่ 3,665 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ประเทศในยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่ก็มีเกิน2,000ดอลล่าร์สหรัฐฯ กว่าห้าสิบปีต่อมา..ในปี พ.ศ.2556 คนสิงคโปร์มีรายได้เฉพลี่ยถึงปีละ 55,182 ดอลล่าร์สหรัฐฯ แซงอเมริกาที่มีรายได้ต่อหัว 53,042 สูงกว่าอินโดนีเซียห้าเท่า และสูงกว่าไทยสิบเท่า
เป็นที่ชัดเจนว่า ลี กวนยู ให้ความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นเป้าหมายอันดับหนึ่ง โดยเชื่อว่าถ้าเศรษฐกิจเจริญสิ่งดีๆ อื่นๆ จะตามมาเอง(ทำให้ถูกวิจารณ์มากในเรื่องเสรีภาพ) สิ่งที่ลี กวนยูทำ นอกจากจะใช้ความแข็งกร้าวและกฎเหล็กสร้างวินัย ทำให้มีเสถียรภาพมากโดยเฉพาะด้านการเมืองเรื่องที่ได้รับการยกย่องก็มีอีกมาก เช่น การพัฒนาการศึกษา การปราบคอร์รัปชันอย่างจริงจัง การพัฒนาเทโนโลยี การสร้างเมืองให้เป็นศูนย์กลางทางการเงินและการค้าในภูมิภาคฯลฯ
หลักการที่ ลี กวนยูยึดมั่น และใช้เป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนา ก็คือ หลัการของทุนนิยม(ที่ดี)ไม่ยอมให้มีระบบพรรคพวกนิยม(Cronyism) และมุ่งเนนการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ ซึ่งถึงแม้รัฐบาลยังคงมีกิจการรัฐวิสาหกิจอยุ่ไม่น้อย แต่ทุกแห่งก็ถูกบริหารแบบเอกชน ส่งเสริมให้มีการแข่งขัน ถูกกดดันให้มีประสิทธิภาพระบบราชการก็เช่นเดียวกัน เน้นความมีประสิทธิภาพเป็นสำคัญ ข้าราชการมีรายได้เที่ยบเท่าหรือมากกว่าเอกชน...(thaipublica.ลี กวน ยู: มหาบุรุษผู้สร้างประเทศ ผุ้ยึดมั่นในทุนนิยม และเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ)
หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และ่ต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน ค.ศ. 1819 โดยเซอร์สแตมฟอร์ด รัฟเฟิลส์ เป็นสถานี้การค้าของบริษัทอินเดียตะวันออกโดยการอนุญาตจากรัฐสุลต่านยะฮอร์ อังกฤษได้อธิปไตยเหนือเกาะใน ค.ศ. 1824 และสิงคโปร์กลายเป็นหนึ่งในอาณานิคมช่องแคบอังกฤษใน ค.ศ. 1826 หลังถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สิงคโปร์ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี 1963 และเข้าร่วมกับอดีตดินแดนของอังกฤษอื่นเพื่อตั้งประเทศมาเลเซีย แต่ต้องแยกตัวออกมาอีกเนื่องจากมีการเหยีดชนชาติ อีกสองปีต่อมาผ่านพระราชบัญญัติโดยเอกฉันท์ นับแต่นั้น ประเทศสิงค์โปร์พัฒนาอย่างรวดเร็ว จนไดรับการรับรองว่าเป็นหนึ่งสี่เสือแห่งเอเซีย (wikipedia .th.org/...ประเทศสิงคโปร์)
ลี กวนยู เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีาิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป้นเวลาสามทศวรรษ เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นบิดผู้ก่อตั้งประเทศสิงคโปร์สมัยใหม่ เขาเป็นผุ้ร่วมก่อตั้งและเป็นเลขาธิการพรรคกิจประชาชน คนแรก และนำพรรคชนะการเลือกตั้งแปดครั้งและควบคุมการแยกสิงคโปร์จาประเทศมาเลเซีย และแปลงจากด่านอาณานิคมค่อนข้งอ้อยพัฒนาซึ่งไม่มีทรัพยากรธรรมชาติสู่การเป็นเสือและก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วตามลำดับ
นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่สอง โก๊ะ จ๊กตง แต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีอาวุโสในปี 1995 เขดำรงตำแหน่างที่ปรึกษารัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ที่ตั้งแต่งเขาเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี นาย ลี เซียนลุง ด้วยการดำรงตำ
แน่างรัฐมนตรีติดต่อกันเป็นเวลากว่า 50 ปีของเขา ทำให้เป็นรัฐมนตรีที่รับราชการนานที่สุดใประวัติศาสตร์คนหนึ่ง เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2554 ลี และ โก๊ะ ประกาศเกษียณจากคณะรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี 2554 แต่ลียังคงเป็นสมาชิกรัฐสภา ลี กวน ยู ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558 ด้วยโรคปอดบวม( wikipedia.th.org./...ลี กวนยู)
..จริงๆ แล้วสิงคโปร์เป็นประเทศประชาธิปไตย มีการเลือกตั้งตอลดมาแต่ก็มีการจำกัดสิทธิเสรีภาพมากมาย ฝ่ายคต้านถูกกีดกันสื่อมวลชนถูกควบคุมเข้มงวด จนถือกันทั่วไปว่าลี กวน ยูเป็นเผด็จการ แต่ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น "เผด็จการผู้ทรงคุณ" สิงคโปร์ภายใต้การนำของ ลี กวน ยู ได้ชื่อว่าเป็นประเทศเดียวในโลกที่สามารถพัฒนาจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนาไปสุ่ประเทศพัฒนาแล้ว ได้ภายในหนึ่งช่วงอายุคน เมื่อได้รับเอกราช และแยกตัวออกมาจากมาเลเซีย สิงคโปร์มีจีดีพีต่อหัวอยู่ที่ 516 ดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งก็มีรายได้มากที่สุดในอาเซียนแต่ก็ยังเป็นประเทศที่ยากจนอยู่ เพราะสหรัฐอเมริกปีนั้นค่าจีดีพีต่อหัวต่อคนอยูที่ 3,665 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ประเทศในยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่ก็มีเกิน2,000ดอลล่าร์สหรัฐฯ กว่าห้าสิบปีต่อมา..ในปี พ.ศ.2556 คนสิงคโปร์มีรายได้เฉพลี่ยถึงปีละ 55,182 ดอลล่าร์สหรัฐฯ แซงอเมริกาที่มีรายได้ต่อหัว 53,042 สูงกว่าอินโดนีเซียห้าเท่า และสูงกว่าไทยสิบเท่า
เป็นที่ชัดเจนว่า ลี กวนยู ให้ความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นเป้าหมายอันดับหนึ่ง โดยเชื่อว่าถ้าเศรษฐกิจเจริญสิ่งดีๆ อื่นๆ จะตามมาเอง(ทำให้ถูกวิจารณ์มากในเรื่องเสรีภาพ) สิ่งที่ลี กวนยูทำ นอกจากจะใช้ความแข็งกร้าวและกฎเหล็กสร้างวินัย ทำให้มีเสถียรภาพมากโดยเฉพาะด้านการเมืองเรื่องที่ได้รับการยกย่องก็มีอีกมาก เช่น การพัฒนาการศึกษา การปราบคอร์รัปชันอย่างจริงจัง การพัฒนาเทโนโลยี การสร้างเมืองให้เป็นศูนย์กลางทางการเงินและการค้าในภูมิภาคฯลฯ
หลักการที่ ลี กวนยูยึดมั่น และใช้เป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนา ก็คือ หลัการของทุนนิยม(ที่ดี)ไม่ยอมให้มีระบบพรรคพวกนิยม(Cronyism) และมุ่งเนนการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ ซึ่งถึงแม้รัฐบาลยังคงมีกิจการรัฐวิสาหกิจอยุ่ไม่น้อย แต่ทุกแห่งก็ถูกบริหารแบบเอกชน ส่งเสริมให้มีการแข่งขัน ถูกกดดันให้มีประสิทธิภาพระบบราชการก็เช่นเดียวกัน เน้นความมีประสิทธิภาพเป็นสำคัญ ข้าราชการมีรายได้เที่ยบเท่าหรือมากกว่าเอกชน...(thaipublica.ลี กวน ยู: มหาบุรุษผู้สร้างประเทศ ผุ้ยึดมั่นในทุนนิยม และเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ)
วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560
Battery of ASEAN
พลังงานอาเซียน
พลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของประชาชนและเป็นปัจจัยพื้นฐานการผลิตในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ดังนั้จึงต้องมีกาจัดหาพลังงานให้มีปริมาณที่เีพียงพอ มีระคาที่เหมาะสม และมีคุณภาพที่ดีสอดคล้องกับความต้องการของผุ้ใช้ในภูมิภาคอาเซียนมีแหล่งทรัพยากรต้นพลังงานที่หลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาต ถ่านหินและ ไฮโดว์ โปเทรนเทียล ที่มีศักยภาพในการใช้นำผลิตไฟฟ้าและกระจายอยู่ตามที่ต่างๆ เช่นประเทศริมฝั่งโขง รวมไปถึงบางส่วนของอินโดนีเซีย และรัฐซาราวัคของมาเลเซียจะมีศักยภาพสูงในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ ส่วนทางด้านใต้อุดมไปด้วยแหล่งพลังงานจากน้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซีย มีถ่านหิน น้ำมันและก๊าซธรรมชาติในปริมาณสูงมาก โดยเฉพาะถ่านหินคาดว่าจะสามารถใช้ได้นานถึง 150 ปี ทั้งน้ำมันและถ่านหินสามารถส่งออกทำรายได้ให้ประเทศสูงมาก เป็นผ้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของอาเซียนและเป็นสมาชิกในกลุ่ม OPEC
มาเลเซีย มีแหล่งพลังงานประมาณมากและมีความหลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติและพลังงานน้ำ สามารถผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติไว้ใช้ในประเทศได้อย่างเพียงพอ และเป็นประเทศผุ้ส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติสุทธิ
บรูไน มีน้ำมันและก๋าซธรรมชาติประมาณมาร รายได้หลักมาจากการส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ และเป็นผุ้ผลิตก๊าซ LNG อันดับ 4 ของโลก
เวียดนาม สามารถผลิตน้ำมันดิได้เกินความต้องการ แต่ก็ยังต้องนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปอยู่ เพราะความสามารถในการกลั่นยังไม่สุงพอ ส่วนใหญ่จะส่งไปยังญี่ปุ่น สิงคโปร์ และเกาหลี เวียดนามได้ผลิตก๊าซธรรมชาติสำหรับใช้ภายในประเทศเท่านั้น โดยนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหลัก
ไทย มีก๊าซธรรมชาติมากในอ่าวไทย และมีลิกไนต์มี่แม่เมาะ แต่ยังมีประมาณไม่มากเมื่อเทียบกับอินโดนีเซีย
เมียนมา มีพลังงานน้ำหลายหมื่อเมกะวัตต์ และก็าซธรรมชาติจำนวนมาก ซึ่งส่วนหนึ่งส่งออกมายังประเทศไทยด้วย
ฟิลิปปินส์ มีความหลากหลายของแหล่งพลังงาน เช่น พลังงานน้ำ พลังงานความร้อนใต้พิภพ และพลังชีวมวล
สปป.ลาว มีพลังงานน้ำมากสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 2 หมื่นเมกะวัตต์ นโยบายส่งเสริมการผลิตพลังงาน และมีการพัฒนาแหล่งพลังงานเพื่อการบริโภคภายในประเทศ ในปัจจุบันไฟฟ้าจึงเป็นสินค้าส่งออกหลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของ สปป.ลาว ซึ่งรายได้จากการส่งออกกระแสไฟฟ้าแต่ละปีมีอัตราเฉลี่ยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ที่สำคัญต่อประเทศจนได้ชื่อว่าเป็นแหล่งพลังงานของอาเซียน
กัมพูชา มีแหล่งก๊าซธรรมชาติในบริเวณแหล่งทับซ้อนในอ่าวไทย และมีการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากเวียดนาม ไทยและสิงคโปร์ (ศูนย์ข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์, พลังงานอาเซียน)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลตั้งอยู่ใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ดลอแนวชายแดนล้อมรอบด้วยประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ทิศเหนือจีน ทิศตะวันออก เวียดนาม ทิศใต้ไทยและกัมพูชา และทิศตะวันตกติกดังประเทศไทยและพม่า
ลักษณะภูมิประเทศของลาวอาจแบ่งเป็น
- เขตภูเขาสูง เป็นพืนที่ที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ย 1,500 เมตรขึ้นไป พื้นที่น้อยู่ในเขตภาคเหนือของประเทศ
- เขตที่ราบสูง คือพื้นที่ซึ่งสูงกว่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ย 1,000 เมตร ปรากฎตั้งแต่ทางทิศตะวันออกเฉีงใต้ของที่ราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชา เขตที่ราบสูงนี้มีที่ราบสูงขนาดใหญ่อยู่ 3 แห่ง ได้แก่ ที่ราบสูงเมืองพวน แขวงเชียงขวาง ที่รบสูงนากาย แขวงคำม่วน และที่ราบสูงบริเวณภาคใต้
- เขตที่ราบลุ่ม เป้นเขตที่ราบตามแนวฝั่งแม่น้ำโขงและแม่น้ำต่างๆ เป้นพื้นที่ที่มีความอุดมสมูรณ์มากที่สุดในเขตพื้นที่ทั้ง 3 เขต นับเป็นพื้ีที่อู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญขอ
ประเทศ แนวที่ราบลุ่มเหล่านี้เริ่มปรากฎตั้งแต่บริเวณตอนใต้ของแม่น้ำงึม เรียกว่าที่รบลุ่มเวียงจันทร์ ผ่านที่ราบลุ่มสุวรรณเขต ซึงอยู่ตอนใต้เซบั้งไฟ และดซบั้งเหียง และที่ราบจำปาศักดิ์ทางภาคใต้ของลาว ซึ่งปรากฎตามแนวแม่น้ำโขงเรื่อยไปจนจดชายแดนประเทศกัมพูชา ทั้งนี้ เมื่อนำพื้นที่ของเขตภูเขาสูงและเขตที่ราบสูงมารวมกันแล้ว จะมากถึง 3 ใน 4 ของพื้นที่ประเทศลาวทั้งหมด โดยจุดที่สูงที่สุดของประเทศลาวอยู่ที่ภูเบี้ย ในแขวงเชียงขวาง
ประเทศลาวมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย โดยแม่น้ำซึ่งเป้นสายหัวใจหลัก คือ แม่น้ำโขง ซึ่งไหลผ่านประเทศลาวกว่า 1,835 กิโลเมตร นอกจากจะมีคตวามสำคัญทั้งในด้านการ เกษตร การประมง การผลิตพลังงานไฟฟ้า กาคมนาคมจากลาวเหนือไปจนถึงลาวใต้แล้ว ยังเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศลาวกับประเทศเพื่อนบ้าน และยังมีแม่ส้ำสายสำคัญๆ ของลาวแห่งอื่นๆ อีกได้แก่ แม่น้ำอู แม่น้ำงึม แม่น้ำเซบั้งเหียง แม่น้ำทา แม่น้ำเซกอง แม้น้ำเซบั้งไฟ แม่น้ำแบ่ง แม่น้ำเซโดน แม่น้ำเซละนอง แม่น้ำกะดิ่ง แม่น้ำคาม
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นำประเทศ ซึ่งพรรคนี้เร่ิมมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยมเมื่อ 2 ธันวาคม 2518 (wikipedia.th.org/..สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว)
การพยายามจะเป็น "แบตเตอรี่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"ทำให้เกิดการตื่นตัวของอุตสาหกรรมไฟฟ้าพลังน้ำในลาวเป็นอย่างมาก ความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มมากขึ้นในประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศไทยและเวียดนามประกอบกับนักลงทุนใหม่ๆ จากประเทศไทย จีน รัสเซีย เวียดนาม และมาเลเซียช่วยหนุนให้เกิดากรขยายตัวของอุตสาหกรรมนีเพิ่มมากขึ้นลาวมีรายได้หลักจากการส่งออกพลังงาน อาทิ ไฟฟ้าพลังน้ำของลาว รวมถึงน้ำมันและก๊าซธรรมชาติพองพม่าให้กับจีและอาเซียนลาวมีศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจาพลังน้ำสูงมาก ไทยจึงสนใจที่จะลงทุนก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำและรับซื้อไฟฟ้าจากลาว
ในส่วนของการสร้างเขื่อนการที่ลาวซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทางทะเล และเป้นประเทศที่ยังไม่ได้ทำอะไรมากนักการสร้างเขื้อนกั้นแม่น้ำโขงตรงช่วงที่ทั้งสองฟากฝั่งต่างอยู่ภายในพรมแดนของลาวนั้น จะทำให้เป็นช่องทางสำคัญที่ทำให้มีรายได้เข้าประเทศ
ลาวมีการวางแผนการที่จะสร้างเขื่อนแห่งใหม่ๆ ทอดข้ามตอนล่างของแม่น้ำโขง อันเป็นปม่น้ำสายใหญ่ที่สุดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตาม เวียดนามได้ออกโรงแสดงการคัดค้านความมุ่งมาดปรารถนาในเรื่องเขื่อนไฟฟ้าพลังงานของลาวแล้ว นักวิจารณ์ในเวียดนามกล่าวว่าโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังงานเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจำนวน 1,260 เมกะวัตต์แห่งนี้จะกลายเป็นความหายนะทางสิ่งแวดล้อม(siamintelligence.com./..ตะลุยสำรวจ ขุนทรัพย์พลังงานกลุ่มประเทศ CLMV)
ASEAN Power Grid แนวคิดของอาเซีย เพาเวอร์ กริด ...การเชื่อโยงระบบไฟฟ้าในอาเซียน จึงเป็ฯการรวมพลังของทุกชาติในภูมิภาคนี้ที่จะร่วมกันจัดสรร และใช้ทรัพยากรพลังงานของเราให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุดส่งเสริมแนวคิดการใชพลังงานอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพเพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงานและเศรษฐกิจผลักดันให้อาเซียนพัฒนาทัดเทียมภูมิภาคอื่นของโลก
วิสัยทัศน์อาเซียน 2563 อาเซียน เพาะเวอร์ กริด เกิดขึ้นในการประชุมผุ้นำสูงสุด อย่างไม่เป็นทางการ ที่กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซียเพื่อกำหนดทิศทางใหม่สู่ 2563 ด้วยวิสัยทัสน์อาเซียน 2563
"...การมีส่วนร่วมของกลุ่มประเทศอาเซียน ในการผนึกกำลังกันเพื่อพัฒนาความเจริญ และสร้างความแข้.แกร่งทางด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยหนึ่งในกลยุทธ์หลักด้านพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียนคือ การเชื่อมโยงโครงข่ายระบบพลังงานและสาธารณูปโภคในอาเซียนได้แก่ ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติและน้ำ โดยผ่่านระบบเชื่อมโยงไฟฟ้าอาเซียน ระบบท่อส่งก๊าซและท่อส่งน้ำ รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การอนุรักษณ์พลังงานและการพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ใหม่ได้อีก
ประโยชน์ที่จะได้รับพอสรุปดังนี้คือ เพิ่มความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจในภูมิภาคจากการจัดสรรและใช้ทรัพยากรด้านพลังงานร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด..ถ่ายเทพลังงานระหว่างประเทศ จากการที่เรามีความหลากหลายของทรัพยากรด้านพลังงานในแต่ละพื้นที่...เกิดเครือข่ายเชื่อมโยงทางการสื่อสารรวมถึงการวางท่อก๊าซ อาเซียน เพาะเวอร์ กริด จะให้เกิดประโยชน์ด้านการสื่อสารในภูมิภาค คือเราสามารถวางระบบโครงข่าวเส้นใยแก้วนำแสง คู่ไปกับระบบสายส่งไฟฟ้า...( temica_magazine..ASEAN Power Grid)
การลงทุนในลาว หากย้อนไปเมื่อสิบกว่าปี ประเทศไทยไได้ชื่อว่าเป็นอันดับหนึ่งในการลงทุนใน สปป.ลาวในแง่ของเงินลงทุน แต่ถ้านับในปัจจุบัน เวียดนามเป้ฯอันดับหนึ่ง จีนเป็นอีกประเทศที่อันดับสอง สำหรับธุรกิจของไทย ถึงจุดอิ่มตัว
รัฐบาล สปป.ลาว ตั้งเป้าหมายไว้ว่าในปี 2563 จะต้องหลุดพ้นจากาการเป็นจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนา หลุดพ้นจากการเป็นประเทศยากจน ซึ่งในสายตามจากผุ้สันทันเกี่ยวกับ สปป.ลาวเห็นว่า เนื่องจากประชากรลาวมีเพียง 6 ลานคน ประชากรจำนวนจำนวนนี้เที่ยบกับศักยภาพประเทศทางด้านเศราฐกิจไม่ว่าจะเป็นด้านเหมื่องแร่ พลังงานไฟฟ้า ภาคเกษตรอุตสาหกรรม ภาคท่องเทียว และการบริการสามารถนำประเทศหลุดพ้นจากความยากจนภายในปี 2563 ได้อย่างแน่นอน
ยิ่งไปกว่านั้น ลาวเปรียบเสมือนแลนด์บริดจ์ของอนุภูมิภาค จะเป็นตัวเชื่อมระหว่าง ไทย-เวียดนาม-กัมพูชา-จีนตอนใต้ เส้นทาง East-West Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกและเส้นทาง North-South Economic Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ผ่านลาวจึงเหมือนเป็นศูนย์กลางการเชือมโยงเครือข่ายในภูมิภาค เพราะฉะนั้นในแง่ของการฉกฉวยโอกาสเป็นไปได้สูงมาก ประกอบกับภาคเกษตรอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ผนวกกับการเชื่อมโยงเส้นทาง 4 ประเด็นหลักๆ จะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนที่จะทำให้ลาวบรรลุเป้าหมาย..."(www.thaiseoboard.com)
"ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่" กระทรวงพลังงานและย่อแร่ของลาว เสนอรายงานล่าสุดในปลายเดือนตุลาคม 2016 ว่าทางการลาวทั้งในส่วนกลางแลระดับท้องถ่ิน ได้อนุญาตสัมปทานการศึกษาสำรวจเพื่อการก่อสร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าแก่เอกชนลาวและต่างชาติไปแล้ว 357 โครงการและได้ให้สัมปทานการสำรวจ ขุดค้นแร่ธาตุไปแล้ว 942 โครงการทั่วประเทศ ในขณะที่ผลผลิตภาคพลังงานและหมืองแร่ในช่วง 5 ปี (2010-2015) ที่ผ่านมา มีมูลค่ารวมกว่า 11,792 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็น 12% ของผลผลิตมวลรวมภายใน ของลาวในระยะย 5 ปีดังกล่าว โดยผุ้ลงทุนรายใหญ่ที่สุดก็คือบรรดาวิสาหกิจจากจีน...
ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานและบ่อแร่ ได้วางแผนการจะผลิตพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า(12,500เมกะวัตต์)ภายในปี 2020 โดยจากาการศึกษาสำรวจพบว่าการก่อสร้างเขื่นในลาวอย่างเต็มศักยภาพนั้นจะทำให้สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้รวมกันถึง 30,000 เมกะวัตต์ เลยทีเดียว
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและย่อแร่ บอกว่า วิสัยทัศน์การพัฒนาทางด้านพลังงานไฟฟ้าถึงปี 2025 คือกรพัฒนาลาวให้เป็นผุ้ส่งออกพลังงานไฟฟ้ารายใหญ่ของอาเซียนให้ได้อย่างแท้จริงซึ่งก็ทำให้มีความจำเป็ฯอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเชื่อมต่อระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าจากลาวมาไทยต่อไปมาเลเซียและสิงคโปร์ให้ได้ด้วย...(www.thaisugarmillers.com/...ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่)
พลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของประชาชนและเป็นปัจจัยพื้นฐานการผลิตในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ดังนั้จึงต้องมีกาจัดหาพลังงานให้มีปริมาณที่เีพียงพอ มีระคาที่เหมาะสม และมีคุณภาพที่ดีสอดคล้องกับความต้องการของผุ้ใช้ในภูมิภาคอาเซียนมีแหล่งทรัพยากรต้นพลังงานที่หลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาต ถ่านหินและ ไฮโดว์ โปเทรนเทียล ที่มีศักยภาพในการใช้นำผลิตไฟฟ้าและกระจายอยู่ตามที่ต่างๆ เช่นประเทศริมฝั่งโขง รวมไปถึงบางส่วนของอินโดนีเซีย และรัฐซาราวัคของมาเลเซียจะมีศักยภาพสูงในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ ส่วนทางด้านใต้อุดมไปด้วยแหล่งพลังงานจากน้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซีย มีถ่านหิน น้ำมันและก๊าซธรรมชาติในปริมาณสูงมาก โดยเฉพาะถ่านหินคาดว่าจะสามารถใช้ได้นานถึง 150 ปี ทั้งน้ำมันและถ่านหินสามารถส่งออกทำรายได้ให้ประเทศสูงมาก เป็นผ้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของอาเซียนและเป็นสมาชิกในกลุ่ม OPEC
มาเลเซีย มีแหล่งพลังงานประมาณมากและมีความหลากหลาย ทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติและพลังงานน้ำ สามารถผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติไว้ใช้ในประเทศได้อย่างเพียงพอ และเป็นประเทศผุ้ส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติสุทธิ
บรูไน มีน้ำมันและก๋าซธรรมชาติประมาณมาร รายได้หลักมาจากการส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ และเป็นผุ้ผลิตก๊าซ LNG อันดับ 4 ของโลก
เวียดนาม สามารถผลิตน้ำมันดิได้เกินความต้องการ แต่ก็ยังต้องนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปอยู่ เพราะความสามารถในการกลั่นยังไม่สุงพอ ส่วนใหญ่จะส่งไปยังญี่ปุ่น สิงคโปร์ และเกาหลี เวียดนามได้ผลิตก๊าซธรรมชาติสำหรับใช้ภายในประเทศเท่านั้น โดยนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหลัก
ไทย มีก๊าซธรรมชาติมากในอ่าวไทย และมีลิกไนต์มี่แม่เมาะ แต่ยังมีประมาณไม่มากเมื่อเทียบกับอินโดนีเซีย
เมียนมา มีพลังงานน้ำหลายหมื่อเมกะวัตต์ และก็าซธรรมชาติจำนวนมาก ซึ่งส่วนหนึ่งส่งออกมายังประเทศไทยด้วย
ฟิลิปปินส์ มีความหลากหลายของแหล่งพลังงาน เช่น พลังงานน้ำ พลังงานความร้อนใต้พิภพ และพลังชีวมวล
สปป.ลาว มีพลังงานน้ำมากสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 2 หมื่นเมกะวัตต์ นโยบายส่งเสริมการผลิตพลังงาน และมีการพัฒนาแหล่งพลังงานเพื่อการบริโภคภายในประเทศ ในปัจจุบันไฟฟ้าจึงเป็นสินค้าส่งออกหลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของ สปป.ลาว ซึ่งรายได้จากการส่งออกกระแสไฟฟ้าแต่ละปีมีอัตราเฉลี่ยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ที่สำคัญต่อประเทศจนได้ชื่อว่าเป็นแหล่งพลังงานของอาเซียน
กัมพูชา มีแหล่งก๊าซธรรมชาติในบริเวณแหล่งทับซ้อนในอ่าวไทย และมีการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากเวียดนาม ไทยและสิงคโปร์ (ศูนย์ข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์, พลังงานอาเซียน)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลตั้งอยู่ใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ดลอแนวชายแดนล้อมรอบด้วยประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ทิศเหนือจีน ทิศตะวันออก เวียดนาม ทิศใต้ไทยและกัมพูชา และทิศตะวันตกติกดังประเทศไทยและพม่า
ลักษณะภูมิประเทศของลาวอาจแบ่งเป็น
- เขตภูเขาสูง เป็นพืนที่ที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ย 1,500 เมตรขึ้นไป พื้นที่น้อยู่ในเขตภาคเหนือของประเทศ
- เขตที่ราบสูง คือพื้นที่ซึ่งสูงกว่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ย 1,000 เมตร ปรากฎตั้งแต่ทางทิศตะวันออกเฉีงใต้ของที่ราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชา เขตที่ราบสูงนี้มีที่ราบสูงขนาดใหญ่อยู่ 3 แห่ง ได้แก่ ที่ราบสูงเมืองพวน แขวงเชียงขวาง ที่รบสูงนากาย แขวงคำม่วน และที่ราบสูงบริเวณภาคใต้
- เขตที่ราบลุ่ม เป้นเขตที่ราบตามแนวฝั่งแม่น้ำโขงและแม่น้ำต่างๆ เป้นพื้นที่ที่มีความอุดมสมูรณ์มากที่สุดในเขตพื้นที่ทั้ง 3 เขต นับเป็นพื้ีที่อู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญขอ
ประเทศ แนวที่ราบลุ่มเหล่านี้เริ่มปรากฎตั้งแต่บริเวณตอนใต้ของแม่น้ำงึม เรียกว่าที่รบลุ่มเวียงจันทร์ ผ่านที่ราบลุ่มสุวรรณเขต ซึงอยู่ตอนใต้เซบั้งไฟ และดซบั้งเหียง และที่ราบจำปาศักดิ์ทางภาคใต้ของลาว ซึ่งปรากฎตามแนวแม่น้ำโขงเรื่อยไปจนจดชายแดนประเทศกัมพูชา ทั้งนี้ เมื่อนำพื้นที่ของเขตภูเขาสูงและเขตที่ราบสูงมารวมกันแล้ว จะมากถึง 3 ใน 4 ของพื้นที่ประเทศลาวทั้งหมด โดยจุดที่สูงที่สุดของประเทศลาวอยู่ที่ภูเบี้ย ในแขวงเชียงขวาง
ประเทศลาวมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย โดยแม่น้ำซึ่งเป้นสายหัวใจหลัก คือ แม่น้ำโขง ซึ่งไหลผ่านประเทศลาวกว่า 1,835 กิโลเมตร นอกจากจะมีคตวามสำคัญทั้งในด้านการ เกษตร การประมง การผลิตพลังงานไฟฟ้า กาคมนาคมจากลาวเหนือไปจนถึงลาวใต้แล้ว ยังเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศลาวกับประเทศเพื่อนบ้าน และยังมีแม่ส้ำสายสำคัญๆ ของลาวแห่งอื่นๆ อีกได้แก่ แม่น้ำอู แม่น้ำงึม แม่น้ำเซบั้งเหียง แม่น้ำทา แม่น้ำเซกอง แม้น้ำเซบั้งไฟ แม่น้ำแบ่ง แม่น้ำเซโดน แม่น้ำเซละนอง แม่น้ำกะดิ่ง แม่น้ำคาม
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นำประเทศ ซึ่งพรรคนี้เร่ิมมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยมเมื่อ 2 ธันวาคม 2518 (wikipedia.th.org/..สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว)
การพยายามจะเป็น "แบตเตอรี่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"ทำให้เกิดการตื่นตัวของอุตสาหกรรมไฟฟ้าพลังน้ำในลาวเป็นอย่างมาก ความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มมากขึ้นในประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศไทยและเวียดนามประกอบกับนักลงทุนใหม่ๆ จากประเทศไทย จีน รัสเซีย เวียดนาม และมาเลเซียช่วยหนุนให้เกิดากรขยายตัวของอุตสาหกรรมนีเพิ่มมากขึ้นลาวมีรายได้หลักจากการส่งออกพลังงาน อาทิ ไฟฟ้าพลังน้ำของลาว รวมถึงน้ำมันและก๊าซธรรมชาติพองพม่าให้กับจีและอาเซียนลาวมีศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจาพลังน้ำสูงมาก ไทยจึงสนใจที่จะลงทุนก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำและรับซื้อไฟฟ้าจากลาว
ในส่วนของการสร้างเขื่อนการที่ลาวซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทางทะเล และเป้นประเทศที่ยังไม่ได้ทำอะไรมากนักการสร้างเขื้อนกั้นแม่น้ำโขงตรงช่วงที่ทั้งสองฟากฝั่งต่างอยู่ภายในพรมแดนของลาวนั้น จะทำให้เป็นช่องทางสำคัญที่ทำให้มีรายได้เข้าประเทศ
ลาวมีการวางแผนการที่จะสร้างเขื่อนแห่งใหม่ๆ ทอดข้ามตอนล่างของแม่น้ำโขง อันเป็นปม่น้ำสายใหญ่ที่สุดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตาม เวียดนามได้ออกโรงแสดงการคัดค้านความมุ่งมาดปรารถนาในเรื่องเขื่อนไฟฟ้าพลังงานของลาวแล้ว นักวิจารณ์ในเวียดนามกล่าวว่าโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังงานเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจำนวน 1,260 เมกะวัตต์แห่งนี้จะกลายเป็นความหายนะทางสิ่งแวดล้อม(siamintelligence.com./..ตะลุยสำรวจ ขุนทรัพย์พลังงานกลุ่มประเทศ CLMV)
ASEAN Power Grid แนวคิดของอาเซีย เพาเวอร์ กริด ...การเชื่อโยงระบบไฟฟ้าในอาเซียน จึงเป็ฯการรวมพลังของทุกชาติในภูมิภาคนี้ที่จะร่วมกันจัดสรร และใช้ทรัพยากรพลังงานของเราให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุดส่งเสริมแนวคิดการใชพลังงานอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพเพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงานและเศรษฐกิจผลักดันให้อาเซียนพัฒนาทัดเทียมภูมิภาคอื่นของโลก
วิสัยทัศน์อาเซียน 2563 อาเซียน เพาะเวอร์ กริด เกิดขึ้นในการประชุมผุ้นำสูงสุด อย่างไม่เป็นทางการ ที่กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซียเพื่อกำหนดทิศทางใหม่สู่ 2563 ด้วยวิสัยทัสน์อาเซียน 2563
"...การมีส่วนร่วมของกลุ่มประเทศอาเซียน ในการผนึกกำลังกันเพื่อพัฒนาความเจริญ และสร้างความแข้.แกร่งทางด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยหนึ่งในกลยุทธ์หลักด้านพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียนคือ การเชื่อมโยงโครงข่ายระบบพลังงานและสาธารณูปโภคในอาเซียนได้แก่ ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติและน้ำ โดยผ่่านระบบเชื่อมโยงไฟฟ้าอาเซียน ระบบท่อส่งก๊าซและท่อส่งน้ำ รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การอนุรักษณ์พลังงานและการพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ใหม่ได้อีก
ประโยชน์ที่จะได้รับพอสรุปดังนี้คือ เพิ่มความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจในภูมิภาคจากการจัดสรรและใช้ทรัพยากรด้านพลังงานร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด..ถ่ายเทพลังงานระหว่างประเทศ จากการที่เรามีความหลากหลายของทรัพยากรด้านพลังงานในแต่ละพื้นที่...เกิดเครือข่ายเชื่อมโยงทางการสื่อสารรวมถึงการวางท่อก๊าซ อาเซียน เพาะเวอร์ กริด จะให้เกิดประโยชน์ด้านการสื่อสารในภูมิภาค คือเราสามารถวางระบบโครงข่าวเส้นใยแก้วนำแสง คู่ไปกับระบบสายส่งไฟฟ้า...( temica_magazine..ASEAN Power Grid)
การลงทุนในลาว หากย้อนไปเมื่อสิบกว่าปี ประเทศไทยไได้ชื่อว่าเป็นอันดับหนึ่งในการลงทุนใน สปป.ลาวในแง่ของเงินลงทุน แต่ถ้านับในปัจจุบัน เวียดนามเป้ฯอันดับหนึ่ง จีนเป็นอีกประเทศที่อันดับสอง สำหรับธุรกิจของไทย ถึงจุดอิ่มตัว
รัฐบาล สปป.ลาว ตั้งเป้าหมายไว้ว่าในปี 2563 จะต้องหลุดพ้นจากาการเป็นจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนา หลุดพ้นจากการเป็นประเทศยากจน ซึ่งในสายตามจากผุ้สันทันเกี่ยวกับ สปป.ลาวเห็นว่า เนื่องจากประชากรลาวมีเพียง 6 ลานคน ประชากรจำนวนจำนวนนี้เที่ยบกับศักยภาพประเทศทางด้านเศราฐกิจไม่ว่าจะเป็นด้านเหมื่องแร่ พลังงานไฟฟ้า ภาคเกษตรอุตสาหกรรม ภาคท่องเทียว และการบริการสามารถนำประเทศหลุดพ้นจากความยากจนภายในปี 2563 ได้อย่างแน่นอน
ยิ่งไปกว่านั้น ลาวเปรียบเสมือนแลนด์บริดจ์ของอนุภูมิภาค จะเป็นตัวเชื่อมระหว่าง ไทย-เวียดนาม-กัมพูชา-จีนตอนใต้ เส้นทาง East-West Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกและเส้นทาง North-South Economic Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ผ่านลาวจึงเหมือนเป็นศูนย์กลางการเชือมโยงเครือข่ายในภูมิภาค เพราะฉะนั้นในแง่ของการฉกฉวยโอกาสเป็นไปได้สูงมาก ประกอบกับภาคเกษตรอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ผนวกกับการเชื่อมโยงเส้นทาง 4 ประเด็นหลักๆ จะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนที่จะทำให้ลาวบรรลุเป้าหมาย..."(www.thaiseoboard.com)
"ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่" กระทรวงพลังงานและย่อแร่ของลาว เสนอรายงานล่าสุดในปลายเดือนตุลาคม 2016 ว่าทางการลาวทั้งในส่วนกลางแลระดับท้องถ่ิน ได้อนุญาตสัมปทานการศึกษาสำรวจเพื่อการก่อสร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าแก่เอกชนลาวและต่างชาติไปแล้ว 357 โครงการและได้ให้สัมปทานการสำรวจ ขุดค้นแร่ธาตุไปแล้ว 942 โครงการทั่วประเทศ ในขณะที่ผลผลิตภาคพลังงานและหมืองแร่ในช่วง 5 ปี (2010-2015) ที่ผ่านมา มีมูลค่ารวมกว่า 11,792 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็น 12% ของผลผลิตมวลรวมภายใน ของลาวในระยะย 5 ปีดังกล่าว โดยผุ้ลงทุนรายใหญ่ที่สุดก็คือบรรดาวิสาหกิจจากจีน...
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและย่อแร่ บอกว่า วิสัยทัศน์การพัฒนาทางด้านพลังงานไฟฟ้าถึงปี 2025 คือกรพัฒนาลาวให้เป็นผุ้ส่งออกพลังงานไฟฟ้ารายใหญ่ของอาเซียนให้ได้อย่างแท้จริงซึ่งก็ทำให้มีความจำเป็ฯอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเชื่อมต่อระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าจากลาวมาไทยต่อไปมาเลเซียและสิงคโปร์ให้ได้ด้วย...(www.thaisugarmillers.com/...ลาวให้สัมปทาน 357 เขื่อน 942 เหมืองแร่)
วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2560
Indochina
อินโดจีน Indochina หรือคาบสมุทรอินโดจีน เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจาแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเซียและเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเซียตะวัีนออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคอบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของ ประเ?สอินเดีย คำว่า
"Indochina"มีที่มาจากคำว่า อินโดไชน่าในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม
ในทางประวัติศาสตร์แล้วประทเศในอิโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนาธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมรจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมา ในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน
ภูมิศาสตร์ ถ้ากล่าวตามนิยามอย่างเคร่งครัดแล้ว อิโดจีนจะหมายถึงอดคตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศส "อินโดจีนของฝรั่งเศส"เท่านั้น ซึ่งประกอบด้วย กัมพูชา ลาว เวียดนาม แต่ปัจจุบัน ความหมายของอินโดจีนหมายถึงแผ่นดินใดญ่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งนับรวม คาบสมุทรมลายู ไทย พม่า สิงคโปร์ (th.wikipedia.org/..อินโดจีน.)
สงครามอินโดจีน เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2490 ถึง พ.ศ.2522 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับ ฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจน"เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมืองสงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 ส่งครามได้แก่
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 1 ในฝรั่งเศสเรียกว่า สงครามอินโดจีน ในเวียดนามเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส เร่ิมขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดำเนินต่อมาจนถึงการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสในปี พ.ศ.2497 หลังจากการต่อต้านอันยาวนานของกำลังเวียดมินห์ ในที่สุดก็ได้รับชัยชนะหลังกองทัพญี่ปุ่นและฝรั่งเศสยอมแพ้ทางตอนเหนือเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในช่วงสงครามโลกทางใต้ถูกครอบครองโดย
กองกำลังของอังกฤษที่ฟื้นคืนการควบคุมอาณานิคมของสาธารณรัฐฝรั่งเศสในสหประชาชาติลแะชาติพันธมิตรพร้อมกับอังกฤษและสหรัฐ ฝรั่งเศสได้ร้องของที่จะกลับคืนสู่เวียดนามที่เป็นอาณานิคมของพวกเขาก่อนที่จะต้องลงเข้าร่วมในพันธมิตรนาโต้เพื่อต่อต้านการขยายอำนาจของโซเวียตที่เกินอาณาเขตของกลุ่มประเทศในสนธิสัญญาวอร์ซอในสงครามเย็นเวียดมินห์ที่เป็นคอมมิวนิสต์และชาตินิยมยังคงต่อสู้กับฝรั่งเศสต่อไปโดยได้รับการสนับสนุนจากจีนและสหภาพโซเวียต จนในที่สุดก็ผลักให้ฝรั่งเศสที่มีนาโต้คอยหนุนหลังต้องล่าถอยออกจาอินโดจีน
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 ตะวันตกเรียกว่า สงครามเวียดนาม ในเวียดนามเรียกว่าสงครามอเมริกา ที่เริ่มขึ้นเมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลเวียดนามใต้ทีสนับสนุนโดยสหรัฐฯกับฝ่ายเหนือ ทั้งกองกำลังของเวียดกง และกองทัพเวียดนามเหนือ ปัจจุบันกลายเป็ฯกองทัพประชาชนเวียดนาม เร่ิมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 และจบลงในปี พ.ศ. 2518 สหรัฐสนับสนุนฝรั่งเศสในสงครามคร้งแรกได้เข้าสนับสนุนรัฐบาลเวียนามใต้เพื่อต่กรกับเวียดกงและเวียดนามเหนือที่เป็นคอมมิวนิสต์ ฝ่ายเหนือได้รับการสนับสนุนทางทหารและเงินจากจีนและสหภาพโซเวีต การต่อสู้ยังเกิดขึ้นในกัมพูชาระหว่างอกงทัพที่สหรัฐ
สนับสนุนกับฝ่ายเขมรแดงที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองกัมพูชา) และในลางก็มีการต่อสู้ระหว่างรัฐบาลที่สหรัฐสนับสนุน กองทัพประชาชนเวียนาม และขบวนการปะเทดลาวที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองลาว)
สงครามกัมพูชา-เวียดนาม เป็นสงครามที่เกิดหลังจากสงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 เมื่อเวียดนามหด้เข้าบุกกัมพูชาและขับไล่การปกครองของเขมรแดงออกไป สงครามดำเนินตั้งแต่เมื่อพฤษภาคม 2518 - ธันวาคม พ.ศ. 2532
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 3 หรือสงครามเวียดนาม-จีน เป็นการต่อสู้ระยะสั้นๆ ในเดือนกุมพาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2520 ระหว่างสาธารณรับประชาชนจีนและสาธารณรับสังคมนิยมเวียดนาม จีนได้เข้าบุกเวียดนามเพื่อเป็นการ "ลงโทษ"สำหรับการที่เวียดนามเข้าบุกกัมพูชา และถอนกำลังออกหนึ่งเดือนหลังจากนั้นเมื่อได้รับความสูญเสียอย่างมาก (th.wikipedia.org/..สงครามอินโดจีน)
อินโดจีน มีความสำคัญทางการค้ามาช้านาน เป็นเเหล่งเศรษฐกิจโบราณที่เคยมีบทบาทในภูมิภาคนี้มาก่อน ไม่เช่นนั้นเรื่อสำเภคงไม่แล่นเข้ามาและไปมาหาสู่เมืองต่างๆ ดันมากมาย จนทำให้มหาสมุทรอินเดียและอินเดียและจีนมีความสำคัญต่อการเดินเรือของชาติต่างๆ ถึงกับพากันมาตั้งสถานีการค้าตามเมืองท่าที่อยู่ริมทะเล
เมืองที่ตั้งอยู่ระหว่งมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนจึงถูกเรียกว่า "อินโดจีน" โดยมีราคำที่มาจากคำว่า "อินเดีย"กับ "จีน" เช่นเดียวกับคำว่า "อินโดนีเซีย" ที่มาจากคำว่า "อินเดีย" และ "เอเซีย" ชาวอินเดียและชาวจีน นำเรือสินค้าเดินทางไปตามเมืองต่างๆ พร้อมกับศาสนา ทั้ง ฮินดู พราหมณ์ และพุทธ
ในอดีตประเทศที่อยู่ข้างฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขงเป็นเขตอินโดจีน เนื่องจาฝรั่งเศสได้เข้ายึดครองประเทศนั้น แล้วมีทีท่าจะลุกลามมายังฝั่งซ้ายคือดินแดอีสานของไทย จนต้องีการสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับรัสเซีย ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้น เพื่อปรามฝรั่งเศสให้เกรงใจและยุติการยึดครองในสมัยรัชกาลที่ 5
ภาพของการเรียกร้องอินแดนอินโดจีนคืนจาฝรั่งเศสนั้น เคยปรากฎในประวัติศาสตร์ไทยสมัยจอมพล. ป. พิบูลสงคราม จนเข้าใจว่า แหลมอินโดจีนนั้นคือ ลาว เขมร ญวน จึงมีการนับเอาไทย พม่า ว่าเป็นแหลมสุวรรภูมิหรือแหลมทอง ส่วนมลายู สิงคโปร์ นั้นเป็นแหลมมลายู แต่ความเป็น "อินโดจีน"ในปัจจุบัน ได้หมายถึงประเทศที่อยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ หรือส่วนที่เรียกกันว่า "อุษาคเณย์"เป็นประเทศในเขตแหลมอินโดจีน หากจะรวมไปถึงเกาสุมาตรา บอร์เนียว อินโดนีเซีย บูรไนด้วยก็พออนุโลมเนื่องจากมีเชื้อ่ชาติและวัฒนธรรมเดียวกันกับมาเลเซีย ที่มาจากรากคำว่ "มะละกา" กับ "อินเดีย"
การเดินทางมายังดินแดนต่างๆ ที่เรียกว่าอินโดจีนในอตีตใช้เส้นทางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้เป็นหลัง ด้วยเหตุนี้จึงมีเมืองท่าสำคัญเกิดขึ้นหลายแห่งตามฝั่งตะวันตกของแหลมมลายู เป็นแหล่งเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระยะแรกหรือตลาดใหญ่ที่มีเรือสินค้าติดต่อและจอดรอลมมรสุมพัดกลับตามท่าต่างๆ นั้น บางแห่งก็ถุกชาวต่างชาติยึดครองตั้งสถานีการค้าในเมืองท่านั้น กว่าจะหลุดพ้นสิทธิอำนาจจอกอาณาเขตมาเป็นเมืองเอกราช ก็ใช้เวลานาน
ภาพที่เห็นชัดคือ ดินแดนอินโดจีนส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีกษัตริย์ครองเมือง และมีศาสนาฮินดู พราหมณ์และศษสาพุทธ เป็นหลัก โดยศาสนาฮินดูและพราหมร์เกิดขึ้นมาก่อนและพุทธจึงแพร่หลาย อันเป็นผลที่ทำให้ผุ้คนในแถบอินโดจีนนั้นสามารถเชื่อมโยงความเชื่อและวิถีชีวิตความเป็นอยู่คบ้ายคลึงกัน และมีความสัมพันธ์กันทางพุทธรรม คัมภีร์ของพระผู้เป็นเจ้า แม้จะมีศาสนาอิสลาม คริสต์สาสนาเกิดขึ้นในระยะเวลาต่อมาก็สามารถผสมกลมกลืนอยุ่ร่วมกันได้ในที่สุด
วัฒนธรรมของความเป็นอินโดจีนในบริบททางวัฒนธรรมนั้น จึงมีศาสนาเป็นจุดประสานให้ทุกชนชาตและประเทศในแถบอินโดจีนได้หันหน้าเข้าหากัน ผู้คนอินโดจีนแม้จะมีความต่างทางศาสนาก็สามารถหลอมรวมเป็นวัฒนธรรมเดียวกันได้ ....(www.manager.co.th/..ชื่อดินแดนแห่งนี้มีที่มา)
"Indochina"มีที่มาจากคำว่า อินโดไชน่าในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม
ในทางประวัติศาสตร์แล้วประทเศในอิโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนาธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมรจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมา ในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน
ภูมิศาสตร์ ถ้ากล่าวตามนิยามอย่างเคร่งครัดแล้ว อิโดจีนจะหมายถึงอดคตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศส "อินโดจีนของฝรั่งเศส"เท่านั้น ซึ่งประกอบด้วย กัมพูชา ลาว เวียดนาม แต่ปัจจุบัน ความหมายของอินโดจีนหมายถึงแผ่นดินใดญ่ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งนับรวม คาบสมุทรมลายู ไทย พม่า สิงคโปร์ (th.wikipedia.org/..อินโดจีน.)
สงครามอินโดจีน เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2490 ถึง พ.ศ.2522 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับ ฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจน"เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมืองสงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 ส่งครามได้แก่
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 1 ในฝรั่งเศสเรียกว่า สงครามอินโดจีน ในเวียดนามเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส เร่ิมขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดำเนินต่อมาจนถึงการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสในปี พ.ศ.2497 หลังจากการต่อต้านอันยาวนานของกำลังเวียดมินห์ ในที่สุดก็ได้รับชัยชนะหลังกองทัพญี่ปุ่นและฝรั่งเศสยอมแพ้ทางตอนเหนือเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในช่วงสงครามโลกทางใต้ถูกครอบครองโดย
กองกำลังของอังกฤษที่ฟื้นคืนการควบคุมอาณานิคมของสาธารณรัฐฝรั่งเศสในสหประชาชาติลแะชาติพันธมิตรพร้อมกับอังกฤษและสหรัฐ ฝรั่งเศสได้ร้องของที่จะกลับคืนสู่เวียดนามที่เป็นอาณานิคมของพวกเขาก่อนที่จะต้องลงเข้าร่วมในพันธมิตรนาโต้เพื่อต่อต้านการขยายอำนาจของโซเวียตที่เกินอาณาเขตของกลุ่มประเทศในสนธิสัญญาวอร์ซอในสงครามเย็นเวียดมินห์ที่เป็นคอมมิวนิสต์และชาตินิยมยังคงต่อสู้กับฝรั่งเศสต่อไปโดยได้รับการสนับสนุนจากจีนและสหภาพโซเวียต จนในที่สุดก็ผลักให้ฝรั่งเศสที่มีนาโต้คอยหนุนหลังต้องล่าถอยออกจาอินโดจีน
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 ตะวันตกเรียกว่า สงครามเวียดนาม ในเวียดนามเรียกว่าสงครามอเมริกา ที่เริ่มขึ้นเมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลเวียดนามใต้ทีสนับสนุนโดยสหรัฐฯกับฝ่ายเหนือ ทั้งกองกำลังของเวียดกง และกองทัพเวียดนามเหนือ ปัจจุบันกลายเป็ฯกองทัพประชาชนเวียดนาม เร่ิมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 และจบลงในปี พ.ศ. 2518 สหรัฐสนับสนุนฝรั่งเศสในสงครามคร้งแรกได้เข้าสนับสนุนรัฐบาลเวียนามใต้เพื่อต่กรกับเวียดกงและเวียดนามเหนือที่เป็นคอมมิวนิสต์ ฝ่ายเหนือได้รับการสนับสนุนทางทหารและเงินจากจีนและสหภาพโซเวีต การต่อสู้ยังเกิดขึ้นในกัมพูชาระหว่างอกงทัพที่สหรัฐ
สนับสนุนกับฝ่ายเขมรแดงที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองกัมพูชา) และในลางก็มีการต่อสู้ระหว่างรัฐบาลที่สหรัฐสนับสนุน กองทัพประชาชนเวียนาม และขบวนการปะเทดลาวที่เป็นคอมมิวนิสต์ (รู้จักกันในชื่อ สงครามกลางเมืองลาว)
สงครามกัมพูชา-เวียดนาม เป็นสงครามที่เกิดหลังจากสงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 เมื่อเวียดนามหด้เข้าบุกกัมพูชาและขับไล่การปกครองของเขมรแดงออกไป สงครามดำเนินตั้งแต่เมื่อพฤษภาคม 2518 - ธันวาคม พ.ศ. 2532
สงครามอินโดจีนครั้งที่ 3 หรือสงครามเวียดนาม-จีน เป็นการต่อสู้ระยะสั้นๆ ในเดือนกุมพาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2520 ระหว่างสาธารณรับประชาชนจีนและสาธารณรับสังคมนิยมเวียดนาม จีนได้เข้าบุกเวียดนามเพื่อเป็นการ "ลงโทษ"สำหรับการที่เวียดนามเข้าบุกกัมพูชา และถอนกำลังออกหนึ่งเดือนหลังจากนั้นเมื่อได้รับความสูญเสียอย่างมาก (th.wikipedia.org/..สงครามอินโดจีน)
อินโดจีน มีความสำคัญทางการค้ามาช้านาน เป็นเเหล่งเศรษฐกิจโบราณที่เคยมีบทบาทในภูมิภาคนี้มาก่อน ไม่เช่นนั้นเรื่อสำเภคงไม่แล่นเข้ามาและไปมาหาสู่เมืองต่างๆ ดันมากมาย จนทำให้มหาสมุทรอินเดียและอินเดียและจีนมีความสำคัญต่อการเดินเรือของชาติต่างๆ ถึงกับพากันมาตั้งสถานีการค้าตามเมืองท่าที่อยู่ริมทะเล
เมืองที่ตั้งอยู่ระหว่งมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนจึงถูกเรียกว่า "อินโดจีน" โดยมีราคำที่มาจากคำว่า "อินเดีย"กับ "จีน" เช่นเดียวกับคำว่า "อินโดนีเซีย" ที่มาจากคำว่า "อินเดีย" และ "เอเซีย" ชาวอินเดียและชาวจีน นำเรือสินค้าเดินทางไปตามเมืองต่างๆ พร้อมกับศาสนา ทั้ง ฮินดู พราหมณ์ และพุทธ
ในอดีตประเทศที่อยู่ข้างฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขงเป็นเขตอินโดจีน เนื่องจาฝรั่งเศสได้เข้ายึดครองประเทศนั้น แล้วมีทีท่าจะลุกลามมายังฝั่งซ้ายคือดินแดอีสานของไทย จนต้องีการสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับรัสเซีย ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้น เพื่อปรามฝรั่งเศสให้เกรงใจและยุติการยึดครองในสมัยรัชกาลที่ 5
ภาพของการเรียกร้องอินแดนอินโดจีนคืนจาฝรั่งเศสนั้น เคยปรากฎในประวัติศาสตร์ไทยสมัยจอมพล. ป. พิบูลสงคราม จนเข้าใจว่า แหลมอินโดจีนนั้นคือ ลาว เขมร ญวน จึงมีการนับเอาไทย พม่า ว่าเป็นแหลมสุวรรภูมิหรือแหลมทอง ส่วนมลายู สิงคโปร์ นั้นเป็นแหลมมลายู แต่ความเป็น "อินโดจีน"ในปัจจุบัน ได้หมายถึงประเทศที่อยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ หรือส่วนที่เรียกกันว่า "อุษาคเณย์"เป็นประเทศในเขตแหลมอินโดจีน หากจะรวมไปถึงเกาสุมาตรา บอร์เนียว อินโดนีเซีย บูรไนด้วยก็พออนุโลมเนื่องจากมีเชื้อ่ชาติและวัฒนธรรมเดียวกันกับมาเลเซีย ที่มาจากรากคำว่ "มะละกา" กับ "อินเดีย"
การเดินทางมายังดินแดนต่างๆ ที่เรียกว่าอินโดจีนในอตีตใช้เส้นทางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้เป็นหลัง ด้วยเหตุนี้จึงมีเมืองท่าสำคัญเกิดขึ้นหลายแห่งตามฝั่งตะวันตกของแหลมมลายู เป็นแหล่งเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระยะแรกหรือตลาดใหญ่ที่มีเรือสินค้าติดต่อและจอดรอลมมรสุมพัดกลับตามท่าต่างๆ นั้น บางแห่งก็ถุกชาวต่างชาติยึดครองตั้งสถานีการค้าในเมืองท่านั้น กว่าจะหลุดพ้นสิทธิอำนาจจอกอาณาเขตมาเป็นเมืองเอกราช ก็ใช้เวลานาน
ภาพที่เห็นชัดคือ ดินแดนอินโดจีนส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีกษัตริย์ครองเมือง และมีศาสนาฮินดู พราหมณ์และศษสาพุทธ เป็นหลัก โดยศาสนาฮินดูและพราหมร์เกิดขึ้นมาก่อนและพุทธจึงแพร่หลาย อันเป็นผลที่ทำให้ผุ้คนในแถบอินโดจีนนั้นสามารถเชื่อมโยงความเชื่อและวิถีชีวิตความเป็นอยู่คบ้ายคลึงกัน และมีความสัมพันธ์กันทางพุทธรรม คัมภีร์ของพระผู้เป็นเจ้า แม้จะมีศาสนาอิสลาม คริสต์สาสนาเกิดขึ้นในระยะเวลาต่อมาก็สามารถผสมกลมกลืนอยุ่ร่วมกันได้ในที่สุด
วัฒนธรรมของความเป็นอินโดจีนในบริบททางวัฒนธรรมนั้น จึงมีศาสนาเป็นจุดประสานให้ทุกชนชาตและประเทศในแถบอินโดจีนได้หันหน้าเข้าหากัน ผู้คนอินโดจีนแม้จะมีความต่างทางศาสนาก็สามารถหลอมรวมเป็นวัฒนธรรมเดียวกันได้ ....(www.manager.co.th/..ชื่อดินแดนแห่งนี้มีที่มา)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...