อารยธรรม โดยทั่วไปหมายถึงความเจริญทางวัฒนธรรมแต่สำหรับทางด้านปรวัติศาสตร์ อารยธรรมอาจหมายถึงการศึกษาความซับซ้อนของระบบสังคม เพื่อให้เก็นถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ในระบบสังคมนั้นๆ โดยมุ่งเน้นให้เห็นถึงเหตุปัจจัยการเกิดและการล่มสลายของอารยธรรมนั้น รวมถึงอิทธิพลของอารยธรรมนั้นต่ออารยธรรมอื่นๆ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานประจำปี พ.ศ.2542 ได้ให้ความหมายของอารยธรรมไว้ว่า ความสงบสุขของสังคมที่ตั้งอยู่บนรากฐานแห่งศีลธรรม และกฎหมาย ความเจริญเหนื่งด้วยองค์การของสังคม เช่น การเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งอุตสาหกรรม, ความเจริญด้วยขนบธรรมเนียมอันดี จากความหมายของ อารยธรรมจะเห็นได้ว่า อารยธรรมโดยทั่วไปมักหมายถึงประเด็นของความเจริญหรือดีในแง่ต่างๆ ของสังคม โดยเฉพาะด้านวัฒนธรรมต่างๆ ่วนลักาณธความไม่เจริญหรือไม่พัฒนาทางวัฒนธรรม จะเรียกในทางกลับกันว่า อนารยธรรม อันแปลว่า ไม่มีอารยธรรม แต่สำหรับทางด้านประวัติศาสนาต์ อารยธรรมจะศึกษาความซับซ้อนของระบบสังคม กล่าวคือความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างในสังคมแม้ว่าจะทำให้สังคมดีขึ้นหรือแย่ลงก็ตาม โดยมุ่งเน้นให้เห็นถึงเหตุปัจจัยการเกิดและล่มสลายของอารยธรรมนั้น รวมถึงอิทธิพลของอารยธรรมนั้นต่ออารยธรรมอื่นๆ
สำหรับคำว่า อารยธรรม นั้น โดยปกติแล้วจะมีความหมายโดยนัยถึงอารยธรรมมนุษย์ ดังนั้นองค์ปรพกอบต่างๆ ในสังคมมนุษย์ ก็คือ วัฒนธรรม นั้นเอง แต่คำว่า อารยธรรม อาจนำไปใช้ในด้านอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ อาทิ อารยธรรมต่างดาว ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าหาควาซับซ้อนของระบบสังคมของสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญานอกโลก เป็นต้น สำหรับบทความนี้จะหมายถึงอารยธรรมโลก หรือ อารยธรรมมนุษย์ เป็นสำคัญ
อารยธรรมอินเดีย อินเดีย เป็นต้นสายธารทางวัฒนธรรมของชาติตะวันออก (ชนชาติในทวีปเอเซีย)
- สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะของอินเดียเริ่มเมื่อผุ้คนรู้จักใช้ทองแดงและสำริดเมื่อประมาณ 2,500 ปีก่อนคริสต์สักราชและรู้จักใช้เหล็กในเวลาต่อมา พบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่ง ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ คือ เมืองโมเฮนโจดาโร ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถาน, เมืองฮารับปา ในเแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน
- สมัยประวัติศาสตร์ อินเดียเข้าสู่ "สมัยประวัติศาสตร์"เมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ประมาณ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราชโดยชนเผ่านอินโด-อารยัน ซึ่งตั้งถิ่น,านในบริเวณลุ่มแม่น้ำคงคาสมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียแบ่งเป็น 3 ยุค ดังนี้
1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่การถือกำเนิดตัวอักษรอินเดียโบราณ ที่เรียกว่า "บรามิ ลิปิ" เมื่อประมาณ 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช และสิ้นสุดในราวคริสต์ศตวรรษที่ 6 ซึ่งตรงกับสมัยราชวงศ์คุปตะ เป็นยุคสมัยที่ศษสนาพราหมณ์ ฮินดู และพระพุทธศาสนาได้ถือกำเนิดขึ้นแล้ว
2) ประวัติศาสตร์สมัยกลางเริ่มตั้งแต่เมื่อราชวงศ์คุปะสิ้นสุดลง ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อกษัตริย์มุสลิมสถาปนาราชวงศ์โมกุล และเข้าปกครองอินเดีย
3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ต้นราชวงศ์โมกุลในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงได้รับเอกราชจากอังกฤษ ในค.ศ. 1947
อารยธรรมอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอินเดียและประเทศจีน ซึ่งเป็นดินแดน แห่งอู่อารยธรรมยิ่งใหญ่ของเอเชีย ทั้งสองประเทศนี้มีการติดต่อค้าขายกันมาอย่างยาวนานโดยใช้เส้นทางบกและเส้นทางทางทะเล อีกทั้งประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เองมีสินค้าที่เป็นที่ต้องการสำหรับชาวอินเดีย เปอร์เซีย เช่น เครื่องเทศ ไม้หอม ยาไม้หอม และทองคำ
แต่เดิมอินเดียซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยโดยเฉพาะทองคำในบริเวณเมดิเตอร์เรเนี่ยนและเอเชียกลาง แต่ราว พุทธศตวรรษที่ 4-5 ได้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองขึ้นในแถบนี้ ทำให้การคมนาคมในแถบนี้ถูกตัดขาด อินเดียไม่อาจซื้อทองคำในไซบีเรียได้อีกต่อไป จึงหันไปซ์้อทองคำในโรมันจนทำให้เศรษบกิจโรมันกระทบกระเทือนไม่อาจขายทองให้อินเดียได้อีกด้วยเหตุนี้อินเดียทางมาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อหาแหล่งที่ซื้อทองคำใหม่ และเรียกดินแดนแถบนี้ว่า "สุวรรณภมิ"
การเดินเรือแต่ละครั้งต้องรอลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดมา ในระยะเวลาช่วงเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ และการกลับก็
ต้องรอลมมรสุมตะวันอกเแียงเหนือในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมพัดกลับ ทำให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นจุดจอดพักเรือเพื่อรอและหลบมรสุม เป็นที่ขนถ่ายสินค้าเติมเสบียง และกลายเป็นศูนย์กลางทางการที่สำคัญที่สุด การเดินเรือแต่ละครั้งมิได้เมีเพียงแต่พ่อค้า ยังมีนักบวชเดินทางร่วมมากับเรือด้วยเพื่อประกอบพิธีให้กับพ่อค้าเหล่านั้น ดังนัี้นในช่วงระหว่างการอลมรสุม จึงมีการถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่กัน ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงรับวัฒนธรรมของชาวอินเดียผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมของตนเอง
ตัวอักษรปัลลวะแบบที่นิยมใช้ในอินเดียภาคใต้ในสมัยราชวงศ์ปัลลวะ (พุทธศตวรรษที่ 11-12 ) ดังได้พบจารึกโบราณภาษาสันสกฤตทั่วินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทั้งภาษาสันสกฤตซึ่งเป็น
ภาษาชั้นสูงของพราหมณ์ และยังมีบทบาทอยู่โดยปะปนอยู่ในแต่ละภาษาของแต่ละประเทศ คำภีร์พระเวท คืองานวรรณกรรมในศาสนา
พราหมณ์ ซึ่งนักบวชใช่เป็นหลักคำสอน ตำรา จนถึงปัจจุบัน หลักฐานสำคัญที่เป็นรูปธรรมคืองานสถาปัตยกรรม งานปฏิมากรรมและงานจิตกรรม หากพบหลักบานในเมืองใดเป็นจำนวนมาก สันนิฐานได้ว่าเป็นเมืองแรกรับวัฒนธรรม เป็นเมืองท่าเป็นศูนบย์กลางทางการค้าที่สำคัญ ศูนย์กลางการปกครองฯลฯ เทวสถานที่ใช้ในการประกอบพิธีของศาสนาพราหมณ์ เป็นสถาปัตยกรรมที่รับอิทธิพลมาจากอารยธรรมอินเดียซึ่งปรากฎการสร้างมหาเทพท้้งสามองค์ คือ พระพรหม พระนารายณ์ พระอิศวร ลักษณะงานที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือ แบบคาดผ้าคาดเอวและเฉียงบิดเป็นเกลี่ยวซึ่งคล้ายคลึงกับเทวรูปในศิลปะสมับหลังคุปตะ คือสมัยรา
ชวงศ์ปัลลวะทางภาคตะวันออเฉียงใต้ของอินเดียราวพุทธศตวรรษที่ 12 และ 2) ลักษณะแบบคาดผ้าคาดเอวแบบตรง เทวรูปในศาสนาพราหมณ์รวมถึงสิวลึงค์ถูกพบมากใน เขมร ไทย พม่า ชวา ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคแรกส่วนใหญ่นับถือศาสนาพราหมณ์ เพมื่อกาลผ่านไป ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม และศาสนาคริสต์ เข้ามา
ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ผสมผสานศษสนาพราหมณ์กับศาสนาใหม่ๆ เหล่านี้ด้วยกันจนกลายเป็นศาสนาที่มีาูปแบบเฉพาะตัว เช่นลัทธิฮินดู-ชวาในอินโดนีเซีย ขอมรับศาสนาพราหมร์แล้วก็นำไปผสมผสานกับลัทธิฮินดู-ชวา(เทวราชา) แล้วพัฒนาจนศาสนาพราหมณ์ในขอมเป็นศาสนาที่เกื้อหนุนอำนาจกษัตริย์และมากด้วยพิธีกรรมอันเคร่งครัดสลับซับซ้อน ศาสนาพุทธในประเทศไทยก็มีพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์เจืออยู่ในเกือบทุกพิธีกรรม เป็นต้น
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 5 เป็นต้นมา เมืองต่างๆ ในเอเชียตะวันออเฉียงใต้เริ่มขยายตัวใหญ่ขึ้น อันเป็นผลจากการติดต่อค้าขายระหว่างชุมชน ประกอบกับการเข้ามาของศาสนาพราหมณ์ กระทั่งเกิดเป็น อาณาจักรต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาณาจักรแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่รับวัฒนธรรมทางศาสนาพราหมณ์คือ อาณาจักรฟูนัน นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรโบราณในเอเชยตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอารยธรรมอินเดียเช่น ทวาราวดี ศรีวิชัย จามปา เจนละฯ ( www.gotoknow.org. "อาเซียน : การรับอารยธรรมอินเดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ฉบับปรับปรุง).)
วันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
U-sa-ka-ne...Southeast Asia...Sunda Land
อุษาคเนย์แผ่นดินเดียวกัน เมื่อล้านๆ ปีมาแล้ว มี "แผ่นด้นซุนดา" (พื้นที่สกรีนดำ) เชื่อมโยงถึงกันทั้งแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะปัจจุบัน ตั้งแต่ตอนเหนือ (คือทางใต้ของจีนปัจจุบัน) ลงไปหมู่เาะทั้งของฟิลิปินส์, บรูไน,จนถึงตอนใต้ของอินโดนีเซีย เช่น สุมาตรา, ชวา ฯลฯ เหตุเพราะเมื่อล้านๆ ปีที่แล้วระดับน้ำทะเลต่ำมากกว่าปัจจุบัน ทำให้พื้นท้องทะเลในมหาสมุทรทุกวันนี้เป้นผืนดินยืดยาวแผ่นเดียวกัน เรียกว่าแผ่นดินซุนดา (Sunda Land) นักธรณีวิทยาเรียกว่ายุคน้ำแข็. หรือไพลสโตซีนมีธารน้ำแข็งปกคลุมพื้นที่หลายบริเวณของโลก ทำให้แหล่งน้ำทั้งหลายเหือดแห้งลงจนเกิดสะพานแผ่นดินเชื่อมติดกัน อุษาคเนย์ หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถ้าพิจารณราด้านสังคามลแะวัฒนธรรมเมื่อราว 3,000 ปีมาแล้ว มีขอบเขตครอบคลุมบริเวณกว้างขวางกว่าปัจจุบัน โดยแบ่งหว้าๆ ได้ 2 ส่วน แผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะ
- แผ่นดินใหญ่ ทิศเหนือ ถึงบริเวณทะเลสาบเตียนฉือที่เมืองคุนหมิง ในมณฑลยูนนาน(จีน), ทิศตะวันออก ถึงมณฑลกวางสี-กว่างตุ้ง (จีน), ทิศตะวันตก ถึงลุ่มน้ำพรหมบุตรในแคว้นอัสสัม (อินเดีย) และทิศใต้ ถึงมาเลเซีย- สิงคโปร์
- หมู่เกาะ นอกจากรวมถึงหมู่ เกาะอันดามัน กับหมู่เกาะนิโคบาร์ ในทะเลอันดามันแล้ว ยังมีขอบเขตครอบคลุมถึงฟิลิปปินส์และหมู่เกาะทางทะเลใต้ เช่น หมุ่เกาะในอินโดนีเซีย ติมอร์และบรูไน ฯลฯ (prachatai.com/ สุจิตต์ วงศ์เทศ : "วัฒนธรรมร่วม" ในอุษาคเนย์ รากเหง้าเก่าแก่ของประชาคมอาเชียน)
แผนที่แสดงให้เห็สภาพภูมิศาสตร์ในยุคโบราณ (ภาพที่ 2 )คือสภาพตอนที่ชนกลุ่มแรกมาถึงทวีปนี้ จะเห็นว่า แผ่นดินยังเชื่อมติดกันเป็นผืนเดียวกัน จากนั้นราวสามหมื่นปี B.C.(ภาพที่ 4) เป็นช่วงที่ยุคน้ำแข็งกลับมาอีกครั้ง ระดับน้ำลดลงอย่างมาก แผ่นดินท่เรียกันว่าซุนดา นั้นขยายไปกว้างสุด นับแต่นั้นถึงราวหมื่นปี (ภาพที่ 6 ) จะเกิดยุคน้ำแข็งสั้นๆ สลับกับน้ำแข็งที่ละลายเมื่อสิ้นสุดแต่ละช่วง ถึงสามครั้งด้วยกัน ระดับน้ำทะลก็สูงขขึ้น จนในที่สุดแผ่นดินซุนดา ก็ูกน้ำทะเลท่วมจมอยู่ใต้ทะเลอย่างเช่นทุกวันนี้...
... อาจารญ์ ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา เป็นหนึ่งในนักวิชาการสมัยใหม่ ที่มองเอเชียด้วยมุมมองที่ต่างกไปจากนักวิชาการกระแสเก่า ท่ามีความคิดเห็นที่สอดคล้องกับนักวิชาการหัวก้าวหน้าอย่าง บัคมินสเตอร์ ฟูลเลอร์ และ ทอร์ เฮเยอร์เดลฮ์
ฟุลเลอร์ เสนอความคิดของเขาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2487 ว่าเอเชียอาคเนย์ เป็นเหล่งอารยธรรมสำคัญของโลก, ทอร์ นั้นทุ่มความสนใจขกับการเดินทางพิชิตมหาสมุทรของมนุษย์ครั้งใหญ่ในสมัยโบราณ ออกสู่ทะเลแปซิฟิค ไปยังเกาะแก่งต่างๆ ซึ่งน่าจะเกิดขึ้นไม่น้อยกว่าหกพันปีมาแล้ว มนุษย์โบราณเขาท่องไปในทะเลอย่างเชี่ยวชาญท้องทะเลนั้นไม่ใช่อุปสรรค ป่าที่มีสัตว์และโรคร้าง ภูเขาและทะเลทรายต่างหากที่เป็นอุปสรรค
ดร.สุเมธ นำเสนอแนวคิดที่ต่างไปจากนักวิชการไทยก่อนหน้านี้ และให้ข้อสังเกตุคุณสมบัติเด่นที่เกี่ยวกับน้ำ และชีวิตที่เกี่ยวพันแนบแน่นกับน้ำของชาวไทย รวมทั้งชาติพันธ์ุเครือญาติใกล้ชิด ทั้งยังชี้ให้เห็นข้อบ่งชี้หลายประการที่มีร่วมกันของผุ้คนในเอเชียและหมู่เกาะในแปซิฟิค โดยไม่ได้แบ่งแยกชาติเชื้อของผุ้คนในแถบนี้ออกจากกันบทความชื่อ กำเนินมาแต่น้ำ(หนังสือ "ลักษณะไทย"เล่มที่ 1) โดยพุ่งความสนใจไปที่ปัจจัยสามสิ่งที่เด่นเป็นพิเศษ คือ ข้าว ซึ่งไม่เพียงแต่ผู้คนในแถบนี้จะกินข้าวเป็นอาหารหลักเท่านั้น ยังสอนการปลูกข้าวให้กับชาวโลกดวย, บ้านเสาไม้ใต้ถุนสูง พลได้ตั้งแต่เชิงหิมาลัยไปสุดขอบฝั่งทะเลญี่ปุ่น ไล่ลงมาอุษาคเนย์และหมู่เกาะในแปซิฟิค และ เครื่องจักสานแบบสามแฉก ซึ่งเป็นงานหัตถกรรมที่พบแต่ในเอเชียนี้เท่านั้น นอกจากนั้นยังชี้ให้เห็นหลักฐานสำคัญที่นำมาซึ่งการหักเหทางวิชาการก็คือการพบวำริดที่บ้านเชียง ซึ่งมีอายุเก่าถึง 3,600B.C.ขณะที่สำริดของอนาโตเลียมีอายุเพียง 3,000B.C. สำริดอินดัสแวลลีย์อายุราว 2,000B.C. ของจีนสมัยราชวงศ์ชางมีอายุราว 1,000B.C. (pongprom.wordpress.com/../ซุนดา อีเดนในอุษาทวีป)
วันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Republic of the Philippines
ฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะจำนวน 7,107 เกาะตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชียแผ่นดินใหญ่ทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาร 1,000 กม.และมีลักษณะพิเศษคือเป็นประเทศเพียงหนึ่งเดี่ยวที่มีพมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก นิวสเปน(พ.ศ. 2064-2441)และสหรัฐอเมริการ (พ.ศ. 2411-2489) ได้ครองฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมเป็นเวลา 4 ทศวรรษ และเป็นสองอิทธิพลใหญ่ที่สุดต่อวัฒนธรรมฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสองชาติในเอเชียที่ประกรส่วนใหญ่นับถือศษสนาคริสต์(อีกประเทศคือ ติมอร์-เลสเต) และเป็นหนึ่งใชขาติที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากที่สุด เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกกับตะวันออกที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ อาร์โนลด์ โจดซฟ ทอยน์บี นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้กล่าวไว้ในงานของเขาว่า ประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศลาตินอเมริกาที่ถูกพัดพาไปยังตะวันออก โดยคลื่นทะเลยักษ์
หลักฐานทางโบราณคดีและโบราณชีววิทยาบ่งบอกว่ามีมนุษย์โฮโมเซเปียนส์ เคยอาศัยอยู่ในเกาะปาลาวันตั้งแต่ประมาณ 50,000 ปีก่อน ชนเผ่าที่พูดภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งมีถิ่นกำเนิดอยู่บนเกาะฟอร์โมซาหรือไต้หวันในปัจุบันได้อพยพโดยทางเรือเข้ามาตั้งรกรากในหมู่เกาะฟิลิปปินส์และจัดตั้งเส้นทางเครือข่ายการค้ากับเอเชียอาคเนย์ส่วนที่เหลือทั้งหมดตั้งแต่ 5,000 ปีก่อนคริสตกาล สภาพดั่งเดิมของฟิลิปปินส์ อยู่ในสภาพของยุคหินใหม๋ยังไม่ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีน ดังเช่นประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชนชาวพื้นเมืองดั่งเดิมเป็นชนเชื้อสายอินโดนีเซีย - มาเลเซีย ซึ่งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณเกาะต่างๆ ของฟิลิปปิส์ การมาตั้งถ่ินฐานนั้น มาโดยเรือเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มแยกย้ายไปตั้งหมู่บ้านเรียกว่า บารังไก ตามชื่อเรือที่ใช้อพยพมา มีหัวหน้าหมู่บ้านเรียกว่า ดาดูซึ่งเคยเป็นกัปตันเรือ การตั้งหมู่บ้านจะกระจายไปตามเกาะ ทำให้การติดต่อระหว่างกันไม่ค่อยมี ส่วนในด้านการปกครองนั้นเป็นแบบพ่อปกครองลูกโครงสร้างทางการปกครองเป็นแบบ
ง่ายๆ มี 4 ชนชั้นคือ ดาตู และครอบครัวขุนนาง อิสระชน ทาส ในส่วนของกฎหมายและกฎระเบีบการปกครองนั้นยังไม่มี สถาบันที่สำคัญคือ ศาสนา ซึ่งมีพ่อมดหมอผีเป็นผุ้มีอิทธิพลในสังคม จากการนับถือศาสนาเป็นแบบ นับถือภูตผี บูชาธรรมชาติ พวกเขาเชื่อว่ามีพระผุ้สร้างโลกสูงสุ คือ บาฮารา และบาอารามีสาวก ผ่ายดีและผ่ายชั่ว เรียกว่า ดิวาทาส เป็นผู้กำหนดการประกอบพิธีบวงสรวง เทพฝ่ายดีและฝ่ายชั่วคือ พ่อมด หมอผี ว่าจะประกอบพิธีเมื่อไหร่ ที่ใด สถานที่ประกอบพิธีนั้นไม่มีเฉพาะ พ่อมด หมอผีจะเป้นผู้กำหนด ที่เป็นดังนี้เพราะสภาพภูมิศาสตร์ และสภาพธรรมชาติของหมู่เกาะ ซึ่งฟิลิปินส์นั้นมีภัยธรรมชาติอยู่เนืองๆ จึงทำให้พ่อมด หมอผีมีอิทธิพลต่อประชาชนมาก และมากกว่าหรือเท่ากับดาตู อีกทั้งยังด้รับค่าประกบอพิะี เครื่องเซ่นสังเวยจากประชาชนเป็นจำนวนมาก ทางด้านเศรษฐกิจนั้น ประชาชนทำการเกษตรและการประมงไม่มีการค้าขาย มีแต่การแลกเปลี่ยนสินค้า และไม่มีการใช้เงินตรา นานๆ ครัั้งจะมีพ่อค้าต่างชาติแวะมาจอดเรือและเปลี่ยนสินค้า
ยุคอิสลาม นับแต่คริสต์ศตวรรษที่ 9 ศาสนอิสลามได้แผ่เข้าสู่หมู่เกาะทางตอนใต้ของ
ฟิลิปปินส์ หรือมานบุลาสแล้วครั้งถึงปี ค.ศ. 1380 ชาวมุสลิมก็สามารถสถาปรนารัฐอิสลามขึ้นในหมู่เกาะซุลู โดยมีนักเผยแพร่ศาสนาที่ชื่อ ชันด์ ชะรฟ กะรีม มัคคุมเข้ามาเผยแผรอิสลามในหมู่เกาะต่างๆ ของซูลู ก่อนหน้านั้นเป้นเวลานาน จนกระทั่ง ซัยยิด อบูบักร อิบนุ ชะรีฟ มุฮำหมัด อิบนิ อะลี อิบนี ซัยบิลอาบีดีน ได้เกินทางจากรัฐสุลต่านแห่งยะโฮร์ มายังหมู่เกาะซูลูในราวปี ค.ศ. 1450 ซัยยิดอบูบักรได้มาถึงซูลูหลังจากรายา บะกินดา จากมินังกะเบา สุมตรา ได้ลงพำนัก และเผยแผ่ศาสนาอิสลามในหมู่เหาะซูชูเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว ซัยยิด อบูบักรได้สมรสกับบุตรของรายาบะกินดา ที่มีนามว่า ประไหมสุหรี เมื่อรายาบะกิดา สิ้นชีวิต ซัยยิด อบูบักร ก็กลายเป็นผุ้สืบทอดอำนาจและได้รับการขนานนามว่า สุลต่านแห่งวูลู(th.wikipedia.org/../ประเทศฟิลิปปินส์)
การเดินทางมาถึงของนักสำรวจชาวโปร์ตุเกศ เฟอร์ดินาน แมเกลแลน ซึ่งได้รับงานสำรวจให้กับสเปน ในช่วงปี ค.ศ. 1521 นับเป้นครั้งแรกที่ชาวตะวันตกไ้ด้เข้ามารู้จักหมู่เกาะฟิลิปปินส์ หลังจากที่พยายามเปลี่ยนคนพื้นเมืองไปนับถือศษสนาคริสต์ได้ทำให้เกิดขัดแย้งกับหัวหน้าเผ่าพื้นเมือง ในการฃสู้รบแมเกลเลน ถูกฆ่าตาย แต่มีเรือของเขาสามารถกลับไปยังสเปนได้ ต่อ
มามีการจัดตั้งชุมชนสเปนครั้งแรกในหมู่เกาะนี้ เมืองปี ค.ศ. 1565 นักบวชคริสตนิกายต่างๆ เดินทางเข้ามาสอนศาสนา นักบวชเหล่านี้มาพร้อมกับทหาร ค้นหาชาวพื้นเมืองไปยังเกาะต่างๆ หลักจากนั้นไม่นานสเปนก็จัดตังโบสถ์และค่ายทหาร และแสวงหาทรัพยการมีค่า เช่น ทองคำ และเครื่องเทศ คริสตศาสนานิการโรมันแคธอลักได้กลายเป็นศาสนากระเสหลักของฟิลิปปินส์
ในระหว่างการต่อสู้ที่เกิดขึ้นระหว่างชนเผ่าชาวที่สูง และชนเผ่าบริเวณชายฝั่ง พวกมุสลิมได้ต่อต้าการมาของชาวยุโรปอย่างเหนี่ยวแน่นในเกาะแถบมินดาเนา ในชวงนี้พวกสเปนต้องคอยต่อสู้กับโจรสลัด ชาวจีน กองกำลังของญี่ปุ่น ปอร์ตุเกส ดัช และอังกฤษ และกลุ่มประเทศเหล่านี้สนใจในการมีผลประโยชน์ในฟิลิปปินศ์เช่นกัน
สเปนปกครองฟิลิปินส์กว่า 300 ปี และนับได้ว่ามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นอย่างมาก ในปี ค.ศ. 1781 ฟิลิปปินส์กลายเป็นจัวหวัดหนึ่งของสเปน โดยมีผุ้่าการอาณานิคม ได้สร้างสัมพันะ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศทางด้านนี้ และฟิลิปปินส์ถูกบริหารโดยตรงจสเปน การมีคลองสุเอซในปี ค.ศ. 1869 ได้ช่วยทุ่นเวลาในการเดินทางระหว่างยุโรปกับฟิลิปปินส์ซึ่งทำให้มีลูกลานชนชั้นกลางและชั้นสูงของชาวฟิลิปปินส์ได้เดินทางไปศึกษาในประเทศสเปนและประเทยะโรปอื่นๆ
ผลจากการมีนักศึกษาหัวใหม่ที่ได้รับการศึกษาจากตะวันอตกมากขึ้น จึงเกิดขบวนการประกาศอิสระภาพ ในช่วงเวลานั้นเองได้เกิดการเคลื่อนไหวต่อต้านสเปน ที่ได้มีการปกครองในแบบอาณานิคมอย่างไม่เป็นธรรม โดยใช้ศาสนาบังหน้า และในการปกครองนี้ไม่ได้มีตัวแทนของฟิลิปปินส์ในสภาของสเปนอย่างเพียงพอ โจซ ริซอล ปัฐฐาชนชาวฟิลิปปินส์ได้เป็นผู้นำต่อสู้ในเรื่องนี้ที่ผู้คนรู้จักดีที่สุดคนหนึ่งได้ถูกลงโทษประหารชีวิตฐานก่อการกบก สร้างความไม่สงบ และจัดตั้งกลุ่มผิดกฏหมายในการนี้ได้มีผู้นำชาวฟิลิปปินส์สูงสุด ตั้งสมาคมลับ มีวัตถุประสงค์เพื่อขับไล่ชาวสเปนออกไปจากฟิลิปปินส์ แต่ในที่สุดกระบวนการปฏิวัตินั้นก็แตกสลายเป็นสองกลุ่ม การปฏิวัติต้องหยุดลงชั่วคราว และในที่สุดผุ้นำต้องลี้ภัยไปอยู่ฮ่องกง
ปี ค.ศ. 1898 สหรัฐอเมริกาและสเปนมีความขัดแย้งกับและเกิดสงครามที่เรียกว่า Spaniish-American war ผุ้นำการต่อสู้ของฟิลิปปินส์ที่สำคัญคนหนึ่งได้รับการชักจูงจากฝ่ายสหรัฐฯให้กลับจากลี้ภัย และได้รับการสัญญาว่าฟิลิปปินส์จะได้รับอิสรภาพในลักษณะเดียวกับคิวบา
มิถุนายน 1898 เมื่อชัยชนะใกล้มือ หัวหน้าปฏิวัติได้ประกาศอิสรภาพของฟิลิปปินส์ แต่แล้วก็มาทราบว่าสงครามระหว่างสเปนและสหรัฐที่มะนิลา ทั้งสเปนและสหรัฐไม่ได้สนใจการมีตัวแทนจาฝ่ายฟิลิปปินส์ ในการเจรจาที่ปารีส สเปนถูกบังคับให้ต้องสละเกาะกวม ฟิลิปปินส์ เปอร์โต ริโก้ ให้กับสหรัฐเพื่อแลกกับเงิน 20 ล้านเหรียญ ซึ่งในระยะต่อมาสหรัฐอ้างว่าเป็นของขวัญ ไม่ใช้การซื้อประเทศ
สหรัฐเข้ายึดครองฟิลิปปินส์แทนที่สเปน ซึ่งได้เกิดกบฏต่อต้านโดยชาวฟิลิปปินส์ และเป็นสงครามที่เรียกว่า สงครามฟิลิปปินส์อเมริกา เป็นสงครามที่กินเวลา ถึง 14 ปี ในระหว่างการยึดครองในระยะต่อมา สถานะของฟิลิปปินส์ได้ปรับเปลี่ยนไป ในปี ค.ศ. 1935 ฟิลิปปินส์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่่งของเครือจักรภพของสหรัฐ มีความเป็นอิสระในการปกครองตนเองมากขึ้น แต่อิสรภาพของฟิลิปปินส์ได้รับอย่างสมบูรณ์นั้นคือในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 1946 หลังจากญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองจนผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว
ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสองชาติในเอเชียที่ประกรส่วนใหญ่นับถือศษสนาคริสต์(อีกประเทศคือ ติมอร์-เลสเต) และเป็นหนึ่งใชขาติที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากที่สุด เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกกับตะวันออกที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ อาร์โนลด์ โจดซฟ ทอยน์บี นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้กล่าวไว้ในงานของเขาว่า ประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศลาตินอเมริกาที่ถูกพัดพาไปยังตะวันออก โดยคลื่นทะเลยักษ์
หลักฐานทางโบราณคดีและโบราณชีววิทยาบ่งบอกว่ามีมนุษย์โฮโมเซเปียนส์ เคยอาศัยอยู่ในเกาะปาลาวันตั้งแต่ประมาณ 50,000 ปีก่อน ชนเผ่าที่พูดภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งมีถิ่นกำเนิดอยู่บนเกาะฟอร์โมซาหรือไต้หวันในปัจุบันได้อพยพโดยทางเรือเข้ามาตั้งรกรากในหมู่เกาะฟิลิปปินส์และจัดตั้งเส้นทางเครือข่ายการค้ากับเอเชียอาคเนย์ส่วนที่เหลือทั้งหมดตั้งแต่ 5,000 ปีก่อนคริสตกาล สภาพดั่งเดิมของฟิลิปปินส์ อยู่ในสภาพของยุคหินใหม๋ยังไม่ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีน ดังเช่นประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชนชาวพื้นเมืองดั่งเดิมเป็นชนเชื้อสายอินโดนีเซีย - มาเลเซีย ซึ่งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณเกาะต่างๆ ของฟิลิปปิส์ การมาตั้งถ่ินฐานนั้น มาโดยเรือเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มแยกย้ายไปตั้งหมู่บ้านเรียกว่า บารังไก ตามชื่อเรือที่ใช้อพยพมา มีหัวหน้าหมู่บ้านเรียกว่า ดาดูซึ่งเคยเป็นกัปตันเรือ การตั้งหมู่บ้านจะกระจายไปตามเกาะ ทำให้การติดต่อระหว่างกันไม่ค่อยมี ส่วนในด้านการปกครองนั้นเป็นแบบพ่อปกครองลูกโครงสร้างทางการปกครองเป็นแบบ
ง่ายๆ มี 4 ชนชั้นคือ ดาตู และครอบครัวขุนนาง อิสระชน ทาส ในส่วนของกฎหมายและกฎระเบีบการปกครองนั้นยังไม่มี สถาบันที่สำคัญคือ ศาสนา ซึ่งมีพ่อมดหมอผีเป็นผุ้มีอิทธิพลในสังคม จากการนับถือศาสนาเป็นแบบ นับถือภูตผี บูชาธรรมชาติ พวกเขาเชื่อว่ามีพระผุ้สร้างโลกสูงสุ คือ บาฮารา และบาอารามีสาวก ผ่ายดีและผ่ายชั่ว เรียกว่า ดิวาทาส เป็นผู้กำหนดการประกอบพิธีบวงสรวง เทพฝ่ายดีและฝ่ายชั่วคือ พ่อมด หมอผี ว่าจะประกอบพิธีเมื่อไหร่ ที่ใด สถานที่ประกอบพิธีนั้นไม่มีเฉพาะ พ่อมด หมอผีจะเป้นผู้กำหนด ที่เป็นดังนี้เพราะสภาพภูมิศาสตร์ และสภาพธรรมชาติของหมู่เกาะ ซึ่งฟิลิปินส์นั้นมีภัยธรรมชาติอยู่เนืองๆ จึงทำให้พ่อมด หมอผีมีอิทธิพลต่อประชาชนมาก และมากกว่าหรือเท่ากับดาตู อีกทั้งยังด้รับค่าประกบอพิะี เครื่องเซ่นสังเวยจากประชาชนเป็นจำนวนมาก ทางด้านเศรษฐกิจนั้น ประชาชนทำการเกษตรและการประมงไม่มีการค้าขาย มีแต่การแลกเปลี่ยนสินค้า และไม่มีการใช้เงินตรา นานๆ ครัั้งจะมีพ่อค้าต่างชาติแวะมาจอดเรือและเปลี่ยนสินค้า
ยุคอิสลาม นับแต่คริสต์ศตวรรษที่ 9 ศาสนอิสลามได้แผ่เข้าสู่หมู่เกาะทางตอนใต้ของ
ฟิลิปปินส์ หรือมานบุลาสแล้วครั้งถึงปี ค.ศ. 1380 ชาวมุสลิมก็สามารถสถาปรนารัฐอิสลามขึ้นในหมู่เกาะซุลู โดยมีนักเผยแพร่ศาสนาที่ชื่อ ชันด์ ชะรฟ กะรีม มัคคุมเข้ามาเผยแผรอิสลามในหมู่เกาะต่างๆ ของซูลู ก่อนหน้านั้นเป้นเวลานาน จนกระทั่ง ซัยยิด อบูบักร อิบนุ ชะรีฟ มุฮำหมัด อิบนิ อะลี อิบนี ซัยบิลอาบีดีน ได้เกินทางจากรัฐสุลต่านแห่งยะโฮร์ มายังหมู่เกาะซูลูในราวปี ค.ศ. 1450 ซัยยิดอบูบักรได้มาถึงซูลูหลังจากรายา บะกินดา จากมินังกะเบา สุมตรา ได้ลงพำนัก และเผยแผ่ศาสนาอิสลามในหมู่เหาะซูชูเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว ซัยยิด อบูบักรได้สมรสกับบุตรของรายาบะกินดา ที่มีนามว่า ประไหมสุหรี เมื่อรายาบะกิดา สิ้นชีวิต ซัยยิด อบูบักร ก็กลายเป็นผุ้สืบทอดอำนาจและได้รับการขนานนามว่า สุลต่านแห่งวูลู(th.wikipedia.org/../ประเทศฟิลิปปินส์)
การเดินทางมาถึงของนักสำรวจชาวโปร์ตุเกศ เฟอร์ดินาน แมเกลแลน ซึ่งได้รับงานสำรวจให้กับสเปน ในช่วงปี ค.ศ. 1521 นับเป้นครั้งแรกที่ชาวตะวันตกไ้ด้เข้ามารู้จักหมู่เกาะฟิลิปปินส์ หลังจากที่พยายามเปลี่ยนคนพื้นเมืองไปนับถือศษสนาคริสต์ได้ทำให้เกิดขัดแย้งกับหัวหน้าเผ่าพื้นเมือง ในการฃสู้รบแมเกลเลน ถูกฆ่าตาย แต่มีเรือของเขาสามารถกลับไปยังสเปนได้ ต่อ
มามีการจัดตั้งชุมชนสเปนครั้งแรกในหมู่เกาะนี้ เมืองปี ค.ศ. 1565 นักบวชคริสตนิกายต่างๆ เดินทางเข้ามาสอนศาสนา นักบวชเหล่านี้มาพร้อมกับทหาร ค้นหาชาวพื้นเมืองไปยังเกาะต่างๆ หลักจากนั้นไม่นานสเปนก็จัดตังโบสถ์และค่ายทหาร และแสวงหาทรัพยการมีค่า เช่น ทองคำ และเครื่องเทศ คริสตศาสนานิการโรมันแคธอลักได้กลายเป็นศาสนากระเสหลักของฟิลิปปินส์
ในระหว่างการต่อสู้ที่เกิดขึ้นระหว่างชนเผ่าชาวที่สูง และชนเผ่าบริเวณชายฝั่ง พวกมุสลิมได้ต่อต้าการมาของชาวยุโรปอย่างเหนี่ยวแน่นในเกาะแถบมินดาเนา ในชวงนี้พวกสเปนต้องคอยต่อสู้กับโจรสลัด ชาวจีน กองกำลังของญี่ปุ่น ปอร์ตุเกส ดัช และอังกฤษ และกลุ่มประเทศเหล่านี้สนใจในการมีผลประโยชน์ในฟิลิปปินศ์เช่นกัน
สเปนปกครองฟิลิปินส์กว่า 300 ปี และนับได้ว่ามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นอย่างมาก ในปี ค.ศ. 1781 ฟิลิปปินส์กลายเป็นจัวหวัดหนึ่งของสเปน โดยมีผุ้่าการอาณานิคม ได้สร้างสัมพันะ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศทางด้านนี้ และฟิลิปปินส์ถูกบริหารโดยตรงจสเปน การมีคลองสุเอซในปี ค.ศ. 1869 ได้ช่วยทุ่นเวลาในการเดินทางระหว่างยุโรปกับฟิลิปปินส์ซึ่งทำให้มีลูกลานชนชั้นกลางและชั้นสูงของชาวฟิลิปปินส์ได้เดินทางไปศึกษาในประเทศสเปนและประเทยะโรปอื่นๆ
ผลจากการมีนักศึกษาหัวใหม่ที่ได้รับการศึกษาจากตะวันอตกมากขึ้น จึงเกิดขบวนการประกาศอิสระภาพ ในช่วงเวลานั้นเองได้เกิดการเคลื่อนไหวต่อต้านสเปน ที่ได้มีการปกครองในแบบอาณานิคมอย่างไม่เป็นธรรม โดยใช้ศาสนาบังหน้า และในการปกครองนี้ไม่ได้มีตัวแทนของฟิลิปปินส์ในสภาของสเปนอย่างเพียงพอ โจซ ริซอล ปัฐฐาชนชาวฟิลิปปินส์ได้เป็นผู้นำต่อสู้ในเรื่องนี้ที่ผู้คนรู้จักดีที่สุดคนหนึ่งได้ถูกลงโทษประหารชีวิตฐานก่อการกบก สร้างความไม่สงบ และจัดตั้งกลุ่มผิดกฏหมายในการนี้ได้มีผู้นำชาวฟิลิปปินส์สูงสุด ตั้งสมาคมลับ มีวัตถุประสงค์เพื่อขับไล่ชาวสเปนออกไปจากฟิลิปปินส์ แต่ในที่สุดกระบวนการปฏิวัตินั้นก็แตกสลายเป็นสองกลุ่ม การปฏิวัติต้องหยุดลงชั่วคราว และในที่สุดผุ้นำต้องลี้ภัยไปอยู่ฮ่องกง
ปี ค.ศ. 1898 สหรัฐอเมริกาและสเปนมีความขัดแย้งกับและเกิดสงครามที่เรียกว่า Spaniish-American war ผุ้นำการต่อสู้ของฟิลิปปินส์ที่สำคัญคนหนึ่งได้รับการชักจูงจากฝ่ายสหรัฐฯให้กลับจากลี้ภัย และได้รับการสัญญาว่าฟิลิปปินส์จะได้รับอิสรภาพในลักษณะเดียวกับคิวบา
มิถุนายน 1898 เมื่อชัยชนะใกล้มือ หัวหน้าปฏิวัติได้ประกาศอิสรภาพของฟิลิปปินส์ แต่แล้วก็มาทราบว่าสงครามระหว่างสเปนและสหรัฐที่มะนิลา ทั้งสเปนและสหรัฐไม่ได้สนใจการมีตัวแทนจาฝ่ายฟิลิปปินส์ ในการเจรจาที่ปารีส สเปนถูกบังคับให้ต้องสละเกาะกวม ฟิลิปปินส์ เปอร์โต ริโก้ ให้กับสหรัฐเพื่อแลกกับเงิน 20 ล้านเหรียญ ซึ่งในระยะต่อมาสหรัฐอ้างว่าเป็นของขวัญ ไม่ใช้การซื้อประเทศ
สหรัฐเข้ายึดครองฟิลิปปินส์แทนที่สเปน ซึ่งได้เกิดกบฏต่อต้านโดยชาวฟิลิปปินส์ และเป็นสงครามที่เรียกว่า สงครามฟิลิปปินส์อเมริกา เป็นสงครามที่กินเวลา ถึง 14 ปี ในระหว่างการยึดครองในระยะต่อมา สถานะของฟิลิปปินส์ได้ปรับเปลี่ยนไป ในปี ค.ศ. 1935 ฟิลิปปินส์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่่งของเครือจักรภพของสหรัฐ มีความเป็นอิสระในการปกครองตนเองมากขึ้น แต่อิสรภาพของฟิลิปปินส์ได้รับอย่างสมบูรณ์นั้นคือในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 1946 หลังจากญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองจนผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว
วันศุกร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Pacific Ocean
มหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน หมายถึง "สงบสุข" คือผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก กินเพื้นที่ประมาณ 180 ล้านตารางกิโลเมตรหรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติก ที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝังทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกา ที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างทีสุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตกอยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซีย ถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลกคือ ร่องลึกมาเรียนา อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร
มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ ส่วนใหย่อยุ่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรแประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญ๊่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลืองทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ผิวประมาณ 70,722,600 ตารางไมล์ ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนจ่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโปลด์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะลาสการ์และกระแสน้ำอุนคุโระชิโอะ(th.wikipedia.org/../มหาสมุทรแปซิฟิก)
เอเชียแปซิฟิก หรืออาจเรียกว่า Apac เป็นภูมิภาคของโลกที่อยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออก เอชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย และเอเชียเนีย ซึ่งอาจรวมไปถึงเอเชียใต้ สหพันธรัฐรัสเซีย และประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกด้วย
คำว่า "เอเชียแปซิฟิก" ได้กลายมาเป็นคำยอดนิยมหลังจากช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เนื่องจากเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภูมิภาคเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีการปฏิสัมพันธ์ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ(th.wikipedia.org/../เอเซียแปซิฟิก)
ที่มาของ เอเปค Asia-Pacific Economic Cooperation-APEC คือ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน เอเชีย-แปซิฟิก กรอบความร่วมมือนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 เพื่อตอบสนองต่อภาวะการพึ่งพาซึงกันและกัน ของเศรษฐกิจในเอลีย-แปซิฟิก เพื่อมากึ้น จากจุดเร่ิมต้นด้วยการหารืออย่างไม่เป็ฯทางการในระดับ รัฐมนตรีด้วยสามชิกเพียง 12 ราย เอเปคได้พัฒนาจนกลายมาเป็นเวทีในระดับภูมิภาคที่มีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเอเปคได้เร่ิมจัดการพลปะระหว่างผุ้นำเป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบัน เอเปคมีสมาชิก 21 เขตเศรษฐกิจ มีประชกรรวมกันประมาณ 2,500 ล้านคนมีผลิตภัณฑ์มวลรวประชาชาติรวมกันกว่า 18 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2544 และการค้าระหว่างประเทศกว่า ร้อยละ 69 ของไทยเป็นการค้ากับสมาชิกเอเอค ด้วยศักยภาพข้างต้น เอเปคได้ กลายมาเป็นพลังผลักดันการค้าแบบเปิดและความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการอย่างแท้จริง
วัตถุประสงค์ของเอเปค มีป้าหมายในการส่งเสริมการขยายตัวทางเสรษฐกิจ และสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วมเป็นประชาคม ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ในแต่ละปี ผุ้นำและรัฐมนตรีเอเปกจะมาพบกันเพื่อพบทวนความ คืบหน้าของการ ดำเนินงาน และกำหนดเป้ามหายวัตถุประสงค์หลักของความร่วมือในปีต่อๆ ไป เป้าหมายที่โดดเด่นที่สุด อันหนึ่งของเอเปค คือ "เป้าหมายโบกอร์" ที่จะส่งเสริมการเปิดเสรีด้านการค้าและการลงทุนในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก โดยเริ่มจากสมาชิกที่พัฒนาแล้วภายใน ปี 2553 และสำหรับสมาชิกกำลังพัฒนาที่เหลือภายในปี 2563 โบกอร์เป็นชื่อของเมืองชายทะเลตั้งอยู่บนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นสถานที่ประชุมผุ้นำ เศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 2 เมื่อปี 2537 เอเปคไม่เหมือนองค์กรอื่น เช่น สหประชาชาติ ที่ต้องมีการลงคะแนนเสียงในกระบวนการตัดสินใจบางครั้ง หรือองค์การการค้าโลกที่ประเทศสมาชิกต่างพยายามปกป้อง ผลประโยชน์ด้านการค้า ของตนอย่างเต็มที่ แต่เอเปคดำเนินการบนพื้นฐานของฉันทามติ ความสมัครใจ และการดำเนินการใน กรอบเวลาที่ต่างกัน นอกจากนี้เอเปคยังเป็นองค์กรที่มีลักษณะพิเศษตรงที่สามารถคุยกันใน เรื่องของความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างสมาชิกที่พัฒนาแล้วกับสมาชิกที่ กำลังพัฒนาได้ ...(oic.mnre.go.th/..APEC ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน เอเชีย- แปซิฟิก)
ฟิลิปปินส์หนึ่งในสมาชิกอาเซียนและเป็นดินแดนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มีลักษณะพิเศษคือเป็นประเทศที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะจำนวนส 7,107 เกาะ โดยมีเกาะใหญ่ 11 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกันเท่ากับร้อยละ 90 ของพื้นที่ทั้งหมด 298,170 ตารางกิโลเมตร ในบรรดาเกาะทั้งหมดมีเกาะที่มีคนอาศัยอยู่เพียงราว 900 เกาะเท่านั้น เกาะที่ใหย่ที่สุดคือ เกาะลูซอน ที่อยู่ทางเหนือ และเกาะมินดาเนา ที่อยู่ทางใต้เกาะต่างๆ ของฟิลิปปินส์แบ่งออกเป็น 3 หมู่ คือ เกาะเหนือ ประกอบด้วย สองเกาะใหญ่ๆ คือ เกาะลูซอน และเกาะมินโดโร หมู่กลาง เรียกว่า Visa yas ประกอบด้วยเกาะต่างๆ ประมาณ 7,000 เกาะ หมู่เกาะใต้ ประกอบด้วย เกาะมินดาเนา และ Sulu Archipa lago ซึ่งหมายถึง หมู่เกาะต่างๆ ประมาณ 400 เกาะ ที่อยู่เรียงรายทางใต้ของเกาะมินดาเนา ไปจนถึงทางทิศตะวันตกของเกาะบอร์เนียว
มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ ส่วนใหย่อยุ่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรแประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญ๊่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลืองทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ผิวประมาณ 70,722,600 ตารางไมล์ ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนจ่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโปลด์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะลาสการ์และกระแสน้ำอุนคุโระชิโอะ(th.wikipedia.org/../มหาสมุทรแปซิฟิก)
เอเชียแปซิฟิก หรืออาจเรียกว่า Apac เป็นภูมิภาคของโลกที่อยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออก เอชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย และเอเชียเนีย ซึ่งอาจรวมไปถึงเอเชียใต้ สหพันธรัฐรัสเซีย และประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกด้วย
คำว่า "เอเชียแปซิฟิก" ได้กลายมาเป็นคำยอดนิยมหลังจากช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เนื่องจากเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภูมิภาคเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีการปฏิสัมพันธ์ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ(th.wikipedia.org/../เอเซียแปซิฟิก)
ที่มาของ เอเปค Asia-Pacific Economic Cooperation-APEC คือ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน เอเชีย-แปซิฟิก กรอบความร่วมมือนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 เพื่อตอบสนองต่อภาวะการพึ่งพาซึงกันและกัน ของเศรษฐกิจในเอลีย-แปซิฟิก เพื่อมากึ้น จากจุดเร่ิมต้นด้วยการหารืออย่างไม่เป็ฯทางการในระดับ รัฐมนตรีด้วยสามชิกเพียง 12 ราย เอเปคได้พัฒนาจนกลายมาเป็นเวทีในระดับภูมิภาคที่มีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเอเปคได้เร่ิมจัดการพลปะระหว่างผุ้นำเป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบัน เอเปคมีสมาชิก 21 เขตเศรษฐกิจ มีประชกรรวมกันประมาณ 2,500 ล้านคนมีผลิตภัณฑ์มวลรวประชาชาติรวมกันกว่า 18 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2544 และการค้าระหว่างประเทศกว่า ร้อยละ 69 ของไทยเป็นการค้ากับสมาชิกเอเอค ด้วยศักยภาพข้างต้น เอเปคได้ กลายมาเป็นพลังผลักดันการค้าแบบเปิดและความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการอย่างแท้จริง
วัตถุประสงค์ของเอเปค มีป้าหมายในการส่งเสริมการขยายตัวทางเสรษฐกิจ และสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วมเป็นประชาคม ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ในแต่ละปี ผุ้นำและรัฐมนตรีเอเปกจะมาพบกันเพื่อพบทวนความ คืบหน้าของการ ดำเนินงาน และกำหนดเป้ามหายวัตถุประสงค์หลักของความร่วมือในปีต่อๆ ไป เป้าหมายที่โดดเด่นที่สุด อันหนึ่งของเอเปค คือ "เป้าหมายโบกอร์" ที่จะส่งเสริมการเปิดเสรีด้านการค้าและการลงทุนในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก โดยเริ่มจากสมาชิกที่พัฒนาแล้วภายใน ปี 2553 และสำหรับสมาชิกกำลังพัฒนาที่เหลือภายในปี 2563 โบกอร์เป็นชื่อของเมืองชายทะเลตั้งอยู่บนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นสถานที่ประชุมผุ้นำ เศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 2 เมื่อปี 2537 เอเปคไม่เหมือนองค์กรอื่น เช่น สหประชาชาติ ที่ต้องมีการลงคะแนนเสียงในกระบวนการตัดสินใจบางครั้ง หรือองค์การการค้าโลกที่ประเทศสมาชิกต่างพยายามปกป้อง ผลประโยชน์ด้านการค้า ของตนอย่างเต็มที่ แต่เอเปคดำเนินการบนพื้นฐานของฉันทามติ ความสมัครใจ และการดำเนินการใน กรอบเวลาที่ต่างกัน นอกจากนี้เอเปคยังเป็นองค์กรที่มีลักษณะพิเศษตรงที่สามารถคุยกันใน เรื่องของความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างสมาชิกที่พัฒนาแล้วกับสมาชิกที่ กำลังพัฒนาได้ ...(oic.mnre.go.th/..APEC ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน เอเชีย- แปซิฟิก)
ฟิลิปปินส์หนึ่งในสมาชิกอาเซียนและเป็นดินแดนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มีลักษณะพิเศษคือเป็นประเทศที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะจำนวนส 7,107 เกาะ โดยมีเกาะใหญ่ 11 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกันเท่ากับร้อยละ 90 ของพื้นที่ทั้งหมด 298,170 ตารางกิโลเมตร ในบรรดาเกาะทั้งหมดมีเกาะที่มีคนอาศัยอยู่เพียงราว 900 เกาะเท่านั้น เกาะที่ใหย่ที่สุดคือ เกาะลูซอน ที่อยู่ทางเหนือ และเกาะมินดาเนา ที่อยู่ทางใต้เกาะต่างๆ ของฟิลิปปินส์แบ่งออกเป็น 3 หมู่ คือ เกาะเหนือ ประกอบด้วย สองเกาะใหญ่ๆ คือ เกาะลูซอน และเกาะมินโดโร หมู่กลาง เรียกว่า Visa yas ประกอบด้วยเกาะต่างๆ ประมาณ 7,000 เกาะ หมู่เกาะใต้ ประกอบด้วย เกาะมินดาเนา และ Sulu Archipa lago ซึ่งหมายถึง หมู่เกาะต่างๆ ประมาณ 400 เกาะ ที่อยู่เรียงรายทางใต้ของเกาะมินดาเนา ไปจนถึงทางทิศตะวันตกของเกาะบอร์เนียว
วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
India Ocean
มหาสมุทร เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 ของพื้นผิวโลก (71%) มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจามากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก คำว่า Sea หรือทะเล หากเจาะจงการพูดแล้วหมายถึงแห่งน้ำเค็ม(ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน นักสมุทรศาสตร์ กล่าววา่มหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจได้เพียง 5% ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์
กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ยที่ 3,700 เมตร เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึกๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้นำมากกว่ 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้ จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็ฯแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต (th.wikipedia.org/../มหาสมุทร)
มหาสมุทรอินเดีย เป็นผืนน้ำที่มีขนาดกว้างใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโชก กินพื้นที่ประมาณ 20% ของพื้นน้ำในโลกทางเหนือติดกับตอนใต้ของทวีปเอเชีย(อนุทวีปอินเดีย) ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกา ทางตะวันออกติดกับจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ตของประเทศไทย
ทะเลอันดามัน คาบสมุทรมลายู หมู่เกาะซุนดา หมู่เกาสิมิลัน ประเทศออสเตรเลียและอ่าวพังงาทางใต้ติดกับมหาสมุทรใต้ แยกจากมหาสมุทรแอตแลนติก ที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกาบนเส้นเมริเดียน 20องศาตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรแปซิฟิกที่เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันออก ตอนเหนือสุดขงอมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30 องศาเหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยุ่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริการและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นที่ 73,556,000 ตารางกิโลเมตร (รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย)ทั้งหมากสมุทรมีปริมาตรประมาณ 292,131,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ริมขอบของมหาสมุทรมีเกาะขนาดเล็จำนวนมาก ประเทศที่เป็นเกาะในมหาสมุทรอินเดียได้แก่ มาดัสการ์ ซึ่งเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก รวมท้ง คอโมรอส เซเชลส์ มัลดีฟส์ ประเทศมอริเชียส และศรีลังกา กั้นเขตแตนด้วยประเทศอินโดนีเซีย และจังหวัดเกาะในมหาสมุทรอินเดีย คือ จังหวัดภูเก็ตของประเทศไทย มหาสมุทรอินเดียมีความสำคัญในฐานะเส้นทางผ่านระว่งเอเชียและแอฟริกา ในอดีตจึงมีข้อพิพาทบ่อยครั้ง แต่เนื่องจากมหาสมุทรมีขนาดใหญ่ ไม่มีประเทศใดที่สามารถครอบครองได้จนกระทั่งต้นทศวรรษ 1800 เมื่อสหราชอาณาจักรเข้าควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่รอบๆ (www.th.wikipedia.org/../มหาสมุทรอินเดีย)
คลื่นสึนามิ แปลเป็นไทยว่า คลื่นท่าเรือ หรือคลื่นชายฝั่ง เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทะของภูเขาไฟและการะเบิดใต้น้ำอื่น (รวมทั้งการจุดระเบิดวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกาาบาตตกและการรบกวนอื่นๆ คลื่นสึนามิไม่
เหมือนกับคลื่นทะเลตามปกติ เพราะมีความยาวเคลื่อนยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก ตามปกติ คลื่นสึนามิเร่ิมแรกอาจดูเหมือนกับว่ากคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน"ความสุงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จาเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสมารถทมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแองมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผุ้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตรื์มนุษยชติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย (th.wikipedia.org/../คลื่นสึนามิ)
26 ธันวาคม 2547 เช้าวันใหม่หลังคือแห่งการเฉลิมฉลองคริสต์มาสอย่างสนุกสนาน และเต็มไปด้วยรอยยิ้ม ถูกแทนที่ด้วยรอยน้ำตาและใจแห่งความสูญเสียครั้งใหญ่ จากมฤตยูใต้น้ำที่ไม่มีใครคาดคิด สถานีวิทยะกรจายเสียงบีบีซี ของอังกฤษ โทรทัศน์แลดสื่อทุกประเภทได้แจ้งข่าวการเดิดแผ่นดินไหว 9.0 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย บริเวณเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย เมื่อเวลา 07.58 น. (ตามเวลาในประเทศไทย) อิทธิพลจากแรงของแผ่นดินไหว ทำให้เกิดคลื่อนยักษ์สึนามิแผ่กระจายออกไปยังชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย นับแต่ศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซย และหมู่เกาะน้อยใหญ่ในมหาสมุทรอินเดีย เช่น มัลดีฟส์ หมู่เกาะอันดามัน และนิโคบาร์ เป็นต้น และเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลกนับแต่ปี ค.ศ. 1900 เป็นต้นมา
แผ่นดินไหวมีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 3.316 องศาเหนือ และลองจิจูด 95.854 องศาตะวันออก ห่างจากปลายด้านเหนือของบริเวณเกาะสุมาตราไปทางทิศตะวันตกประมาณ 25 กิโลเมตร ประเมินกันว่าพลังงานของคลื่นเปรียบได้มากกว่า 5 ล้านตันของระเบิดทีเอ็นที (ซึ่งมากกว่าแรงระเบิดปรมาณู 2 ลูกรวมกันในสงครามโลกครั้งที่ 2) แรงคลื่นแผ่ออกไปเป็นวงรี ไกลกว่า 1,200 กม. ออกไปทั่วมหาสมุทรอินเดียด้วยความเร็วประมาณ ุ600-700กม./ชม. และความยาวคลื่นประมาณ 100 กม.
ซึ่งในขณะที่เคลื่อนกลางทะเลลึก คลื่นมีความสูงประมาณ 0.50 เมตรเท่าน้น แต่เมื่องเข้าใกล้ชายฝั่ง คลื่นจะก่อตัวสูงขึ้นจนมีขนาดสูงถึง 15-35 เมตร เข้าถล่มชายฝั่งอย่างรุนแรง โดยใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมงถึงชายฝั่งศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ พม่าและไทย สิ่งที่น่าสนใจคือ ไม่มีหน่วยงานใดที่เตือนภัยล่วงหน้าได้เลย เนื่องจากไม่มีการติดตั้งเครื่องเตือนภัยที่สมบูรณ์เเบบ
แผนดินไหวครั้งนี้เกิดจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกอินเดียเพลท India Plate ซึ่งอยู่ใต้มหาสมุทรอินเดียเข้าไปข้างใต้แผ่นเปลื่อกโลกเบอร์มิสเพลท Burmese plate บริเวณสุมตรา เกิดรอยแยกยาวประมาณ 960 กม. ออกไปบนพื้นมหาสมุทรทำให้น้ำทะเลหลายล้านตันทะลักเข้าแทนที่ตามรอบแยกนี้ทันใดนั้น น้ำที่เข้าไปแทนที่ตามรอยแยกก็ถูกดันขึ้นสู่ผิวมหาสมุทรอย่างรวดเร็วและกระจายออกไปโดยรอบในรูปของลูกคลื่นถาโถมท่วมเข้ามาในแผนดินไกลกว่า 300 เมตรก่อนจะเปลี่ยนเป็นกระแสน้ำที่ไหลคือนกลับทะเลอย่างรวดเร็ซและรุนแรงพอๆ กันกับสันามิที่ขึ้นฝั่ง กวาดชีวิตผู้คนและทรัพย์สินลงทะเลอย่างรวดเร็วชั่วพริบตาและเป็นสาเหตุที่น้ำทะเลริมฝั่งลดลงผิดปกติอ ซึ่งทำให้ผู้คนที่อยู่บริเวณชายฝั่ยทะเลตื่นตาตื่นใจ จนเรียกผุ้คนบริเวณริมชายฝั่งออกมาดูกัน เพราะอยู่ๆ น้ำทะเลก็ลดลงอย่างผิดปกติ ทันใดนั้นเอง น้ำที่ลดลงก็วิ่งกลับขึ้นมาพร้อมกับคลื่นลูกยักษ์และพลังงานทำลายมหาศาล กวาดชีวิตผู้คน บ้านเรือน และสิ่งต่างๆ บริเวณนั้นลงไปอย่างรวดเร็ว สึนามิคร่าชีวิตผู้คนในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเกินกว่า 2 แสนคน
สำหรับประเทศไทย สึนามิสร้างความเสียหายมหาศาลแก่ 6 จึงหวัดภาคใต้ของไทย อันได้แก่ พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง สตูล และระนอง ทำให้มีผุ้เสียชีวิตราว 5,000 คน สูญหายกว่า 3,000 คน ทรัพย์สินเสียหายไม่น้อยกว่า 60,000 ล้านบาทและความเสียหายทางด้านการทองเทียว การลงทุน การฟื้นฟูสภาพธรรมชาติ ตลอดจนอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ ซึ่งไม่ต่ำกว่า 300,000 ล้านบาท
สึนามิจบลงพร้อมกับทิ้งร่องรอยความบอบช้ำที่ยากแก่การฟื้นฟูไว้ ทั้งปัญหาด้านทรัพยากร เช่นแหล่งที่ทำมาหากินของประชาชนริมฝั่งทะเล เเหล่งทีอยู่อาศัยและอาหารของสัตว์น้ำ พืชพันธุ์ธรรมชาติที่ถูกทพลาย การยุบและทรุดตัวของแผ่นดินในพื้นที่ดังกล่าว และสิ่งที่ดุจะเป็นปัญหาที่สุดคือ น้ำทะเลรุกล้ำเข้าไปในพื้นที่การดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้เกิดปัญหาดินเค็มและการขาดแคลนน้ำจือ ทำให้เกิดการขาดแคลนอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่มนุษย์ต้องใช้เพื่อการอยู่รอด(web.greenworld.or.th/.., "อาเซียนสึนามิ" มฤตยูจากท้องทะเล", ถิรนันท์ เลิสวิจิตรจรัส, 16 พฤศจิกายน 2552)
กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ยที่ 3,700 เมตร เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึกๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้นำมากกว่ 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้ จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็ฯแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต (th.wikipedia.org/../มหาสมุทร)
มหาสมุทรอินเดีย เป็นผืนน้ำที่มีขนาดกว้างใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโชก กินพื้นที่ประมาณ 20% ของพื้นน้ำในโลกทางเหนือติดกับตอนใต้ของทวีปเอเชีย(อนุทวีปอินเดีย) ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกา ทางตะวันออกติดกับจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ตของประเทศไทย
ทะเลอันดามัน คาบสมุทรมลายู หมู่เกาะซุนดา หมู่เกาสิมิลัน ประเทศออสเตรเลียและอ่าวพังงาทางใต้ติดกับมหาสมุทรใต้ แยกจากมหาสมุทรแอตแลนติก ที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกาบนเส้นเมริเดียน 20องศาตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรแปซิฟิกที่เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันออก ตอนเหนือสุดขงอมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30 องศาเหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยุ่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริการและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นที่ 73,556,000 ตารางกิโลเมตร (รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย)ทั้งหมากสมุทรมีปริมาตรประมาณ 292,131,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ริมขอบของมหาสมุทรมีเกาะขนาดเล็จำนวนมาก ประเทศที่เป็นเกาะในมหาสมุทรอินเดียได้แก่ มาดัสการ์ ซึ่งเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก รวมท้ง คอโมรอส เซเชลส์ มัลดีฟส์ ประเทศมอริเชียส และศรีลังกา กั้นเขตแตนด้วยประเทศอินโดนีเซีย และจังหวัดเกาะในมหาสมุทรอินเดีย คือ จังหวัดภูเก็ตของประเทศไทย มหาสมุทรอินเดียมีความสำคัญในฐานะเส้นทางผ่านระว่งเอเชียและแอฟริกา ในอดีตจึงมีข้อพิพาทบ่อยครั้ง แต่เนื่องจากมหาสมุทรมีขนาดใหญ่ ไม่มีประเทศใดที่สามารถครอบครองได้จนกระทั่งต้นทศวรรษ 1800 เมื่อสหราชอาณาจักรเข้าควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่รอบๆ (www.th.wikipedia.org/../มหาสมุทรอินเดีย)
คลื่นสึนามิ แปลเป็นไทยว่า คลื่นท่าเรือ หรือคลื่นชายฝั่ง เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทะของภูเขาไฟและการะเบิดใต้น้ำอื่น (รวมทั้งการจุดระเบิดวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกาาบาตตกและการรบกวนอื่นๆ คลื่นสึนามิไม่
เหมือนกับคลื่นทะเลตามปกติ เพราะมีความยาวเคลื่อนยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก ตามปกติ คลื่นสึนามิเร่ิมแรกอาจดูเหมือนกับว่ากคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน"ความสุงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จาเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสมารถทมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแองมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผุ้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตรื์มนุษยชติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย (th.wikipedia.org/../คลื่นสึนามิ)
26 ธันวาคม 2547 เช้าวันใหม่หลังคือแห่งการเฉลิมฉลองคริสต์มาสอย่างสนุกสนาน และเต็มไปด้วยรอยยิ้ม ถูกแทนที่ด้วยรอยน้ำตาและใจแห่งความสูญเสียครั้งใหญ่ จากมฤตยูใต้น้ำที่ไม่มีใครคาดคิด สถานีวิทยะกรจายเสียงบีบีซี ของอังกฤษ โทรทัศน์แลดสื่อทุกประเภทได้แจ้งข่าวการเดิดแผ่นดินไหว 9.0 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย บริเวณเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย เมื่อเวลา 07.58 น. (ตามเวลาในประเทศไทย) อิทธิพลจากแรงของแผ่นดินไหว ทำให้เกิดคลื่อนยักษ์สึนามิแผ่กระจายออกไปยังชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย นับแต่ศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซย และหมู่เกาะน้อยใหญ่ในมหาสมุทรอินเดีย เช่น มัลดีฟส์ หมู่เกาะอันดามัน และนิโคบาร์ เป็นต้น และเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลกนับแต่ปี ค.ศ. 1900 เป็นต้นมา
แผ่นดินไหวมีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 3.316 องศาเหนือ และลองจิจูด 95.854 องศาตะวันออก ห่างจากปลายด้านเหนือของบริเวณเกาะสุมาตราไปทางทิศตะวันตกประมาณ 25 กิโลเมตร ประเมินกันว่าพลังงานของคลื่นเปรียบได้มากกว่า 5 ล้านตันของระเบิดทีเอ็นที (ซึ่งมากกว่าแรงระเบิดปรมาณู 2 ลูกรวมกันในสงครามโลกครั้งที่ 2) แรงคลื่นแผ่ออกไปเป็นวงรี ไกลกว่า 1,200 กม. ออกไปทั่วมหาสมุทรอินเดียด้วยความเร็วประมาณ ุ600-700กม./ชม. และความยาวคลื่นประมาณ 100 กม.
ซึ่งในขณะที่เคลื่อนกลางทะเลลึก คลื่นมีความสูงประมาณ 0.50 เมตรเท่าน้น แต่เมื่องเข้าใกล้ชายฝั่ง คลื่นจะก่อตัวสูงขึ้นจนมีขนาดสูงถึง 15-35 เมตร เข้าถล่มชายฝั่งอย่างรุนแรง โดยใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมงถึงชายฝั่งศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ พม่าและไทย สิ่งที่น่าสนใจคือ ไม่มีหน่วยงานใดที่เตือนภัยล่วงหน้าได้เลย เนื่องจากไม่มีการติดตั้งเครื่องเตือนภัยที่สมบูรณ์เเบบ
แผนดินไหวครั้งนี้เกิดจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกอินเดียเพลท India Plate ซึ่งอยู่ใต้มหาสมุทรอินเดียเข้าไปข้างใต้แผ่นเปลื่อกโลกเบอร์มิสเพลท Burmese plate บริเวณสุมตรา เกิดรอยแยกยาวประมาณ 960 กม. ออกไปบนพื้นมหาสมุทรทำให้น้ำทะเลหลายล้านตันทะลักเข้าแทนที่ตามรอบแยกนี้ทันใดนั้น น้ำที่เข้าไปแทนที่ตามรอยแยกก็ถูกดันขึ้นสู่ผิวมหาสมุทรอย่างรวดเร็วและกระจายออกไปโดยรอบในรูปของลูกคลื่นถาโถมท่วมเข้ามาในแผนดินไกลกว่า 300 เมตรก่อนจะเปลี่ยนเป็นกระแสน้ำที่ไหลคือนกลับทะเลอย่างรวดเร็ซและรุนแรงพอๆ กันกับสันามิที่ขึ้นฝั่ง กวาดชีวิตผู้คนและทรัพย์สินลงทะเลอย่างรวดเร็วชั่วพริบตาและเป็นสาเหตุที่น้ำทะเลริมฝั่งลดลงผิดปกติอ ซึ่งทำให้ผู้คนที่อยู่บริเวณชายฝั่ยทะเลตื่นตาตื่นใจ จนเรียกผุ้คนบริเวณริมชายฝั่งออกมาดูกัน เพราะอยู่ๆ น้ำทะเลก็ลดลงอย่างผิดปกติ ทันใดนั้นเอง น้ำที่ลดลงก็วิ่งกลับขึ้นมาพร้อมกับคลื่นลูกยักษ์และพลังงานทำลายมหาศาล กวาดชีวิตผู้คน บ้านเรือน และสิ่งต่างๆ บริเวณนั้นลงไปอย่างรวดเร็ว สึนามิคร่าชีวิตผู้คนในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเกินกว่า 2 แสนคน
สำหรับประเทศไทย สึนามิสร้างความเสียหายมหาศาลแก่ 6 จึงหวัดภาคใต้ของไทย อันได้แก่ พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง สตูล และระนอง ทำให้มีผุ้เสียชีวิตราว 5,000 คน สูญหายกว่า 3,000 คน ทรัพย์สินเสียหายไม่น้อยกว่า 60,000 ล้านบาทและความเสียหายทางด้านการทองเทียว การลงทุน การฟื้นฟูสภาพธรรมชาติ ตลอดจนอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ ซึ่งไม่ต่ำกว่า 300,000 ล้านบาท
สึนามิจบลงพร้อมกับทิ้งร่องรอยความบอบช้ำที่ยากแก่การฟื้นฟูไว้ ทั้งปัญหาด้านทรัพยากร เช่นแหล่งที่ทำมาหากินของประชาชนริมฝั่งทะเล เเหล่งทีอยู่อาศัยและอาหารของสัตว์น้ำ พืชพันธุ์ธรรมชาติที่ถูกทพลาย การยุบและทรุดตัวของแผ่นดินในพื้นที่ดังกล่าว และสิ่งที่ดุจะเป็นปัญหาที่สุดคือ น้ำทะเลรุกล้ำเข้าไปในพื้นที่การดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้เกิดปัญหาดินเค็มและการขาดแคลนน้ำจือ ทำให้เกิดการขาดแคลนอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่มนุษย์ต้องใช้เพื่อการอยู่รอด(web.greenworld.or.th/.., "อาเซียนสึนามิ" มฤตยูจากท้องทะเล", ถิรนันท์ เลิสวิจิตรจรัส, 16 พฤศจิกายน 2552)
วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Republik Indonesia II (Vereenigde Oostindische Compagnie)
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย หรืออินโดนีเซีย มีระบบการเมืองการปกครองแบบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย มีประธานนาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและหัวหน้าบริหาร ระบบเศรษฐกิจ และทรัพยากรที่สำคัญในอดีตเศรษฐกิจของอินโดนีเซียพึ่งพาการส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมเป็นหลัก แต่หลังเกิดิกฤตการณ์น้ำมันในตลาดโลกอินโดนีเซียจึคงหันมาพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ ได้แก่ การกลั่นน้ำมัน การต่อเรือ ปรพกอบรถยนต์ และการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อินโดนีเซียมีความสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม่และแร่ธาตุต่างๆ เช่น น้ำก๊าซ ธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุกแฃละเหล็ก รวมทั้งมีภูมิประทเศที่เอื้อต่การทำประมงจับสัตว์น้ำและทำเกษตรกรรม โดยปลูกพืชแบบขั้นันได สกุลเงิน คือ รูเปียห์ ตัวย่อ IRD อัตราแลกเปลี่ยนโดยประมาณ 300 รูเปียห์ ต่อ 1 บาท ประชากร ประมาณ 251.5 ล้านคน ( พ.ศ.2557) ส่วนใหญ่เป็ฯชาวชวา ภาษาประจำชาติ ภาษราชการคือ ภาษาอินโดนีเซีย
บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา V.O.C. ดำเนินกิจการในรูปแบบกิจการรัฐวิสาหกิจ ตั้งสถานีการค้าที่บันทัม เนื่องจากนโยบายของผุ้ปกครองบันทัมยินดีต้อนรับพ่อค้าต่างชาติพ่อค้าคนแรกของดัช คือ สรคเวน แวนเดอร์ ฮาเกน ได้ทำสัญญาผูกขาดการค้ากานพลู ในนามของพ่อค้าสมาคมชาวดัช การค้าในแต่ละเมืองจะจัดส่งเรือออกไปอย่างเป็นอิสระ โดยผลกำไรและขาดทุนจะมาเฉลี่ยทั่วกัน ในที่สุด V.O.C. ก็เข้าควบคุมโรงเก็บสินค้าทั้งหมดที่ฮอลันดาตั้งขึ้นเชนที่เกาะเทอร์เนตในหมู่เกาะโมลุกะ บันดา บันทัมและกรีสิกริมฝั่งชวาเหนือ ปัตตานี ยะโฮร์ลบนเเหลมมาลายูและอาเจะห์ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสุมาตรา
ดัชปกครองอินโดนีเซียแบ่งได้เป็น 2 ระยะ
- ระยะเศรษฐกิจ ระยะแรกเริ่ม ดัชสนใจเพียงแค่การค้าเพียงอย่างเดียว ไม่สนใจครอบครองดินแดน การผูกขากการค้าเครื่องเทศ ในปมู่เกาะเครื่องเทศ ผูกขาดการค้าข้าวในชวา และการผูกขาดการค้าอื่น ๆ ได้ผลเป็นอย่างดี ไม่มีความจำเป้ฯจะต้องครอบครองดินแดนแต่อย่างใด การใช้นโยบายผูกขาดทางการค้าไปพร้อมๆ กับ ขจัดอิทธิพลของชาติอื่นคือ โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ โดยเสนอผลประโยชน์ให้สุลต่านในการทำสัญฐญาผูกขาดเครื่องเทศ ให้เงินตอบแทนและขายอาวุธให้ขยายอำนาจทางการค้าไปยังดินแดนจ่างๆ โดยเฉพาะในหมู่เกาะเครื่องเทศ พร้อมๆ กับคุกคามโปรตุเกสให้ถอนกำลังทางการค้าในบริเวณภูมิภาคนี้ อีกทั้งปราบปรามอังกฤษให้แข่งขันทางการค้า
ใช้วิธีการปกครองแบบ Priangan System แบ่งดินแดนการปกคอรงออกเป็นเขตๆ แต่งตั้งหวหน้าชาวพื้นเมืองของแต่ละเขตเรียกว่า รีเจ้นท์ มีหน้าที่ควบคุม ดูแลชาวพื้นเมืองเพาะปลูก และส่งผลผิจให้กับ V.O.C. ในราคาที่บริษัทกำหนดไว้ รีเจนท์ จะไม่ได้รับเงินเดือน แต่จะได้รับสิทธิทางภาษีจากประชชนในเขตคการปกครองของตน ภายใต้เงื่อนไขของบริษัทว่าต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการชาวพื้อนเมือง แต่การจัดการปกครองแบบนี้ทำให้ รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก มักทำอะไรตามอำเภอใจ ดำเนินกิจการต่างๆ เป็นอิสระ รีเจ้นท์ นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ฮิลันดาเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองภายใน และเริ่มใ้นโยบายควบคุมดินแดน
อย่างไรก็ตามในระยะเริ่มแรกนี้ การผูกขาดทางการค้าได้ผลดีเป็นอย่างยิ่ง ดัชทำการปกครองทางอ้อม ปล่อยให้ชาวพื้นเมืองปกครองตนเองของครอบครัวและหมู่บ้านที่เรียกว่า เดสา ตามกฎหมายและจารีตประเพณีพื้นเมือง อะดาท ดัชรักษาเพียงผลประโยชน์ทางการค้าเท่านั้น แตเนืองจากการที่ชาวพื้นเมืองลักลอบขายสินค้าให้กับโปรตุเกส อังกฤษ สเปนและอาหรับ เนือ่งจากชาติเหล่านี้ให้ระคาสูงกว่า รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก เกิดการทะเลาะขัแย้งกันเอง กดขีคนพื้นเมือง บริษัทจึงเข้าแทรกแซง และควบคุมการตรวจสอบ อีกทั้งปัญหาโจรสลัดปล้นเรือสินค้า ของ V.O.C.
การแทรกแซงทางการเมืองและการทำสงคราม เมื่อคนพื้นเมืองไม่ทำสัญญาทางการค้าก็จะใช้กำลังทางการทหารบีบบังคับและถ้าดินแดนใดที่เห็นว่ามีประโยชน์ทางการค้าแก่ฮิลันดา เกิดการแตกแยกภายใน ฮอลันดาจะเข้าแทรกแซงทันที
ปกครองระบบพาณิชย์นิยม บริษัทซื้อสินค้าโดยตรงกับคนพื้นเมืองโดยตรง จ่ายเงินให้กับผุ้ผลิต เนื่องจากบริษัทมีภาระทางการเงินมาก จึงมอบให้สุลต่านเป็นผู้ดูแล มีการนำระบบบังคับการเกษตรมาใช้สุลต่านผูกพันสัญญากับบริษัท ดัชปกครองชวาอย่างใกล้ชิด ในส่วนท้องถิ่นและเกาะรอบนอกผู้นำยังคงปกครองต่อไป ตราบเท่าที่การค้ายังคงดำเนินไปตามกฎของบริษัท แต่หากรัฐใดทำผิดกฎติดต่อค้าขายกับชาติอื่น ดังจะลงโทษทันที ดัชขยายการปกครองไปทั่วดินแนอินโดนีเซยและเก็บเกี่ยวพืชผลทางเกษตร การแสวงหาผลประโยชน์โดยปราศจากความเตราเมื่อดัชย้ายศูนย์กลางการปกครองและการค้าไปยู่ปัตาเวยแารปกครองเข้มงวดและรัดกุมมากขึ้น ทำให้ดัชได้เกาะชวาทั้งหมด และมีอิทธิพลทางการค้าและการเมืองเหนือหมู่เกาะเครื่องเทศ ยกเว้นเพียงมาคัสซาร์
การแข่งขันทางการค้าในยุโรป การขายการค้าเกินกำลัง กลยุทธ์ทางการค้า ประกอบกับปัญหาทุจริตในแวดวงราชการ เกิดการกบฏ และการเปลี่ยนแปลงในยุโป สงครามปฏิวัติอเมริกา และการปฏิวัติฝรั่งเศส ยุโรปหยุดชะงัก ในที่สุด บริษัท V.O.C ต้องล้มละลายลง รัฐบาลฮอลันดาต้งอเข้ามารับภาระในการชำระหนี้ ส่งข้าหลวงเข้ามาปกครองอาณานิคม ทำการปฏิรูปการปกครอง แต่เมืองสเกิดสงครามนโปเลียน ฮอลันดาตกอยู่ใข้อิทธิพลฝรั่งเศส อังกฤษเข้ามาดูแลชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศชั่วคราว ภายใต้การปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ
เซอร์ โทมัส แสตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ นายพลผุ้ว่าการชวาและเมืองขึ้นอื่นๆ ได้แนะนำวิธีการปกครองท้องถิ่นด้วยตนเอง การค้าทาสได้ถูกสั่งห้าม ระบบเช่าที่ดินถูกนำมาใช้แทรกองทหาร ยกเลิกการผูกขาการค้าและการบังคับการเพาะปลูก ฟื้นฟูอำนาจสุลต่าน แบ่งชวาออกเป็น 10 เชต มีผุ้ปกครองแต่ละเขตทำหน้าที่บริหารราชการ และทำหน้าที่ตุลาการเรียกเก็บภาษีให้รัฐบาล
ภายหลังสงครามนโปเลียนดัชกลับมาปกครองอินโดนีเซียอีกครั้ง ซึ่งสถานะทางกเารเงินยังทรุดหนัก การค้าในหมู่เกาะอินโดนีเซียไม่มั่นคง รัฐบาลฮิลันดาจึงเข้าปกครองชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศอย่างใกล้ชิด และพยายามแทรกแซงการปกครองภายในทำให้อินโดนีเซีย ภายหลังสงครามโลกคร้งที่ 1 ต้องตกเป็นอาณานิคมของฮอลันดาอย่างสมบูรณ์
รัฐบาล ฮอลันดา ได้จัดตั้งคณะข้าหลวงเข้ามาปกครอง อินโดนีเซีย โดยประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครองอาณานิคมที่เรียกว่า รีเจอร์ริงซ์-รีเกิลเมนท์ รัฐบาลฮอลันดาได้ทดลองปกครองแบบเสรีนิยมที่แรฟเฟิลส์ได้วางเอาไว้ และมีนโยบายส่งเสริมสวัสดิการของชาวพื้นเมื่องให้ดีขึ้นเนื่องจากแรงกดดันของ พวกเสรีนิยมในยุโรป ดัชได้ปรับเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบเสรีนิยม และระบบเศรษฐกิจวัฒนธรรม..การปกครองของดับสร้างปัญหาให้กับอินโดนีเซียเป็นอย่างมากโดยเฉพาะระบบบังคับการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เกิดปัญหาการขาดแคลนข้าว เพราะที่ดินที่ควรจะนำมาปลูกข้าวเพื่อใบข้บริโภคกลับถูกนำไปปลูกพืชเศรษฐกิจ ผู้คนค้าขายไม่เป็น สภาพชีวิตของผุ้คนแย่ลง กลุ่มเสรีนิยมได้โจมตีระบบนี้อย่างหยัก เกิดขบวนการชาตินิยม เกิดการก่อกบฎของชาวพื้นเมืองไปทั่วภูมิภาค กระทั่งระบบนี้ถูยกเลิกเป็นกาถาวรwww.gotoknow.org/../อินโดนีเซีย : การปกครองของฮอลันดาในอินโดนีเซียในรูปแบบบริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา)
จากการที่ตกเป็นเมืองขึ้นของดัชกว่า 300 ปีจึงได้รับการถ่ายทอดความรุ้ความชำนาญ ตลอดจนศิลปะวัชาการแขนงต่างๆ ที่กลากหลายจากชาวดัตซ์ ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมชั้นนำและมีความศิวิไลซ์ย่ิงในสมัยนัน โดยเฉพะาในกานการเมืองการปกครอง การวางรากฐานของระบบเศรษฐกิจ การค้า การเงิน การคลัง การศึกษา วิวัฒนาการของการเดินเรือสมัยใหม่ ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
แต่การเปลี่ยนผ่าน สู่ความเป็นประเทศเอกราชของอินโดนีเซียมิได้โรด้วยกลีบกุหลาบ แต่เต็มไปด้วยอุสรรคที่ยากลำบาก ถนนสู่ความเป็นประเทศอธิปไตย มีความขรุขะอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับชาวดัตซ์เืพ่อให้ได้มาซึ่งเอกราชบในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นกาต้องสู่ที่เสียเลือดเนื้อ กล่าวคือ ห้วงเวลาที่หลายประเทศในยุโรปกำลังเพลี่ยงพล้ำต่อกาองทัพนาซีของเยอรมัน ทำให้ดัตซ์และประเทศส่วนใหญ่ต้องหมกมุ่นกับการจักการปัญหาภายในของตน กอปรกับจัรวรรดิญี่ปุ่นกำลังเรืองอำนาจมีแสนยานุภาพ
ทางการทหารเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน และได้แผ่อำนาจอิทธิพลขับไล่ชาวดัตซ์เจ้าอาณานิยมเดิมออกไปจนในที่สุดญี่ปุ่นก็สามารถยึดครองอินโดนีเซียได้สำเร็จ แต่เมื่อสุดท้ายญี่ปุ่นต้องประกาศยอมแพ้สงครามเนื่องจากประเทศได้รับความเสียหายอย่างหนักจากการถูกทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ อินโดนีเซียโดยผู้นำการต่อสู้เพื่อเอกราชขณะนั้น คือ ซูการ์โน ฉวยโอกาสประกาศเอกราชในขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่นเพลี่ยงพล้ำพ่ายแพ้สงคราม
ดัตซ์เจ้าอาณานิคมเดิมยายามอย่างมากในการกลับเข้ามาปกครองอินโดนีเซีย และได้ใช้นโยบายกวดล้างเพื่อกอบกู้อำนาจของตนตามหัวเมืองต่างๆ ทำให้เกิดการสู้รบระหว่างทหารชาวดัตซ์และกองทัพผุ้รักชาติอนิโดนีเซีย ส่งผลให้มีผุ้บาดเจ็บล้มตายเป็ฯจำนวนมาก กระทั่ง ค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศยุติการให้เงินสนับสนุแก่เนเธอร์แลนด์ภายใต้แนการณ์มาร์แชล และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้กดดันและมีมติให้เนเธอร์แลนด์ถอนตัวออกจาอินโดนีเซียและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
ในที่สุด ดัตซ์ ต้องจำยอมต่อแรงกดดันนำไปสู่การถอนทหารออกจากอินโดนีเซีย ทำให้บทบาทแลอิทธิพลของตนต้องสิ้นสุดลงอย่างถาวร และอินโดนีเซียก็ได้ประกาศเอกราชอีกครั้ง เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 1950 นำไปสู่การได้มาซึ่งอิสรภาพที่แท้จริงของประเทศ ภายใต้การนำของปรธานาธิบดีซูการ์โน ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย. (www.siamintejjigence .com/../ประวัติความเป็นมาและเส้นทางสู่มหาอำนาจของ "อินโดนีเซีย"ในASEAN ตอนที่ 1.)
บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา V.O.C. ดำเนินกิจการในรูปแบบกิจการรัฐวิสาหกิจ ตั้งสถานีการค้าที่บันทัม เนื่องจากนโยบายของผุ้ปกครองบันทัมยินดีต้อนรับพ่อค้าต่างชาติพ่อค้าคนแรกของดัช คือ สรคเวน แวนเดอร์ ฮาเกน ได้ทำสัญญาผูกขาดการค้ากานพลู ในนามของพ่อค้าสมาคมชาวดัช การค้าในแต่ละเมืองจะจัดส่งเรือออกไปอย่างเป็นอิสระ โดยผลกำไรและขาดทุนจะมาเฉลี่ยทั่วกัน ในที่สุด V.O.C. ก็เข้าควบคุมโรงเก็บสินค้าทั้งหมดที่ฮอลันดาตั้งขึ้นเชนที่เกาะเทอร์เนตในหมู่เกาะโมลุกะ บันดา บันทัมและกรีสิกริมฝั่งชวาเหนือ ปัตตานี ยะโฮร์ลบนเเหลมมาลายูและอาเจะห์ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสุมาตรา
ดัชปกครองอินโดนีเซียแบ่งได้เป็น 2 ระยะ
- ระยะเศรษฐกิจ ระยะแรกเริ่ม ดัชสนใจเพียงแค่การค้าเพียงอย่างเดียว ไม่สนใจครอบครองดินแดน การผูกขากการค้าเครื่องเทศ ในปมู่เกาะเครื่องเทศ ผูกขาดการค้าข้าวในชวา และการผูกขาดการค้าอื่น ๆ ได้ผลเป็นอย่างดี ไม่มีความจำเป้ฯจะต้องครอบครองดินแดนแต่อย่างใด การใช้นโยบายผูกขาดทางการค้าไปพร้อมๆ กับ ขจัดอิทธิพลของชาติอื่นคือ โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ โดยเสนอผลประโยชน์ให้สุลต่านในการทำสัญฐญาผูกขาดเครื่องเทศ ให้เงินตอบแทนและขายอาวุธให้ขยายอำนาจทางการค้าไปยังดินแดนจ่างๆ โดยเฉพาะในหมู่เกาะเครื่องเทศ พร้อมๆ กับคุกคามโปรตุเกสให้ถอนกำลังทางการค้าในบริเวณภูมิภาคนี้ อีกทั้งปราบปรามอังกฤษให้แข่งขันทางการค้า
ใช้วิธีการปกครองแบบ Priangan System แบ่งดินแดนการปกคอรงออกเป็นเขตๆ แต่งตั้งหวหน้าชาวพื้นเมืองของแต่ละเขตเรียกว่า รีเจ้นท์ มีหน้าที่ควบคุม ดูแลชาวพื้นเมืองเพาะปลูก และส่งผลผิจให้กับ V.O.C. ในราคาที่บริษัทกำหนดไว้ รีเจนท์ จะไม่ได้รับเงินเดือน แต่จะได้รับสิทธิทางภาษีจากประชชนในเขตคการปกครองของตน ภายใต้เงื่อนไขของบริษัทว่าต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการชาวพื้อนเมือง แต่การจัดการปกครองแบบนี้ทำให้ รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก มักทำอะไรตามอำเภอใจ ดำเนินกิจการต่างๆ เป็นอิสระ รีเจ้นท์ นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ฮิลันดาเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองภายใน และเริ่มใ้นโยบายควบคุมดินแดน
อย่างไรก็ตามในระยะเริ่มแรกนี้ การผูกขาดทางการค้าได้ผลดีเป็นอย่างยิ่ง ดัชทำการปกครองทางอ้อม ปล่อยให้ชาวพื้นเมืองปกครองตนเองของครอบครัวและหมู่บ้านที่เรียกว่า เดสา ตามกฎหมายและจารีตประเพณีพื้นเมือง อะดาท ดัชรักษาเพียงผลประโยชน์ทางการค้าเท่านั้น แตเนืองจากการที่ชาวพื้นเมืองลักลอบขายสินค้าให้กับโปรตุเกส อังกฤษ สเปนและอาหรับ เนือ่งจากชาติเหล่านี้ให้ระคาสูงกว่า รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก เกิดการทะเลาะขัแย้งกันเอง กดขีคนพื้นเมือง บริษัทจึงเข้าแทรกแซง และควบคุมการตรวจสอบ อีกทั้งปัญหาโจรสลัดปล้นเรือสินค้า ของ V.O.C.
การแทรกแซงทางการเมืองและการทำสงคราม เมื่อคนพื้นเมืองไม่ทำสัญญาทางการค้าก็จะใช้กำลังทางการทหารบีบบังคับและถ้าดินแดนใดที่เห็นว่ามีประโยชน์ทางการค้าแก่ฮิลันดา เกิดการแตกแยกภายใน ฮอลันดาจะเข้าแทรกแซงทันที
ปกครองระบบพาณิชย์นิยม บริษัทซื้อสินค้าโดยตรงกับคนพื้นเมืองโดยตรง จ่ายเงินให้กับผุ้ผลิต เนื่องจากบริษัทมีภาระทางการเงินมาก จึงมอบให้สุลต่านเป็นผู้ดูแล มีการนำระบบบังคับการเกษตรมาใช้สุลต่านผูกพันสัญญากับบริษัท ดัชปกครองชวาอย่างใกล้ชิด ในส่วนท้องถิ่นและเกาะรอบนอกผู้นำยังคงปกครองต่อไป ตราบเท่าที่การค้ายังคงดำเนินไปตามกฎของบริษัท แต่หากรัฐใดทำผิดกฎติดต่อค้าขายกับชาติอื่น ดังจะลงโทษทันที ดัชขยายการปกครองไปทั่วดินแนอินโดนีเซยและเก็บเกี่ยวพืชผลทางเกษตร การแสวงหาผลประโยชน์โดยปราศจากความเตราเมื่อดัชย้ายศูนย์กลางการปกครองและการค้าไปยู่ปัตาเวยแารปกครองเข้มงวดและรัดกุมมากขึ้น ทำให้ดัชได้เกาะชวาทั้งหมด และมีอิทธิพลทางการค้าและการเมืองเหนือหมู่เกาะเครื่องเทศ ยกเว้นเพียงมาคัสซาร์
การแข่งขันทางการค้าในยุโรป การขายการค้าเกินกำลัง กลยุทธ์ทางการค้า ประกอบกับปัญหาทุจริตในแวดวงราชการ เกิดการกบฏ และการเปลี่ยนแปลงในยุโป สงครามปฏิวัติอเมริกา และการปฏิวัติฝรั่งเศส ยุโรปหยุดชะงัก ในที่สุด บริษัท V.O.C ต้องล้มละลายลง รัฐบาลฮอลันดาต้งอเข้ามารับภาระในการชำระหนี้ ส่งข้าหลวงเข้ามาปกครองอาณานิคม ทำการปฏิรูปการปกครอง แต่เมืองสเกิดสงครามนโปเลียน ฮอลันดาตกอยู่ใข้อิทธิพลฝรั่งเศส อังกฤษเข้ามาดูแลชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศชั่วคราว ภายใต้การปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ
เซอร์ โทมัส แสตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ นายพลผุ้ว่าการชวาและเมืองขึ้นอื่นๆ ได้แนะนำวิธีการปกครองท้องถิ่นด้วยตนเอง การค้าทาสได้ถูกสั่งห้าม ระบบเช่าที่ดินถูกนำมาใช้แทรกองทหาร ยกเลิกการผูกขาการค้าและการบังคับการเพาะปลูก ฟื้นฟูอำนาจสุลต่าน แบ่งชวาออกเป็น 10 เชต มีผุ้ปกครองแต่ละเขตทำหน้าที่บริหารราชการ และทำหน้าที่ตุลาการเรียกเก็บภาษีให้รัฐบาล
ภายหลังสงครามนโปเลียนดัชกลับมาปกครองอินโดนีเซียอีกครั้ง ซึ่งสถานะทางกเารเงินยังทรุดหนัก การค้าในหมู่เกาะอินโดนีเซียไม่มั่นคง รัฐบาลฮิลันดาจึงเข้าปกครองชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศอย่างใกล้ชิด และพยายามแทรกแซงการปกครองภายในทำให้อินโดนีเซีย ภายหลังสงครามโลกคร้งที่ 1 ต้องตกเป็นอาณานิคมของฮอลันดาอย่างสมบูรณ์
รัฐบาล ฮอลันดา ได้จัดตั้งคณะข้าหลวงเข้ามาปกครอง อินโดนีเซีย โดยประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครองอาณานิคมที่เรียกว่า รีเจอร์ริงซ์-รีเกิลเมนท์ รัฐบาลฮอลันดาได้ทดลองปกครองแบบเสรีนิยมที่แรฟเฟิลส์ได้วางเอาไว้ และมีนโยบายส่งเสริมสวัสดิการของชาวพื้นเมื่องให้ดีขึ้นเนื่องจากแรงกดดันของ พวกเสรีนิยมในยุโรป ดัชได้ปรับเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบเสรีนิยม และระบบเศรษฐกิจวัฒนธรรม..การปกครองของดับสร้างปัญหาให้กับอินโดนีเซียเป็นอย่างมากโดยเฉพาะระบบบังคับการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เกิดปัญหาการขาดแคลนข้าว เพราะที่ดินที่ควรจะนำมาปลูกข้าวเพื่อใบข้บริโภคกลับถูกนำไปปลูกพืชเศรษฐกิจ ผู้คนค้าขายไม่เป็น สภาพชีวิตของผุ้คนแย่ลง กลุ่มเสรีนิยมได้โจมตีระบบนี้อย่างหยัก เกิดขบวนการชาตินิยม เกิดการก่อกบฎของชาวพื้นเมืองไปทั่วภูมิภาค กระทั่งระบบนี้ถูยกเลิกเป็นกาถาวรwww.gotoknow.org/../อินโดนีเซีย : การปกครองของฮอลันดาในอินโดนีเซียในรูปแบบบริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา)
จากการที่ตกเป็นเมืองขึ้นของดัชกว่า 300 ปีจึงได้รับการถ่ายทอดความรุ้ความชำนาญ ตลอดจนศิลปะวัชาการแขนงต่างๆ ที่กลากหลายจากชาวดัตซ์ ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมชั้นนำและมีความศิวิไลซ์ย่ิงในสมัยนัน โดยเฉพะาในกานการเมืองการปกครอง การวางรากฐานของระบบเศรษฐกิจ การค้า การเงิน การคลัง การศึกษา วิวัฒนาการของการเดินเรือสมัยใหม่ ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
แต่การเปลี่ยนผ่าน สู่ความเป็นประเทศเอกราชของอินโดนีเซียมิได้โรด้วยกลีบกุหลาบ แต่เต็มไปด้วยอุสรรคที่ยากลำบาก ถนนสู่ความเป็นประเทศอธิปไตย มีความขรุขะอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับชาวดัตซ์เืพ่อให้ได้มาซึ่งเอกราชบในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นกาต้องสู่ที่เสียเลือดเนื้อ กล่าวคือ ห้วงเวลาที่หลายประเทศในยุโรปกำลังเพลี่ยงพล้ำต่อกาองทัพนาซีของเยอรมัน ทำให้ดัตซ์และประเทศส่วนใหญ่ต้องหมกมุ่นกับการจักการปัญหาภายในของตน กอปรกับจัรวรรดิญี่ปุ่นกำลังเรืองอำนาจมีแสนยานุภาพ
ทางการทหารเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน และได้แผ่อำนาจอิทธิพลขับไล่ชาวดัตซ์เจ้าอาณานิยมเดิมออกไปจนในที่สุดญี่ปุ่นก็สามารถยึดครองอินโดนีเซียได้สำเร็จ แต่เมื่อสุดท้ายญี่ปุ่นต้องประกาศยอมแพ้สงครามเนื่องจากประเทศได้รับความเสียหายอย่างหนักจากการถูกทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ อินโดนีเซียโดยผู้นำการต่อสู้เพื่อเอกราชขณะนั้น คือ ซูการ์โน ฉวยโอกาสประกาศเอกราชในขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่นเพลี่ยงพล้ำพ่ายแพ้สงคราม
ดัตซ์เจ้าอาณานิคมเดิมยายามอย่างมากในการกลับเข้ามาปกครองอินโดนีเซีย และได้ใช้นโยบายกวดล้างเพื่อกอบกู้อำนาจของตนตามหัวเมืองต่างๆ ทำให้เกิดการสู้รบระหว่างทหารชาวดัตซ์และกองทัพผุ้รักชาติอนิโดนีเซีย ส่งผลให้มีผุ้บาดเจ็บล้มตายเป็ฯจำนวนมาก กระทั่ง ค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศยุติการให้เงินสนับสนุแก่เนเธอร์แลนด์ภายใต้แนการณ์มาร์แชล และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้กดดันและมีมติให้เนเธอร์แลนด์ถอนตัวออกจาอินโดนีเซียและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
ในที่สุด ดัตซ์ ต้องจำยอมต่อแรงกดดันนำไปสู่การถอนทหารออกจากอินโดนีเซีย ทำให้บทบาทแลอิทธิพลของตนต้องสิ้นสุดลงอย่างถาวร และอินโดนีเซียก็ได้ประกาศเอกราชอีกครั้ง เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 1950 นำไปสู่การได้มาซึ่งอิสรภาพที่แท้จริงของประเทศ ภายใต้การนำของปรธานาธิบดีซูการ์โน ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย. (www.siamintejjigence .com/../ประวัติความเป็นมาและเส้นทางสู่มหาอำนาจของ "อินโดนีเซีย"ในASEAN ตอนที่ 1.)
วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Republik Indonesia I (The Kingdom)
อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลกมีพื้นที่รวมทั้งหมดประมาณ 1,826,440 ตารางกิโลเมตร มีกว่า 17,000 เกาะ พื้นที่กว่า 70% ไม่มีผู้คนอาศัย มีภูเขาสูงตามเทือกเขาที่มีความสูงมากอยู่ตามเกาะต่างๆ ตามบริเวณเขามักมีภูเขาไฟปละมีี่ราบรอบเทือกเขาที่มีความสูงมากอยู่ตามเกาะต่างๆ ตามบริเวณเขามักมีภูเขาไฟและมีที่ราบรอบเทือกเขา ชายเกาะมีความสูงใกล้เคียงกบระดับน้ำทะเล ทำให้มีทีราบบางแห่งเต็มไปด้วยหนองบึงใช้ประโยชน์ไม่ได้
ประเทศอินโดนีเซียมีหมู่เกาะหลัก 5 เกาะคือ อีเรียน, ชวา, กลิมันตัน, สุลาเวสีและสุมตราซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในบรระดาเกาะหลักทั้ง 5 เกาะ แต่ประมาณ 60% ของประชากรกว่า 200 ล้านคน อาศัยอยู่บนเกาะนี้และเป็นที่ตั้งกรุงจาการ์ตาซึ่งเป็นเมืองหลวง หมู่เกาะเหล่านี้อยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างมหสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งของประเทศอินโดนีเซียยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร และมีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์ตะวันออก
ความแตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์กว่า 300 กลุ่มชาติพันธ์ุและภาษาพื้นเมือง และสำเนียงท้องถิ่นที่แตกต่างกันถึง 742 ภาษา ชาวอินโดนีเซียส่วนมากสืบเชื้อสายมาจากชนเผ่านที่พูดตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษาของแลุ่มชนดังกล่าวสามารถที่จะสืบค้นย้อนไปถึง ภาษาโปรโต-ออสโตรเนเซียน ผุ้ซึ่งอาศัยอยู่บนเกาะปาปัวภาคตะวันออก ของประเทศอินโดนีเซีย ชาวชวา คือ กลุ่มชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ซึ่งมีอยู่ราว 42% ของจำนวนประชากร เป็นกลุ่มชนชั้นนำทางการเมือง และวัฒนธรรมนอกจากนี้ยังมีกลุ่มชนชาติหลักๆ ที่มีจำนวนพอไกับชาวชวา เช่น ชาวซุนดา ชาวมาเล และชาวมาดูราจิตสำนึกของความเป็นชาวอินโดนีเซย จะขนาดควบคู่ไปกับอัตลักษณ์ของท้องถิ่นตนเององย่างเหนียวแน่น ความตึงเครียดทางสังคม ศาสนา และเชื้อชาติ เป็นสิ่งที่เคยกระตุ้นให้เกิดความขัแย้งรุนแรง อันน่่าสะพรึงกลัวมาแล้ว ชาวอินโดนีเซียเชื้อสายจีน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศ แต่ทรงอิทธิพลอย่างยิ่ง มีจำนวนราว 3-4% ของจำนวนประชากรอินโดนีเซีย
ในปี ค.ศ. 2010 ประเทศอินโดนีเซียมีผู้นับถือศาสนาดังนี้ อิสลาม 87.2% คริสต์ 9.9% ฮินดู 1.7% พุทธ 0.7% ขงจื้อและศาสนาอื่น 0.2% (th.wikipedia.org/../ประเทศอินโดนีเซีย)
อาณาจักรโบราณในหมู่เกาะอินโดนีเซีย ต้นคริสศตวรรษที่ 6 ในขณะที่อาณาจักรฟูนันกำลังเสื่อมลงรัฐต่างๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซยก็มีความเจริญขึ้นมาแทนที่ คือ อทณาจักรที่ยิ่งใหญ่ที่ควรจะกล่าวถึง คอื ศรีวิชัย สิงหัสสาหรี และมัชฌปาหิต ตามลำดับ ทั้ง 3 รัฐ มีอารยธรรมแบบฮินดู-ชวา และพุทธมหายาน
อาณาจักร ศรีวิชัย หรืออาณาจักรศรีโพธิ์ เกิดขึ้นโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันล่มสลายเป็นอาณาจักรของชาติพันธ์ุมลายูโบราณ มีอาณาเขตครอบุลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และบริเวณภาคใต้ของประเทศไทยพื้นที่อาณาจักรแบ่งได้สามส่วน คือส่วนของชวาได้แยกตัวออกไปตั้งเป็นอาณาจักรมัชปาหหิต ตอ่มาเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรีวิชัย ได้ดินแดนสุมาตราแลบางส่วนของคาบสมุทรมลายูไป และทำให้ศรีวิชัยล่มสลายไปในที่สุด ส่วนพื้นที่คาบสมุทรที่เหลือต่อมมาเชื่อพระวงศ์จากอาณาจักรเพชรบุรีได้เสด็จมาฟื้นฟูและตั้งเป็นอาณาจักรนครศรีธรรมราช
ศ.ยอร์ช เซเดส์ ระบุว่า ศรีวิชัยน่าจสถาปนาในช่วงเวลก่อนปี พ.ศ.1225 เล็กน้อย ขณะที่เสรนีย์อนุชิต ถาวรเศรษฐ เลขานุการคณะอนุกรรมการตรวจสอบหลักฐานอาณาจักรศรีโพธิ์ วุทฒิสภา ระบุว่า อาณาจักรศรีโพธิ์(ศีรวิชัย) สถาปรสขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 1202 โดยใช้หลักการทางดาราศาสตร์ฟิสิกส์ ตรวจหาวันที่จากเหตุกาณ์ทางดาราศษสตร์ ที่อ้างอิงถึงในตำนานท้องถ่ินเกี่ยวกับการสถาปนาอาณจักรที่ว่า "หลังเสร็จสิ้นสงครามแย่งช้าง ต่อมาได้เกิดสริยคราสแหวนเพชร ขึ้นในท้องที่ดังกล่าว หลังจากนั้น 7 วัน มหาราชทั้งสอง ได้ทำพิธีบรมราชาภิเษกที่เขาสุวรรณบรรพต แล้วขึ้นครองราชสมบัติ สถาปนาอาณาจักรศรีโพธิ์" ส่วนที่ตั้งศูนย์กลางอาณาจัร มีการถกเถียงกันจนปัจจุบันก็ยังไม่ได้ข้อสรุป แต่มีสองแนวคิดที่เชื่อถือกันอยู่ คือ คู่เมือง ไชยา-สุราษฎร์ธานี และที่เมืองเปเล็มบังขสุมาตรา ทั้งหนี้เพราะมีหลักฐานจารึกชัดเจนว่า ปี พ.ศ. 1369 พรเจ้าศรีพลบุตร(ครองชวากลาง)พระนัดดาในพระเจ้าศรีสงครามธนัญชัย(ครองทั้งศรีวิชัยและชวากลาง)ยกทัพจากชวากลางมาตีศรีวิชัย จากพระใหญ่(พระนัดดาอีกสายของพระเจ้าศรีสงครามฯ ที่ครองศรีวิชัย)แล้วชิงได้ราชสมบัติไป แนวความคิดเรือ่งชวากลาง(สถานที่ประดิษฐานเจดีย์บุโรพุทโธ) เป็นศูนย์กลางจึงตกไป
มีการพบศิลาจารึกภาษามลายูโบราณเกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัยนี้ ทั้งที่สุมาตรา และที่วัดเสนาเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราชและพบศิลาจารึกภาษาสันสกฤตเมืองไชยา ระบุว่าศรีวิชัยเป็นเมืองท่าค้าพริก ดีปลีและพริกไทยเม็ด โดยมีต้นหมากและต้นมะพร้าวจำนวนมาก
หลวงจีนอี้จิง เคยยเดินทางจากเมืองกวางตุ้งประเทศจีน โดยเรือของพวกอาหรับ ผ่านฟูนันมาพักที่อาณาจักรศรีวิชัยในเดือน 11 พ.ศ. 1214 เป็นเวลา 2 เดือน ก่อนที่จะเดินทางต่อผ่านเมืองไทรบุรีผ่านหมู่เกาะคนเปลือยนิโคบร์ ถึงเมืองท่า
ตามพรลิงก์ที่อินเดีย เพื่อสอบทอดพระพุทธศาสนา พลวงจีนอี้จิงบันทุกไว้ว่า พุทธศาสรแบบมหายานเจริญรุ่งเรืองในอาณาจักรศรีวิชัย ประชาชนทางแหลมมลายูเดินส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาแต่ก็ได้ติดต่อกับพุ่อค้าอาหรับมุสลิม ที่เดินทางผ่านเพื่อไปยังประเทศจีนดังนั้นในเวลาต่อมาศาสนาอิสลามจึงได้เผยแพร่ไปยังมะละกา กลันตัน ตรังกานู ปาหงะและปัตตานี จนกลายเป้นรัฐอิสลามไป ต่อมาในพ.ศ. 1568 อาณาจักรศรีวิชัยได้ตกอยุ่ใต้อำนาจและกลายเป็ฯส่วนหนึ่งของอาณาจักมัชปาหิตของชวาในพ.ศ. 1940 แต่มีหลักฐานจากตำนานเมืองเพชรบุรีว่า อาณาจักรศรีวิชัยได้ล่มสลายไปก่อนหน้านี้แล้ว เพราะตำนานฯระบุว่า ก่อนพระพนมวังจะได้สถาปนาอาณาจักรนครศรีธรรมราชในปี พ.ศ.1830 นครศรีธรรมราช มีสภาพเป็นเมืองร้างมาก่อน (th.wikipedia.org/../อาณาจักรศรีวิชัย.)
อาณาจักรศรีวิชัย เป็นศูนย์กลางทางทะเลซึ่งเจิรญขึ้นมาแทนที่อาณาจักรฟูนัน (ทางบก) ดั้งอยู่ในหมู่เกาะและเข้าควบคุมช่องแคบมะละการและช่องแคบซุนดา ตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 6 เป็นศุนย์กลางของเส้นทางการค้าระวห่งจีนและอินเดีย เมืองท่าสำคัญคือ ปาเล็มปังด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ดี ทำให้ศรีวิชัยมีอิทธิพลทางด้านการค้าและการเมืองเหนือดินแดคาบสมุทรมาลายู ฝั่งตะวันออก มีผุ้นำที่เข้มแข็งเป็นนักการทูตที่เฉลียวฉลาด การส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนในคริตศตวรรษที่ 5-6 เพื่อให้จีนรับรองอำนาจได้สร้างเสถียรภาพทางการเมืองให้กับอาณาจักร ศาสนาพุทธได้เจิรญรุ่งเรืองเป็นอย่างมกในอาณาจักรนี้ ปรากฎหลักฐานในการสร้างเจดีย์บุโรพุทโธในภาคกลางของเกาะชวา อาณาจักรเริ่มเสื่อมลงในคริสศตวรรษที่ 11-13 เนื่องมาจากจีนเดิน
ทางออกมาค้าขายนอกประเทศบ่อยขึ้น จีนเปลี่ยนเมืองท่าในการค้าขายใหม่เช่น ในชวา สุมาตราและอ่าวไทยทำให้เศรษฐกิจของศรีวิชัยตกต่ำลง อีกทั้งยังประสบปัญหาถูกพวกโจละจากตอนใต้ของอินเดียรุกราน สาเหตุสำคัญที่สุดเกิดอาณาจักรใหม่ที่มีความเข้มแข็งทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจขึ้นมาแทนที่ คือ อาณาจักสิงหัสส่าหรี
อาณาจักรสิงหัสสาหรี เป็นอาณาจักรบนเกาะชวาตะวันตก สิงหะส่าหรีเคยยกทัพไปตีศรวิชัยในพุทธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรสิงหะส่าหรีอยู่ได้ไม่นานก็ถูกเจ้าชายจายากัตวัง แห่งอาณาจักรเคดีริ โจมตีเมืองหลวงในขณะที่พรเจ้าเอรตานาการ(เกี่ยตินคร)กำลังบูชาพระศิวะ แต่เจ้าชายวิชัย ราชบุตรเขยได้กู้เมืองมาได้แล้วตั้งอาณาจักมัชปาหิต
ขณะที่อาณาจักรศรรีวิชัยเริ่มเสื่อมก็มีอาณาจักรหนึ่งเรืองอำนาจขึ้นมาในบริเวณภาคกลางของเกาะชวา คือ อาณาจัการสิงหัสสาหรี กษัตริย์องค์สำคัญคือ พระเจ้าเกียตินคร พระองค์ทรงได้ขยายอำนาจและอิทธิพลของอาณาจักรไปทั่วเกาะชวา ใช้อำนาจทางทหารและศาสนาจนสามารถควบคุมช่องแคบมะละกาและสามารถขึ้นมาเรืองอำนาจแทนอาณาจักรศรีวิชัยได้ แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จมากนัก จากการไม่ส่งเครื่องราชบรรณาการไปจีนดังที่เคยกระทำในช่วงต้น ทำให้ในช่วงปลายพวกมองโกลรุกราน อีกทั้งยังเกิดกบฎในเมือง จึงเป็นสาเหตุหลังที่ทำให้อาณาจักรสิงหัสสาหรีต้องเสื่อมลง
อาณาจักรมัชฌปาหิต เป็นอาณาจักรในชวาตะวันออก มีอำนาจกว่า 200 ปี กษัตรย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ ฮะยัม วูรุค ซึ่งเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของอาณาจักแห่งนี้ โดยได้ขยายอำนาจไปทั่วแหลมมลายูตอนใต้บอร์เนียว สุมตรา บาหลีและฟิลิปปินส์ มัชปาหัต เป็นอาณาจักรฮินดูแห่งสุดท้ายในหมู่เกาะมาเลย์ ก่อนนี้มีอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเชื่อว่ามีที่ตั้งอยู่ในปาเลมบัง บนเกาะสุมาตรา ผู้สถาปนาอาณาจักรมัชปาหิต ก็คือ การ์ตะราชะสา หรือ ระเด่นวิชัย ลูกเขยของกษัตริย์แห่งอาณาจักรสิงหะส่าหรี ซึ่งอยู่บนเกาะชวาเช่นกัน หลังจากสิงหสารีแผ่อำนาจกว้างไกลจนกลุ่มศีวิชัยต้องถอยออกไปจากเกาะชว่า อำนาจอันยิ่งใหญ่ของสิงหสารีก็เป็นที่สนใจแก่กุบไลข่านในจีน ซึ่งได้ส่งทูตมาของเครื่องราชบรรณาการ ในเวลานั้นการ์ตะนคร ผุ้ปกครองอาณาจักรสิหสารีทรงปฏิเสธ กุบไลข่านจึงส่งกองเรือถึง 1,000 ลำมาประชิดชายฝั่งชวาในปี
อาณาจักรมัชฌปาหิต อาณาจักรสุดท้ายในหมู่เกาะอินโดนีเซียถือว่าเป็นตัวแทนของอาฯาจักรสิงหัสส่าหรี ในการดำเนินนโยบาการแผ่ขยายอาณาเขตไปยังเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซียเข้าเป็นสมาพันธรัฐ ผุ้ที่มีส่วนสำคัญในการสร้างความเจริญรุ่งเรื่องในแก่อาณาจักหาใช้กษัตริย์ไม่ แต่เป็นเอกอัครมหาเสนาบดี คชา มาดา ผลงานสำคํญเช่นใช้กำลังทางทหารเป็นเครื่องมือในการก่อตั้งจักวรรดิ จัดระเบียบการปกครองภายในเป็นสัดส่วน เสริมความสามารถของหน่วยงานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ จัดให้พระบรมวงศานุวงศืทำงานในตำแหน่งต่าางๆ เป็นการลดอำนาจและตัอปัญหาการแย่งชิงอำนาจซึ่งกันแลกัน สำรวจสำมะโนประชากร เพื่อจัดให้เป็นชนชั้น สะดวกแก่การจัดสรรอาชีพ รวบรวมตัวบทกฎหมายโดยดัดแปลงกฎหมายชวาเดิม ผสมผสานกับคำภีร์ธรรมศาสตร์ของอินเดีย สร้างสัมพันธไมตรีทางการค้ากับอาณาจักรใกล้เคียงเช่น อยุธยา พม่า เขมร จามปา เวียดนาม จีน อินเดีย เปอร์เซียร์ ทำให้อาณาจักมัช
ฌปาหิตมีเสถียรภาพทางการเมืองส่งผลให้เศรษฐกิจของมัชฌปาหิต ดี เป็นศูนย์กลางทางการต้าระวห่างตะวันตกกับตะวันออกสินค้าสำคัญคือเครื่องเทศ ไม่หอม งาช้าง ดีบุกฯลฯ เมื่อ คชา มาดา ถึงแก่อนิจกรรม อาณาจักรมัชฌปาหิตก็เสื่องอำนาจลง สาเหตุสำคัญประการหนึ่งคอ การขยายตัวของอาณาจักรอิสลามเข้ามายังหมู่เกาะเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเล็กๆ หันไปนับถือศาสนาอิสลามมากขึ้นเพื่อความสะดวกับการค้าขายกับชาติอาหรับและ ต่อต้านอาณาจักมัชฌปาหิต เมื่ออาณาจักมัชฌปาหิจเสือมอำนาจลง หมู่เกาะต่างๆ ก็ตั้งตัวเป็นอิสระ (www;gotoknow
ประเทศอินโดนีเซียมีหมู่เกาะหลัก 5 เกาะคือ อีเรียน, ชวา, กลิมันตัน, สุลาเวสีและสุมตราซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในบรระดาเกาะหลักทั้ง 5 เกาะ แต่ประมาณ 60% ของประชากรกว่า 200 ล้านคน อาศัยอยู่บนเกาะนี้และเป็นที่ตั้งกรุงจาการ์ตาซึ่งเป็นเมืองหลวง หมู่เกาะเหล่านี้อยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างมหสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งของประเทศอินโดนีเซียยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร และมีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์ตะวันออก
ความแตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์กว่า 300 กลุ่มชาติพันธ์ุและภาษาพื้นเมือง และสำเนียงท้องถิ่นที่แตกต่างกันถึง 742 ภาษา ชาวอินโดนีเซียส่วนมากสืบเชื้อสายมาจากชนเผ่านที่พูดตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษาของแลุ่มชนดังกล่าวสามารถที่จะสืบค้นย้อนไปถึง ภาษาโปรโต-ออสโตรเนเซียน ผุ้ซึ่งอาศัยอยู่บนเกาะปาปัวภาคตะวันออก ของประเทศอินโดนีเซีย ชาวชวา คือ กลุ่มชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ซึ่งมีอยู่ราว 42% ของจำนวนประชากร เป็นกลุ่มชนชั้นนำทางการเมือง และวัฒนธรรมนอกจากนี้ยังมีกลุ่มชนชาติหลักๆ ที่มีจำนวนพอไกับชาวชวา เช่น ชาวซุนดา ชาวมาเล และชาวมาดูราจิตสำนึกของความเป็นชาวอินโดนีเซย จะขนาดควบคู่ไปกับอัตลักษณ์ของท้องถิ่นตนเององย่างเหนียวแน่น ความตึงเครียดทางสังคม ศาสนา และเชื้อชาติ เป็นสิ่งที่เคยกระตุ้นให้เกิดความขัแย้งรุนแรง อันน่่าสะพรึงกลัวมาแล้ว ชาวอินโดนีเซียเชื้อสายจีน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศ แต่ทรงอิทธิพลอย่างยิ่ง มีจำนวนราว 3-4% ของจำนวนประชากรอินโดนีเซีย
ในปี ค.ศ. 2010 ประเทศอินโดนีเซียมีผู้นับถือศาสนาดังนี้ อิสลาม 87.2% คริสต์ 9.9% ฮินดู 1.7% พุทธ 0.7% ขงจื้อและศาสนาอื่น 0.2% (th.wikipedia.org/../ประเทศอินโดนีเซีย)
อาณาจักรโบราณในหมู่เกาะอินโดนีเซีย ต้นคริสศตวรรษที่ 6 ในขณะที่อาณาจักรฟูนันกำลังเสื่อมลงรัฐต่างๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซยก็มีความเจริญขึ้นมาแทนที่ คือ อทณาจักรที่ยิ่งใหญ่ที่ควรจะกล่าวถึง คอื ศรีวิชัย สิงหัสสาหรี และมัชฌปาหิต ตามลำดับ ทั้ง 3 รัฐ มีอารยธรรมแบบฮินดู-ชวา และพุทธมหายาน
อาณาจักร ศรีวิชัย หรืออาณาจักรศรีโพธิ์ เกิดขึ้นโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันล่มสลายเป็นอาณาจักรของชาติพันธ์ุมลายูโบราณ มีอาณาเขตครอบุลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และบริเวณภาคใต้ของประเทศไทยพื้นที่อาณาจักรแบ่งได้สามส่วน คือส่วนของชวาได้แยกตัวออกไปตั้งเป็นอาณาจักรมัชปาหหิต ตอ่มาเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรีวิชัย ได้ดินแดนสุมาตราแลบางส่วนของคาบสมุทรมลายูไป และทำให้ศรีวิชัยล่มสลายไปในที่สุด ส่วนพื้นที่คาบสมุทรที่เหลือต่อมมาเชื่อพระวงศ์จากอาณาจักรเพชรบุรีได้เสด็จมาฟื้นฟูและตั้งเป็นอาณาจักรนครศรีธรรมราช
ศ.ยอร์ช เซเดส์ ระบุว่า ศรีวิชัยน่าจสถาปนาในช่วงเวลก่อนปี พ.ศ.1225 เล็กน้อย ขณะที่เสรนีย์อนุชิต ถาวรเศรษฐ เลขานุการคณะอนุกรรมการตรวจสอบหลักฐานอาณาจักรศรีโพธิ์ วุทฒิสภา ระบุว่า อาณาจักรศรีโพธิ์(ศีรวิชัย) สถาปรสขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 1202 โดยใช้หลักการทางดาราศาสตร์ฟิสิกส์ ตรวจหาวันที่จากเหตุกาณ์ทางดาราศษสตร์ ที่อ้างอิงถึงในตำนานท้องถ่ินเกี่ยวกับการสถาปนาอาณจักรที่ว่า "หลังเสร็จสิ้นสงครามแย่งช้าง ต่อมาได้เกิดสริยคราสแหวนเพชร ขึ้นในท้องที่ดังกล่าว หลังจากนั้น 7 วัน มหาราชทั้งสอง ได้ทำพิธีบรมราชาภิเษกที่เขาสุวรรณบรรพต แล้วขึ้นครองราชสมบัติ สถาปนาอาณาจักรศรีโพธิ์" ส่วนที่ตั้งศูนย์กลางอาณาจัร มีการถกเถียงกันจนปัจจุบันก็ยังไม่ได้ข้อสรุป แต่มีสองแนวคิดที่เชื่อถือกันอยู่ คือ คู่เมือง ไชยา-สุราษฎร์ธานี และที่เมืองเปเล็มบังขสุมาตรา ทั้งหนี้เพราะมีหลักฐานจารึกชัดเจนว่า ปี พ.ศ. 1369 พรเจ้าศรีพลบุตร(ครองชวากลาง)พระนัดดาในพระเจ้าศรีสงครามธนัญชัย(ครองทั้งศรีวิชัยและชวากลาง)ยกทัพจากชวากลางมาตีศรีวิชัย จากพระใหญ่(พระนัดดาอีกสายของพระเจ้าศรีสงครามฯ ที่ครองศรีวิชัย)แล้วชิงได้ราชสมบัติไป แนวความคิดเรือ่งชวากลาง(สถานที่ประดิษฐานเจดีย์บุโรพุทโธ) เป็นศูนย์กลางจึงตกไป
มีการพบศิลาจารึกภาษามลายูโบราณเกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัยนี้ ทั้งที่สุมาตรา และที่วัดเสนาเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราชและพบศิลาจารึกภาษาสันสกฤตเมืองไชยา ระบุว่าศรีวิชัยเป็นเมืองท่าค้าพริก ดีปลีและพริกไทยเม็ด โดยมีต้นหมากและต้นมะพร้าวจำนวนมาก
หลวงจีนอี้จิง เคยยเดินทางจากเมืองกวางตุ้งประเทศจีน โดยเรือของพวกอาหรับ ผ่านฟูนันมาพักที่อาณาจักรศรีวิชัยในเดือน 11 พ.ศ. 1214 เป็นเวลา 2 เดือน ก่อนที่จะเดินทางต่อผ่านเมืองไทรบุรีผ่านหมู่เกาะคนเปลือยนิโคบร์ ถึงเมืองท่า
อาณาจักรศรีวิชัย เป็นศูนย์กลางทางทะเลซึ่งเจิรญขึ้นมาแทนที่อาณาจักรฟูนัน (ทางบก) ดั้งอยู่ในหมู่เกาะและเข้าควบคุมช่องแคบมะละการและช่องแคบซุนดา ตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 6 เป็นศุนย์กลางของเส้นทางการค้าระวห่งจีนและอินเดีย เมืองท่าสำคัญคือ ปาเล็มปังด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ดี ทำให้ศรีวิชัยมีอิทธิพลทางด้านการค้าและการเมืองเหนือดินแดคาบสมุทรมาลายู ฝั่งตะวันออก มีผุ้นำที่เข้มแข็งเป็นนักการทูตที่เฉลียวฉลาด การส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนในคริตศตวรรษที่ 5-6 เพื่อให้จีนรับรองอำนาจได้สร้างเสถียรภาพทางการเมืองให้กับอาณาจักร ศาสนาพุทธได้เจิรญรุ่งเรืองเป็นอย่างมกในอาณาจักรนี้ ปรากฎหลักฐานในการสร้างเจดีย์บุโรพุทโธในภาคกลางของเกาะชวา อาณาจักรเริ่มเสื่อมลงในคริสศตวรรษที่ 11-13 เนื่องมาจากจีนเดิน
ทางออกมาค้าขายนอกประเทศบ่อยขึ้น จีนเปลี่ยนเมืองท่าในการค้าขายใหม่เช่น ในชวา สุมาตราและอ่าวไทยทำให้เศรษฐกิจของศรีวิชัยตกต่ำลง อีกทั้งยังประสบปัญหาถูกพวกโจละจากตอนใต้ของอินเดียรุกราน สาเหตุสำคัญที่สุดเกิดอาณาจักรใหม่ที่มีความเข้มแข็งทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจขึ้นมาแทนที่ คือ อาณาจักสิงหัสส่าหรี
อาณาจักรสิงหัสสาหรี เป็นอาณาจักรบนเกาะชวาตะวันตก สิงหะส่าหรีเคยยกทัพไปตีศรวิชัยในพุทธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรสิงหะส่าหรีอยู่ได้ไม่นานก็ถูกเจ้าชายจายากัตวัง แห่งอาณาจักรเคดีริ โจมตีเมืองหลวงในขณะที่พรเจ้าเอรตานาการ(เกี่ยตินคร)กำลังบูชาพระศิวะ แต่เจ้าชายวิชัย ราชบุตรเขยได้กู้เมืองมาได้แล้วตั้งอาณาจักมัชปาหิต
ขณะที่อาณาจักรศรรีวิชัยเริ่มเสื่อมก็มีอาณาจักรหนึ่งเรืองอำนาจขึ้นมาในบริเวณภาคกลางของเกาะชวา คือ อาณาจัการสิงหัสสาหรี กษัตริย์องค์สำคัญคือ พระเจ้าเกียตินคร พระองค์ทรงได้ขยายอำนาจและอิทธิพลของอาณาจักรไปทั่วเกาะชวา ใช้อำนาจทางทหารและศาสนาจนสามารถควบคุมช่องแคบมะละกาและสามารถขึ้นมาเรืองอำนาจแทนอาณาจักรศรีวิชัยได้ แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จมากนัก จากการไม่ส่งเครื่องราชบรรณาการไปจีนดังที่เคยกระทำในช่วงต้น ทำให้ในช่วงปลายพวกมองโกลรุกราน อีกทั้งยังเกิดกบฎในเมือง จึงเป็นสาเหตุหลังที่ทำให้อาณาจักรสิงหัสสาหรีต้องเสื่อมลง
อาณาจักรมัชฌปาหิต เป็นอาณาจักรในชวาตะวันออก มีอำนาจกว่า 200 ปี กษัตรย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ ฮะยัม วูรุค ซึ่งเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของอาณาจักแห่งนี้ โดยได้ขยายอำนาจไปทั่วแหลมมลายูตอนใต้บอร์เนียว สุมตรา บาหลีและฟิลิปปินส์ มัชปาหัต เป็นอาณาจักรฮินดูแห่งสุดท้ายในหมู่เกาะมาเลย์ ก่อนนี้มีอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเชื่อว่ามีที่ตั้งอยู่ในปาเลมบัง บนเกาะสุมาตรา ผู้สถาปนาอาณาจักรมัชปาหิต ก็คือ การ์ตะราชะสา หรือ ระเด่นวิชัย ลูกเขยของกษัตริย์แห่งอาณาจักรสิงหะส่าหรี ซึ่งอยู่บนเกาะชวาเช่นกัน หลังจากสิงหสารีแผ่อำนาจกว้างไกลจนกลุ่มศีวิชัยต้องถอยออกไปจากเกาะชว่า อำนาจอันยิ่งใหญ่ของสิงหสารีก็เป็นที่สนใจแก่กุบไลข่านในจีน ซึ่งได้ส่งทูตมาของเครื่องราชบรรณาการ ในเวลานั้นการ์ตะนคร ผุ้ปกครองอาณาจักรสิหสารีทรงปฏิเสธ กุบไลข่านจึงส่งกองเรือถึง 1,000 ลำมาประชิดชายฝั่งชวาในปี
อาณาจักรมัชฌปาหิต อาณาจักรสุดท้ายในหมู่เกาะอินโดนีเซียถือว่าเป็นตัวแทนของอาฯาจักรสิงหัสส่าหรี ในการดำเนินนโยบาการแผ่ขยายอาณาเขตไปยังเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซียเข้าเป็นสมาพันธรัฐ ผุ้ที่มีส่วนสำคัญในการสร้างความเจริญรุ่งเรื่องในแก่อาณาจักหาใช้กษัตริย์ไม่ แต่เป็นเอกอัครมหาเสนาบดี คชา มาดา ผลงานสำคํญเช่นใช้กำลังทางทหารเป็นเครื่องมือในการก่อตั้งจักวรรดิ จัดระเบียบการปกครองภายในเป็นสัดส่วน เสริมความสามารถของหน่วยงานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ จัดให้พระบรมวงศานุวงศืทำงานในตำแหน่งต่าางๆ เป็นการลดอำนาจและตัอปัญหาการแย่งชิงอำนาจซึ่งกันแลกัน สำรวจสำมะโนประชากร เพื่อจัดให้เป็นชนชั้น สะดวกแก่การจัดสรรอาชีพ รวบรวมตัวบทกฎหมายโดยดัดแปลงกฎหมายชวาเดิม ผสมผสานกับคำภีร์ธรรมศาสตร์ของอินเดีย สร้างสัมพันธไมตรีทางการค้ากับอาณาจักรใกล้เคียงเช่น อยุธยา พม่า เขมร จามปา เวียดนาม จีน อินเดีย เปอร์เซียร์ ทำให้อาณาจักมัช
ฌปาหิตมีเสถียรภาพทางการเมืองส่งผลให้เศรษฐกิจของมัชฌปาหิต ดี เป็นศูนย์กลางทางการต้าระวห่างตะวันตกกับตะวันออกสินค้าสำคัญคือเครื่องเทศ ไม่หอม งาช้าง ดีบุกฯลฯ เมื่อ คชา มาดา ถึงแก่อนิจกรรม อาณาจักรมัชฌปาหิตก็เสื่องอำนาจลง สาเหตุสำคัญประการหนึ่งคอ การขยายตัวของอาณาจักรอิสลามเข้ามายังหมู่เกาะเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเล็กๆ หันไปนับถือศาสนาอิสลามมากขึ้นเพื่อความสะดวกับการค้าขายกับชาติอาหรับและ ต่อต้านอาณาจักมัชฌปาหิต เมื่ออาณาจักมัชฌปาหิจเสือมอำนาจลง หมู่เกาะต่างๆ ก็ตั้งตัวเป็นอิสระ (www;gotoknow
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...