กลุ่มวัดบรมพุทโธ Borobudur Temple Compounds. ตามประวัติสันิษฐานว่าบุโรพุทโธน่าจะสร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 778 ถึง ค.ศ.850 โดยกษัตริย์ราชวงศ์ไศเลนทร์
" Borobudur" มาจาการปสมกันระหว่าง Boroและ Budur คำว่า Boro หมายถึงวัดหรือศาลเจ้า ที่มาจากคำว่า Byara ในภาษรสันสกฤต ส่วน Budur มาจากคำว่า Beduhur ในภาษาบาหลี ที่หมายถึงภูเขา "บโรพุทโธ" จึงมีความหมายโดยรวมว่า วัดที่สร้างบนภูเขาภาษาสันสกฤต ส่วน "Budur" มาจากคำว่า Beduhur ในภาษาบาหลี ที่หมายถึงภูเขา "บุโรพุทโธ" จึงหมายโดยรวมว่า วัดทีสร้างบนภูเขา
บุโรพุทโธ เป็นพุทธสถานแบบฮินดูชวา ผสมผสานกับศิลปะแบบอินเดียและอิโดนีเซียเข้าด้วยกัน โยสร้างจากหินภูเขาไฟ เป็นรูปทรงขั้นบันไดแบบพีระมิดบนฐานสี่เหลี่ยม องค์เจดีย์มีลักษณะเป็นรูปทรงดอกบัง ซึ่งสื่อถึงสัญลัษณ์ของพระพุทธศาสนา ตามหลักฐานในประวัติศาสตร์สถานที่แห่งนี้แะบริเวณโดยรอบเป็นที่ลุ่มและถูกล้อมรอบลด้วยยน้ำทีท่วมมาจากแม่้ำโปรโก ทำให้บุโรพุทโธเปรีบบเสมือนดอกบับลอยอยู่ในน้ำ
รอบวิหารบุโรพุทโธเต็มไปด้วยหินสลักนูนต่ำ ซ้อนกันเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไป แต่ละชั้นแสดงคติธรรมทางพุทธศาสนา ขึ้นแรก เป็นชั้นที่มีความหมายถึงการที่มนุษย์ยังเาะเกี่ยวอยู่กับการเวียว่ายตายเกิด และวนเวียนอยุ่กับกิเลส ตํณกา กามราคะ ที่เรียกว่าชั้น "กามธาตุ" ชั้นนี้มีภาพสลักที่น่าสนใจอยุ่ถึง 160 ภาพ เป็ฯการเล่าเรื่องราวตาม "คัมภีร์ธรรมวิวังค์" ว่าด้วยเรื่อง "กฎแห่งกรรม" ซึ่งก็คือเรื่องของบาป บุญ คุณ โทษนั่นเอง
ชั้นที่สอง คือ "รูปธาตุ" มัลักษณะเป็นขั้นบันไดรูปกลม ฐาน 6 ชั้น สูงกว่าชั้นกามธตุเล็กน้อย แสดงถึงการที่มนุษย์หลุดพ้นจากิเลส ทาโลกได้บ้างแต่ก็ยังมีส่วนที่ยึดติดกับทางโลกอยู่ และชั้นสุดท้าย คือ "อรูปธาตุ" เป็นชั้นของการปฏิบัติขั้นสูงหลุดพ้นจากิเลสตัณหา ทั้งภวตัณหาและวิภวตัฯหา ชั้นอรูปธาตุนี้มีรูปสลักนูนต่ำที่แสดงถึงพุทธประวัติถึงเกือบ 1,400 ภาพ
ในบางตำราตีความว่าแผนผังของบุโรพุทโธน่าจะหมายถึง "จักรวาล" และอำนาจของ "พระอาทิพุทธเจ้า" ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าผุ้ทรงสร้างโลกในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซึ่งในส่วนของพระเจดีย์องค์ใหญ่ที่อยุ่บนยอดสูงสุดของ "บุโรพุทธโธ" นั้น กล่าวกันว่า เป็นสัญลักษณ์แทนองค์ "พระอาทิพุทธเจ้า" ที่ในคติดความเช่อพระพุทธศาสนานิการมหายามเชื่อว่าพระองค์คือผุ้สร้างสรรพสิ่งนั่นเอง
ในชั้นบนสุดของบุโรพุทโธ ที่ถือว่าเป็นสวยยอดสุดของวิหาร มีลักษระเป็นฐานวงกลมใหญ่ของเจดีย์องค์ประธาน เวลาที่มองมาจากที่ไกล จะเห็นเป็นเหมือนดอกบับขนาดใหญ่ ตั้งตระหง่านอยู่กลางหุบเขา มีผุ้อุปมาภาพที่ปรากฎนี้ว่าเป็นดั่งสรวงสวรรค์ ที่แสดงถึงการหลุดนจาทุกสรรพสิ่งในโลก หรือม่เรียอกว่านิพพาน อันเป็นจุดหมายสุงสนุดของศาสนาพุทธ
อีกสิ่งหนึ่งที่เปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของ บุโรพุทโธ ก็คือ เจดีย์ทรงระฆังโปร่ง ฉลุเป้นช่องสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด เรียงรายอยุ่โดยรอบ ในเจดีย์จะมีองค์พระพุทธรูปอยู่ข้างใน ซึ่งเชื่อกันว่า ถ้าใครสามารถยื่นมือไปสัมผัสองค์พระพุทธรูปในนันได้จะสมหวังและโชคดี..
อุทยานแห่งชาติโกโมโด Komodo Nation Park โกโมโด ข้อมูลทางิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
มังกรโกโมโดเป็นที่รู้จักน้อยมาก เนื่องจากที่อยู่บนเกาะห่างไกลและภาวะจากสงครามดลกครั้งที่ 1 จึงได้มีการศึกษรมักรโกโมโดอย่างจริงจังโดยคณะนักวิทยาศาสรตา์และนักศร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน โดยได้มีภาพยนตร์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมังกรโกโมโดในธรรมชาติ ภาพยนตร์ชุดนี้ได้สร้างความฮือฮาเป็นอย่างยิ่ง และในปีถัด มักรโกโมโดที่มีชีวิต 2 ตัว ก็ถูกส่งไปทวีปยุโรป
มังกรโกโมโดเป็นสัตว์ทีพบได้เฉพาะบนเกาะโกโมโดและหมู่เกาะใกล้เคียงเท่านั้น ไม่พบในที่อื่นใดของโลกอีก มีอุปนิสัยดุร้าย ชอบอยู่เป็นผูง มังกรโคโมโดเป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร จะวิ่งล่าเหยื่อด้วยการซุ่มจู่โจมกัดเหยื่อด้วยฟันที่คม และจะวิ่งไล่ได้เพียงครั้งเดี่ยวถ้าหากมันจับเหยื่อไม่ได้ มันจะต้องอยุดน่ิงเพื่อชาร์จพลังสำหรับการวิ่งครั้งใหม่ มังกรโคโมโดเป็นสัตว์ไม่มีพิษแต่ก็เสมอืนว่ามีพิษ เนื่องจาใน้ำลายมีเชื่อแบคที่เรียอยู่มากว่า 50 ชนิด เหยื่อทีถูกกัดจะเกิดอาการโลหิตเป็นพิษ และจะถึงแก่ความตายในเวลาไม่เกิน 3 วัน ปัจจุบันมังกรโกโมโดเป้นสัตว์ที่มีสถานะเสียงต่อการสูญพันู์ โดยมีปริมาณเหลืออยู่ราว 4,000 ตัว
มังกรโกโมโดเป็น"เหี้ย"พันธุ์ใหญ่ที่สุดของโลก โตเต็มี่เมือ่มีอายุได้สิบห้าปี และมีอายุยืนกว่าห้าสิบปีในป่าธรรมชาติ ชาวพื้นเมืองบนเกาะโกโมโดเรียกว่า โอรา ora เหรือจระเข้บก ส่วนบนเกาะฟลอเรสเรียกว่า เบียวะก์ระก์ซาซา biawak raksasa หมายถึง เหี้ยหรือตะกวดยักษ์ มักรโกโมโดเป้นสัตว์ผุ้ล่า เดิมเหยื่อของมันคือช้างแคระแต่ปัจจุบันสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มันสามารถล้มความ กว่าง แพะ หรือแม้กระทั่งลูกของมังกรโกโมโดด้วยกันด้วยเหตุที่ลูกของมังกรโกโมโดจึงใช้เวลาช่วงแรกๆ ของชีวิตอยู่บนยอด
ของต้นไม้เพื่อไม่ให้ถูกกิน และจะป้องกันตัวด้วยการกลิ้งไปมาในมุลหรือปัสสาวะของเหยื่อ เพื่อไม่ให้ตัวที่ใหญ่กว่ากิน มังกรโกโมโดกินอาหารเดือนละครั้ง และสามารถกินได้มากถึง 3 ใน 4 ของน้ำหนักตัว
อุทยานแห่งชาติโกโมโด ชื่อเกาะทีตั้งขึ้นจาก มังกรโกโมโด หมู่เกาะซุนดาน้อย และเกาะโกโมโดตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันอออกของเกาะชวา หาดทรายสีชมพูเหนื้อละเอียด 1 ใน 7 แห่งของโลก กำเนิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ จนเกลายเป็นเกาะขนาด 75 ตารางไมล์ ที่อุดมด้วยระบบนิเวศน์อันหลากหลาย น้ำทะเลสีฟ้าใสที่เต็มไปด้วยแนวปะการังและผูงปลาหลากสี ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 3 เกาะ คือ เกาะริงกา เกาะปาดาร์ และเกาโกโมโด และเกาะเล็กเกาะใหญ่ อีกประมาณ 26 เกาะ ซึ่งเกาะหล่านี้ต้งอยุ่ใกล้หมู่เกาะซุนดาน้อย มีพื้นที่รวมทั้งหมด 1,817 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ราวสีพันคน เป็นอทุยานที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อนุรักษ์สัตว์ทะเล
กลุ่มวัดปรัมบานัน Prambanan Temple Compounds ปรัมบานัน ตั้งอยู่ที่อมู่บ้านปรัมบานัน เป็นเทวสถานในเสษสนฮินดุ ลัทธิไศวนิกาย สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยชวาภาคกลางราว ค.ศ. ที่ 10 โดยพระเจ้าบาลีตุง แต่จากหนังสือประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียวงใต้ของ อี จี ฮอลล์ กล่าวว่า ผุ้สร้างปรัมบานันน่าจะเป็นพระเจ้าทักษากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งสมัยชวาภาคกลาว ส่วนเหตุที่สร้างนั้นสันนิษฐานว่า สิ่งก่อสร้างทั้งหมด ในเทวาลัยแห่งนี้น่าจะสร้างขึ้นเพื่อเป็นสุสานบรรจุพระศพของกษัตรยิ์และสมาชิกในพระราชวงศ์
ทว่าหลังจากอีกไม่นานปรัมบานันก็ถูกละทิ้งและเสื่อลงในเวลาต่อมา จนมาในยุคปัจจุบันปรัมบานันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี 1991
ปรัมบานันมีชื่อเรียกขาน อีกอย่างว่า "โลโรจงกรัง" มีที่มาากตำนานพื้นบ้าน ที่ว่ากันว่าโลโรจงกรังเป็นเจ้าหญิงแสนงาม จึงมียักษ์มาขอแต่งงาน เจ้าหญิงไม่กล้าปฏิเส แต่ทรงขอให้ยักษ์สร้างจันทิให้ได้ 1 พันหลังถึงจะแต่งงานด้วย ยักษ์จึงใช้เวทย์มนต์สร้างจันทิจนเกือบจะเสร็จสิ้น ส่วนเจ้าหญิงก็ใช้เวทมนต์ทำลายจันทิเหล่านั้นเพราะไม่ต้องการแต่างงานด้วย ทำให้ยักษ์โกรธจัดจึงสาปเจ้าหญิงให้กลายเป็นหินแล้วนำรูปมาทำประติมากรรมประดิษฐานอยู่ในปนัมบานันแห่งนี้ ซึ่งชาวบ้านเรียกขานกันว่า "รูปโลโรจกรัง"
อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลน Ujung Kulon Nation Park ตั้งอยู่ทางปลายด้านตะวันตกเฉียงใต้
ของเกาะชวา ในจังหวัดบันเตน ประเทศอินโดนีเซย พื้นที่ของอทูยาอยุ่บนคาบสมุทรทอดยาวไปในมหาสมุทรอินเดีย โดยนอกจากพื้นที่บนเกาะชวาแล้วอทุยานยังครอคุลมส่วนหมู่เกาะนอกชายฝั่งรวมทั้งเขตอนุรักษ์ธรรมชาติเกาะการากาตังซึ่งเป็นที่ตั้งของภูเขาไฟกรากาตั้วที่เคยมีการระเบิดใหญ่ในปี 1883 อทุยานแห่งนี้มีเนื้อที่รวม 1,261 ตารางกิโลเมตร โดยแยกเป็นส่วยผืนน้ำ 443 ตารางกิโลเมตรน ฌเยแยกเป็นส่วนผืนน้ำ 443 ตารางกิโลเมตร แต่เดิมพื้นที่ของคาบสมุทรอูจุง กูลอนมีประชากรแาศัยอยุ่ค่อยข้างหนาแน่น ทว่าในปี 1883 เมื่อภูเขาไฟกรากาตั้งเกิดการระเบิดอย่างรุนแรงส่งผลให้เกิดคลื่นยักษ์กวาดล้างหมุ่บ้าน
ตามชายฝั่งและเกะดดยรอลล ทำใหมีผุ้เสียชชีวิตมากกว่า 36,000 คน แลกเกิดเถ้าถ่านปกคลุมพื้นที่ดดยรอบหนากว่าหนึ่งฟุต ความรุนแรงของะเหจุการ์ที่เกิดขึ้นทำให้ประชาชนที่เหลือรอด อพยพ อออกไปเป็นอนมากทิ้งให้พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นเขตรกร้างที่ซึ่งต่อมาในปี 1980 พื้นที่ดังกลาวและป่าใกล้เคียงก็ถูกประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ๓ิมิประเทศผืนป่าของอูจง กุลอน ประกอบด้วยป่าดิบที่ลุ่มต่ำ ทุ่งหย็า ป่าชายเลน ชายหาดและทะเล ซึ่งเป็นที่อยุชองสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น วัแดงชวา ชะนีขนเหงิน ค่างชวา เสือดาว นกยู่ นกเงือก กว่างรูซ่า หมาในนอกจากนี ที่นี่ยังเป้ฯที่มั่นสุดท้ายของสัตว์ป่าที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก นั่นคื แรดชวา แรดชวามชื่อเป็นทางการคื อแรดซันไดกัส มนมีลักษระคล้ายแรดอินเดีย ทว่ามีขนาดเล็กว่าและผิวหนังเป็นรอบตารางผิดกับแรดอินเดียที่เป็นปุ่มปมรวมทั้งลักษณะรอยพับของหนังที่หลังคอก็มีความแตกต่างกันโดยของแรดชวาจะมีแผ่นหนังลักษระคล้ายอานม้าอยู่ด้านหลังคอ แรดตัวผุ้มีนอเดียว ขณะที่แรดตัวเมียโดยทั่วไป ไม่มีนอหรือถ้ามี ก็เล็กมากพวกแรดเป็นสัตว์สันโดษ มักอยุ่ตามลำพัง หรืออยู่เป็นคู่เท่านั้น
ในอดีต แรดชวา เคยอาศัยอยุ่ทั่วไปในกาะชวา จนถึงแหลมมลายู เรื่อยขึ้นไปถึงพม่า ไทย ลาว กัมพุชาและเวียดนาม จนถึงจีนตอนใต้ ทว่าการบล่าเพื่อมุ่งหวังนอและอวัยวะอื่นๆ ที่มีราคาแพง เหนื่องจากมีความเชื่อว่า เป็น่วประกอบของยาแผนโบราณที่สำคัญและมีคุณสมบัติทั้งในการบำรุงสมรรถภาพทาเพศไปจนถึงรักษาโรคร้ายได้สารพัด ส่งผลให้ประชกรแรดถูกล่าจนลดจำนวนลงและสูญพันธุ์ไปจากหลายพื้นที่ กระทั่งเมื่อสิ้นศตวรรษที่ 20 ก็เหลือแรดชาอยุ่ในสองพื้นที่คือ ป่าสงนคาเกตียน ของเวีตนามและอทุยานแห่งชาติ อูจุงกูลอน ของอินโดนีเซีย ทว่าการลักลอบล่าของพรานเถื่อนยังคงล้างผลาญประชากรแรดอย่างต่อเนื่อง
และในปี ค.ศ. 2010 แรดในเวียตนามตัวสุดท้ายก็ถูกพรานสังหารทำให้แรดชวาสูญพันธุ์ไปจากแผ่นดินใหญ่โดยสิ้นเชิง โดยเหลือเพียงประกรกลุ่มสุดทายในอุทยานแห่งชาติ อูจุง กูลอนเท่านั้น ซึ่งจากการสำรวจพบว่า ปัจจุบันมีประชารแรดชวาอยู่ที่นี่ราวห้าสิบตัวโดยถือว่าสถานการณ์ของพวกมันนับว่าเหข้าขั้นวิกฤตเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เป็นอย่างยิ่งทำให้ต้องมีการจัดเจ้าหน้าที่คอยเผ้าระวงอย่างเข้มวงดเพื่อป้องกนการลักลอบล่าสัตว์หายากชนิดนี้
นอกจากแรดชวาแล้ว ที่นี่ยังเป็นแหล่งอาศัยสำคัญของวัวแดง ซึ่งเป็นสัตว์ป่าหายากอีกชนิดหนึ่ง ดดยปัจจุบันมีวัวแดงอาศัยอยู่ในป่าธรรมชาิดไม่เกิน 8,000 ตัว ซึ่งที่อทุยานอูจุง กูลอน ถือเป็นแหล่งที่มประชกรวัวแดงอยู่มากที่สุด โดยวัวแดงที่นี้เป็นวัวแดงพันธ์ุชวา ซึ่งมีลักษณะเด่นคือวัวตัวผุ้เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนสีน้ำตาลเข้มอมดำขณะที่ตัวเมียจะมีสีน้ำตาลแดง ศัตรูตามธรรมชาติของวัวแดงที่นี้ ได้แก่ เสื่อดาวและหมาในขณะที่เสือโคร่งซึ่งเคยมีอยุ่บนเกาะชวาได้สูญพันู์ไปหมดตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 20 แล้ว
แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซางีรัน Sangiran Early Man Site แหล่งโบราณคดีชุดค้นพบตั้งแต่ปี ค.ศ. 1936-1941 พบฟอสซิลมนุษย์ และต่อมาก็พบฟอสซิล 50 ซาก โดยครึ่งหนึ่งเป็นฟอสซิลมนุษย์ เป็ฯที่อยุ่อาศัยในอดีตรวว 1 ล้านปีครึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "มนุษย์ชวา" เป็นชื่อตั้งตามฟอสซิลที่ขุดพบในปี 1891 โดยศัลยแพทย์ชาวดัตช์ที่ชื่อ เออแฌน ดูว์บับ เมื่อปี 1891 ที่ตำบลตรีนิล บรเิวณลุ่มแม่น้ำโซโล ในเกาะชวาภาคกลาง นักมานุษยวิทยาได้จัดมนุษย์ชวาเที่พบนี้ว่าเป็นมนุษย์วานร ซึ่งจัดเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ มีชีวิตอยู่ในยุคน้ำแข็งตอนต้น โดยขยายตัวจากชวาเข้าสู่อินโดจีนไปจนถึงภาคเหนือของประเทศจีน โดยในจีนพบวิวัฒนาการที่ดีกว่าที่ชวาเล็กอน้อย เรียกว่ามนุษย์ปักกิ่ง แต่อย่างไรก็ตามมนุษย์ชวายังไม่ถือว่าเป็นมนุษย์อย่างแท้จริง ถึงแม้ว่าจะสามารถทรงตัวอยุ่บนขาทั้งสองข้างและมีลักษระลำตัวตรงแล้วแต่ไม่สามารถตั้งตรงได้ที่เดียว และขนาดของสมองยังเล็กว่าของสมองลิงขนาดใหญ่เล็กน้อย มีส่วนสุงประมาณ 5 ฟุต 7 นิ้ว มีน้ำหนักตัวประมาณ 150 ปอนด์
อุทยานแห่งชาติโลเรินตส์ Lorentz National Park อุทยานแห่งชาติลอเรนซื มีพื้นที่ 2.5 ล้าน
เฮคเตอร์ เป็ฯเขตอนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพื้นที่เพียงแห่งเดี่ยวในโลก ที่เชื่อมพื้นที่ยอดเขามีกิมะหกคลุมกับสิ่งแวดล้อม ทางทะเลเขตต้อนรวมถึงพื้นที่ชุมน้ำ โดยที่บริเวณนี้ตั้งอยุ่บนจุดบรรจบของสองแผ่นทวีปที่เลื่อนเข้าหากัน พื้นที่จึงมีความซับซือ้ทางธราณีวิทยามี การก่อตัวของภูเขาและธารน้ำแข็ง บริเวณนี้บังมีแหล่งฟอสซิลซึ่งเป็นหลักฐานของวิวัฒนาการของชีวิตบน เกาะนิวกีนี และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงสุดในภูมิภาค
อุทยานแห่งชาติดลเรนซ์ คือพื้นที่อนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นพ้นที่อนุรักษ์ที่มีาภาพแวดล้อมหลากหลายมากที่สุดในโลก ตั้งแตแหล่งชุ่มน้ำริมทะเล ป่าฝนเขตร้อนจนถึงภูเขาหิมะ นอกจากนั้นยังได้ขุดพบฟอสซิลของสิงมีชีวิตต่างๆ ซึ่งเป็นหลักฐานอย่างดีเยี่ยมที่แสดงถึงความหลากหลายทางชีวภาพตึ้งแต่ยุคบรรพกาล
คือชื่อแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียที่ตั้งอยู่บนเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเขตอุทยานแห่งชาติ 3 แห่งได้แก่ อุทยานแห่งชาติกุนุงลูเซอร์, อุทยานแห่งชาติเครินซีเซบลัตและอทุยานแห่งชาติบูกิตบาริซานเซลาตัน
มรดกผ่าฝนเขตร้อนของเกาะสุมาตรา Tropical Rainforest Heritage of Sumatra
อุทยานแห่งชาติทั้ง 3 แห่งได้ร่วมกันขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ชื่อ "มรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา" ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ด้วยข้อกำหนดดังนี้
- เป็นตัวอย่างมี่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนในวิวัฒนาการสำคัญต่างๆ ในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เก็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
- เป็นแหล่งที่เกิดจาปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามมเป็ฯพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
- เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะ อันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งตวมความอุดมสมบูรณ์ของพืชและสัตว์ที่ทั่ว โลกให้ความสนใจด้วย
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของจังหวัดบาหลี : ระบบซูบะก์ หลักการตามปรัชญาไตรหิตครณะ
ภุมิวัฒนธรรมเขตบาหีนี้แดงให้เก็นถึงหลักการถ้อยที่ถ้อยอาศัยอันสร้างคึามสมดุลและความกลมกลืนระหว่างมนุษย์ ศาสนาและธรรมชาติจนก่อให้เกิดรูปแบบกสิกรรมขั้นบันไดอันยั่งยืนและรังสรรค์ภูมิประเทศอันโดดเด่น
ระบบซูบะก์เป็ฯวิธีชลประทานแบบดั้งเดิมบนเกาะบาหลีที่เกิดขึ้นในรววคริสต์ศตวรรษที่ 10 มีลักษระเป็นสถาบันทางสังคมและศษสนาเปรีบเที่ยบ เที่ยบได้กับ "สหกร์ชาวบ้าน" ที่ผนวกศาสนา ความเชื่อเทคโนโลยีการเกษตร วัฒนธรรมและการเมืองท้องถิ่นไว้ด้วยกัน โดยกำหนดให้มีพื้นที่ซึ่งมีขอบเขตคล้ายหมู่บ้าน ปกครองโดยคนในพื้นที่มี "อุทกอาราม" หรือ วัดน้ำ เป็นสูนย์กลางในการบริหารจัดการน้ำ ส่วนประกอบที่สำคัญ คือ เครือข่ายทางขนส่งน้ำที่ซับซ้อนและอุโมงค์ที่สร้างโดยกาเจาะหินและต่อไม่ไผ่เพื่อส่งน้ำซึ่งบางสายยาวกว่ากิโลเมตร ต้องสร้างและดูแลโดยช่างผีมือโดยเฉพาะในการนำน้ำเข้าไปสู่นาขึ้นบันไดชั้นบนสุดของเนินเขาก่อนปล่อยให้ไหลลงสู่นาข้าวเบื้องล่าง
หลักที่สำคัญของระบบซุบะก์คือ ปรัชญาไตรหิตครณะ หรือหลักความสมดุลกลมกลืน 3 ประการ อันเป็ฯหลักการสร้างความสงบสุขแก่ชีวิตที่รมาจากศษสนาฮินดูในอินเดียยประกอบด้วย ความสมดุลและความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับเทพเจ้า มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ
ระบบซุบะก์ มีการคิดค้นเป็นเวลานานกว่า พันปี สำหรับชาวบาหลีระบบชลประทานบนเกาะนั้นไม่ง่ายที่จะจัดหาน้ำสำหรับพืชพรรณต่างๆ แต่น้ำถูกใช้ในการสร้างระบบนิเวศเที่ยม นาข้าวในบาหลีถูกสร้างรอบๆ วัด และการจัดสรรน้ำถูกสร้างโดยนักบวช ซูบะก์คือระบบชลประทานที่ยั่งยืนตามธรรมชาติซึ่งผูกสังคมเกษตรกรรมบาหลีเข้าด้วยกันภายในศูนย์ชุมชนของหมู่บ้านและวัดบาหลี ครอบคลุม 19,500 เฮกตาร์ การจัดการน้ำอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่ของนักบวชในวัดต่างๆ ซึ่งมีการฝึกฝนปรัชญาไตรหิตครณะ หรือความสัมพันธ์ของอินแดนระหว่างวิญญาณโลกมนุษย์ และพระเจ้า ไตรหิตรครณะเกี่ยวข้องกับวิธีการโบราณตามอย่างในอินเดียโดยฤาษีในศาสนาฮินดู
- อุทกอารามหลวงปุระ ตามัน อายุน เป็นวัดที่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีสถาปัตยกรรมที่โดเด่นต่างจากวัดน้ำแห่งอื่น สร้างขึ้นในคริสต์วรรษที่ 17 เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมของกษัตริย์เม็งวีในอดีต กำแพงประตูวัดก่อด้วยหินสูง มีประตูเล็กหลายบานที่สลักเสลางดงาม หลังคาปูด้วยหญ้าอลัง อลัง มีคูน้ำล้อมรอบวัดราวสรวงสวรรค์ กลางกระแสธารา
- ภูมิทัศน์ ประกอบด้วยกลุ่มซูบะก์ ราว 15 แห่ง ระบบซูบะก์ที่มีความโดดเด่นในภูมิทัศน์แห่งนี้ได้แก่ ซูบะก์แห่งปมู่บ้านจาตีลูวีห์ ซึ่งมีขนาดใหญ๋ที่สุดและสวยที่สุดในบาหลี และยังเป็นหมุ่บ้านเดี่ยวที่ปลูก ปาดีบาหลีหรือข้าวพันธุ์ท้องถ่ินที่มีลำต้นสวยสง่าแก่งปมู่บ้านจาตีลูวีห์
- www.manager.co.th/มหัสจรรย์ "บุโรพุทโธ" พุทธสถานในแดนอิเหนา, สวัสดีอินโด(จบ) : "ปรัมมานัน" มหัศจรรย์วิหารฮินดู
- www.th.wikipedia.org/ มังกรโกโมโด, มรดกป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา
- komkid.com อุจุง กูลอน ที่มั่นสุดท้ายของแรดชวา
- www.wikiwand.com มนุษย์ชวา
- www.uasean.com อุทยานแห่งชาติโลเรนซ์
- http//nuchalertchic.wordpress.com/ภูมิวัฒนธรรมเขตบาหลี