วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2560

Local government in Malaysia

             จากการที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษทำให้ได้รับอิทธิพบของโครงสร้างการเมืองการปกครองของประเทศอังกฤษมา คือ การปกครองอ้วยโครงสร้างของระบบรัฐสภา ยกเว้น ระบบรัฐาบซึ่งมาเลเซียมีทั้งระบบรัฐบาลหรือสหพันธ์และรัฐบาลแห่งรัฐ สำหรับโครงสร้างการเมืองการปกครองโดยทั่วไปเป็นดังนี้
            ระดับสหพันธรัฐ
            - สภาประมุของผุ้ปกครองรัฐ และพระราชธิบดี
            - นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
            - สภาผุ้แทรราษฎรและวุฒิสภ
            - สภาบันตุลาการ
            ระดับรัฐ
            - ประมุขแห่งรัฐ
            - สภาการบริหารและมุขมนตรี
           - สภานิติบัญญัติแห่งรัฐ
            - เลขาธิการประจำรัฐ
           การปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่น
            - ส่วนภูมิภาค
            - ส่วนท้องถิ่น
           ระดับสหพันธรัฐ
           ถือได้ว่าเป็นรัฐบาแห่งชาติ ซคึ่งเป็นตัวแทนของประเทศมาเลเซียในการดำเนินความทสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ ในเวทีระหว่างประเทศการทำสนธิสัญญา การกำหนดนโยบายต่างประเทศ การป้องกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน การกำหนดกฎหมายการศาลการแลบงสัญชาติ การคลัง การต้า พาณิชย์และอุตสาหกรรม
           - สถาบันประมุข ในโครงสร้างของการปกครองของรัฐบาล กลางมีการแหยกประเภทของผุ้นำระดับสูง ดังนี้
                  กษัตริย์ เป็นประมุขของประทเศ เป็ฯผุ้นำสูงสุดของประเทศแต่อยู่ภายใต้กำหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งประเทศมาเลเซียได้เรีกกษัตริยืของตนว่า ยัง ดี เปอร์ ตวน อากง ที่มีที่มาจากการเลือกตั้งทุกๆ 5 ปี จากบรรดาสุลต่านที่เป็นประมุขของรัฐทั้ง 9 รัฐที่เรียกว่า ยัง ดี เปอร์ ตาน เนเกอรี ในส่วนอำนาจของกษัตริย์หรือประมุขจะกี่ยวข้องกับด้านศาสนา พิธีการต่างๆ นอกจานี้ยังม่อำนาจในด้านอื่นๆ  เช่น อำนาจทางการบริหาร และนิติบัญญัติ กล่าวคือ กฎหมายจะต้องประกาศใช้ถูกยับขั้ง หรือถูกแก้ไขโดยกาัตริย์อีกทั้งกษัตริย์ยังมีอำนาจในด้านอื่นๆ เช่น อำนาจทางการบริหาร และนิติบัญญัติ กล่าวคือ กฎหมายจะต้อง ประกาศใช้ถูกยับยั้ง หรือถูกแก้ไขโดยกษัตริย์ อีกทั้งกษัตริย์ยังมีอำนาจในการแหต่งตั้งให้หัวหน้าพรรคการเมอืงที่มีเสียงข้างมากหรือที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
                 ที่ประชุมแห่งประมุขรัฐ มีความเกี่ยวข้องกับกษัตริย์สุลต่าน ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม องค์ประกอบของที่ประชุมฯ ประกอบขึ้นจากสุลต่าน 9 รัฐ และ 4 ผุ้ว่าแห่งรัฐปีนัง มะละกา ซาบาห์ และซาราวัค ส่วนอำนาจหน้าที่หลักของที่ประชุม คือ การแต่งตั้งกษัตริย์ และอุปราชหรือผุ้สำเร็จราชการแทนพระองค์
            - สถาบันบริหาร ในส่วนนี้มีเพียง 2 กลุ่มผุ้นำ คือ นายก รัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
               นายกรัฐมนตรี เป็นผุ้นำสุงสุดของฝ่ายบริหารตามระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีเป้นหัวหน้าพรรคอากรเมืองที่สมาชิกได้รับเลือกเข้ามานั่งในสภมากที่สุ หรืออาจเป็นหัวหน้าพรรคที่เป็นนำในสภาผุ้แทนราษฎร ทั้งนี้กษัตริย์จะเป็นผู้ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี สำหรับหน้าที่นั้น นอกจากจะเป็นผุ้นำคณะรัฐบาลในการบริหารประทเศแล้ว นายกรัฐมนตรียังสามารภแต่งตั้งบุคคลเช้าดำรงตำแหน่งผุ้บริหารระดับสุงในระบบราชการ นอกจานี้ยังต้องถวายนโยบายการปกครองและการบริหารรัฐให้แก่กาัตริย์ทราบ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการแต่งตั้งผุ้ิพากษา อธิบิีกรมตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการบริหารสาธารณะ และคณะกรรมการการเลือกตั้งอีกด้วย
             คระรัฐมนตรี ถือว่าเป็นหุ่มผุ้กำหนดนโยบายอันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า นายกรัฐมนตรีเองจะเลือกสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรเข้ามาดำรงตำแหน่งดังกล่าวตามกระทรวงต่างๆ ซึ่งจะมีสมาชิกของคณะรัฐมนตรีทั้งหมด 26 คน จาก 24 กระทรวง กระทรวงต่างๆ ทั้ง 24 กระทรวงในระดับสหพันธรัฐจะส่งตัวแทนของตนเข้าไปยู่ประจำรัฐต่างๆ เพราะโครงสร้างการบริหารงานในแต่ละรัฐจะมีกระทรวงที่รองรับดครงสร้างกันอันมาจากการปกครองระดับชาติ ทั้งนี้เพื่อให้ตัวแทนจากสหพันธ์คอยให้คำปรึกษาแนะนำ เป็นสื่อกลางระหว่างรัฐบาลมลรัฐและรัฐบาลแห่งสหพันธ์ การมีโครงสร้้างในการแหบงกระทรวงที่ถอดแบบมาจากส่วนกลางนี้เป็นเครื่องมือในการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลแห่งสหพันธ์ทางหนึ่ง สำหรับกระทรวงที่ทำหน้าที่ดูแลการปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่น คือ กระทรวงมหากไทยและกระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น
           - สภาผุ้แทนราษฎรและวุฒิสภา นับแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา อำนาจนิติบัญฐัติชองสหพันธรัฐ ประกอบด้วยกษัตริย์ และ 2 สภาด้วยกันคือ วุฒิสภา และสภาผุ้แทนราษฎร
              วุฒิสภา ประกอบขึ้นจากสมาชิก 2 กลุ่มด้วยกัน รวมเป็น 70 คน โดยที่ 26 คนมาจากการเลือกต้้งของสภานิติบัญญัติ 13 รัฐ รัฐละ 2 คน ส่วนอีก 44 คนมาจากการเสอนชื่อโดยนายกรัฐมนตรีเพื่อให้กษัตริย์แต่งตั้งจากบุคคลผุ้มีความรู้ความสามรรถในงานสาขาอาชีพต่างๆ เช่น การค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรืองาน วัฒนธรรม งานด้านสงคมสงเคราห์ หรือผุ้นำชนกลุ่มนอย ซึ่งสมารถดำรงอยู่ในตำปน่งได้วาระละ 6 ปี และมีบทบามในการเป็นตัวแทนให้กับรัฐและ เป็นเครื่องมือสำหรับการปกป้องสิทธิของรัฐต่างๆ ที่อยุ่ในสหพันธ์ุด้วย
             สภาผุ้แทนราษฎร ในปัจจุบับสภาผุ้แทนราษฎรมีสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงมาจากราษฎรในรัฐต่าง โดยมาจากเขชตเลือกต้งแขตละ 1 คน รวม 222 คน สมิชิกสภาผุ้แทนราษฎรนี้จะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 21 ปี บริบูรณ์ และอยุ่ในตำแหน่งได้คราวลิ 5 ปี
             - สถาบันตุลาการ(ในระดับสหพันธรัฐ) เนื่องจากเคยเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ การบริหารงานทางด้านยุติธรรมและรูปแบบของศาลทั้งประเทศจึงอาศัยแบบอย่างของกฎหมายอังกฤษ ยกเว้นแต่ศษอิสลามหรือศาลการศาสนาที่ใช้รูปแบบแตกต่างออกกไป โยรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรับมาเลเซียเกิดขึ้นโดยการตกลงร่วมกันระหว่างรัฐบาลอังกฤษและบรรดาเจ้าผุ้ครองนครต่างๆ ในมาลาย และได้รับสัตยาบรรณทั้งโดยกฎหมายของรัฐบาลกลางและรัฐบาลรัฐต่างๆ จึงเป็นที่ยอมรับนับถือว่า รัฐธรรมนูญของสหพันธรัฐเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศและรัฐธรรมนูญนี้ก็ได้ตราบทบัญญัติกี่ยวกัยอำนาจทางนิติบัญญัติของรัฐบาลกลางและรัฐบาลของรัฐไว้หลายแระการ เฉพาะที่เกี่ยวกับอำนาจทางตุลาการหรือศาลยุติธรรมซึ่งมาเลเซียมอบห้แก่ศาลระดับต่างๆ
              ระดับรัฐ รัฐบาลแห่งรัฐเป็นรัฐบาลท้องถ่ินของรัฐในประทเศมาเลเซียจำนวน 13 รัฐ ทำหน้าที่ปกครองบริหารราชการในรัฐนั้นๆ มีลักษณะเป็นรัฐบาลเล็กๆ 13 รัฐบาลอยฦู่ในประเทศเดียวกัน เพราะมีโครงสร้างเช่นเดี่ยกับรัฐบาลกลาง ที่ประกอบด้วย
              - ประมุขแห่งรัฐ คือ เจ้าผุ้ครองรัฐใน 9 รัฐ หรือเรียกอีกชื่อว่า ยัง ดี เปอร์ ตวน เนเกอรี ซึงทรงมีพระอิสระยยศแตกต่างกัน โดยเจ้าผุ้ครองรัฐยะโฮร์ ตรังกานู ปาหัง สลังงอร์ เปอร์ลิส กลันตัง เนกรีซัมบิลัน เคดาห์ และเปรัค มียศเป็น "สุลต่าน" ซึ่งในปัจจุบันพระปรุมขหรือพระราชาของสหพันธณัฐมาเลเซย คื อเจ้าผุ้ครองรัฐเคดาห์มีพระยศเป็น "พระมหากษัตริย์" ส่วนอีก 4 รัฐที่ไม่มีเจ้าปุ้ครองรัฐจะมีข้าหลวง ที่ำด้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลกลางทำหน้าที่เป็นประมุขโดยทำหน้าที่ด้านพิธีการเป็นส่วนมาก
             - ฝ่ายบริหาร รัฐบาลแห่งรัฐจะมีมุขมนตรีแห่งรัฐ ในรัฐที่มีเจ้าผุ้ครองรัฐ ส่วนในรัฐที่ไม่มีเจ้าผุ้คีองรัฐจะมีผุ้ว่าการรัฐ โดยแต่งตั้งมาจากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะผุ้บริหารรัฐ ดูแลด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การศึกษา หรือสุขภาพอนามัยของผุ้คนในรัฐ โดยแต่ละรัฐมีอิสระในกรบริหารจากรัฐบาลกลางพอสมควร ยกเว้นด้านการต่างประเทศ การทหาร การเงินและเศรษฐกิจมหภาคที่ยังคงอยุ่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลและรัฐบาลแห่งรัฐ
           - ฝายนิติบัญญัติ แต่ละรัฐมีสภานิติบัญญัติแห่งรับ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับรัฐสภาในรัฐบาลกลาง หากแต่ในระดับรัฐจะมีเพียงสภาเดียว ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน ดดยทำหน้าทีออกกฎหมายท้องถิ่นภายในรัฐมีวาระ 5 ปี
           - ฝ่ายตุลาการ (ในระดับรัฐ) งานด้านตุลาการส่วนใหญ่ในประเทศมาเลเซียจะอยุ่ในระดับรัฐ ซึงแต่ละรัฐก็มีสภาบันตุลาการของตนแยกออกเป็น 7 ประเทภทด้วยกัน
            การปกครองส่วนภูมิภาค การปกคหรองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่นภายในแต่ละรัฐนั้น อยุ่ภายต้การกำกับดูแลของรัฐบาลลรัฐอย่างเต็มที่ ถึงแม้ว่าการปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเป็นเรื่องภายในของแต่ละรัฐที่จะสารถบริหารจัดกรและออกแบบโครงสร้างได้เอง แต่โดยส่วนใหญ่รูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถภ่ินในแต่ละัฐก็จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในภาพรวม
            การปกคหรองส่วนภูมิภาคของประเทศมาเลเซียลักษณะการแบ่งโครงสร้างคล้ายกับประเทศไทย โดยการกำหนดให้มีหน่วยการปกครองระดับอำเภอและตำบล จะมีความแตกต่างบ้รางก็ตรงที่บุคคลผุ้มาทำไน้าทีปกครองในหน่วยการปกครอระดับภูมิภาคทั้งในระดับอำเภอและตำบลจากการแต่างตั้งของส่วนกลาง มีฐานะเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวงเคนะและการปกครองส่วนท้องถิ่น
            จุดเริ่มต้นของการศึกษาการปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียเริ่มจากการปฏิรูปกันอย่งจริงจัง เมื่อปี พ.ศ. 2519 ที่ได้มีการออกกฎหมายที่เกี่ยวกับการปกครองท้องถ่ิน เรียกว่า Local Government Act 124 ในปี พ.ศ. 2519 กฎหมายฉบับนี้นับว่ามีความสำคัญต่อการปกครองส่วนท้องถ่ินของมาเลเซียเป็นอย่างมาก เพราะเป็นกฎหมายที่มีเนื้อหนาปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นของมาเลเซียเป็นอย่างมาก เพราะเป็นกฎหมายที่มีเปนื้อหาปฏิรูปการปกครองท้องถ่ินของมาเลเซียอย่างจริงจัว ดดยมีความพยายาทำให้การปกครองท้องถ่ินเป็นของประชาชนในท้องถ่ินมากที่สุด ซึ่งจากเดิมากรปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียอยู่ภายใต้การปกครองโดยรัฐส่วนกลาง โดยที่เจ้าหน้าที่รํบสามารไปดำรงตำแหน่งในระดับท้องถิ่นได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการรวมศูนย์อำนาจรัฐที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งทางการปกครอง เนื่องจากความหลากหลายของเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่อกาจนำไปสู่ควาขัดแย้งในท้องถ่ินต่างๆ ที่ส่งผลต่อแนวนโยบายในการพยายามสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันของมาเลเซียนับแต่ได้รับเอกราช
          อย่างไรก็ตาม การพิจารณาถึงการปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจำเป็อย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาถึงการปกครองส่วนภูมิภาคควบคู่กันไปด้วย เพราะมาิเลเซียมีลักษณการรบอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางและสร้างองค์กรของรัฐให้เข้มแข็งเพ่อเหตุผลดังที่กล่าวมา ดังนั้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจึงไม่ได้เป็นอิสระอย่งแท้จริงและยัง๔ูกควบคุมโดยโครงกสร้างการปกครองของส่วนกลง เทศมนตรีหรือผุ้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็มาจากการแต่างตั้งของ Menteri Besar โดยตรงและโดยปกติชื่อมี่ถูกเสนอขึ้นไปจะมาจากการเสนอของพรรคการเมืองที่ได้รับชัยชนะในรัฐน้้นๆ หากมองในแง่นี้เทศมนตรีหรือผุ้นำในระดับท้องถ่ินเหล่านี้ก็จะไม่มีอิสระในการบริหารเท่ารที่ควร เพราะพวกเขาจะขึ้นตรงต่อผุ้ที่แต่างตั้งเขามาเท่านั้น
           ได้มีผู้สรุปคุณลักษณะขงอองค์กรปกครองท้องถ่ินมาเลเวีย ดังนี้
            - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขอบเขตการปกครองที่ชัดเจนตามกฎหมายที่กำหนดให้แต่ละเขตพื้ที่มีอำนาจการปกครองในระดับท้องถ่ินอย่งเท่าเทียมกัน
            - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ ความรัีบผิดชอบในการดและประชาชนในพื้นที่แลพัมรสาผลประดยชน์สาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
            - องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินถือเป็นสภาบันหนึงที่เกิดขึ้นตามกฎหมายพิเศษและอยุ่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐบาลสหพันธรัฐ
            - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องดำเนินหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด มิเช่นนั้นอาจโดนฟ้องร้องได้ โดยมีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ดำเนินฟ้องร้อง ครอบครองพื้นที่และเซ็นศัญญาเหรือข้อตกลงตางๆ ได้
            - องค์การปกครองสวนท้องถิ่นมีอำนาจในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีหน้าที่ตาข้อบัญญัติท้องถ่ิน เช่น มีอำนาจและหน้าที่กำหนดไว้ตามกฎหมายเท่านั้น
            - ถึงแม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะอยงุ่ภายใต้การกำกับดูแลโดยรัฐบาลสหพันธรัฐ แต่ยังคงมีความเป็นอิสระตามทีบทบัญญัติท้องุ่ินกำหนดอำนาไว้ให้
            - ที่มาของตัวแทนที่ทำหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมทั้งจากการแต่งตั้งโดยผุ้มีอนำาจสุงสุดหรือรัฐบาลและมาทั้งจากการเลือกโดยประชาชนในพืั้นที่
            - ผุ้ปกครองรัฐที่ได้รับเลือกจากรัฐบาลกลางจะทำงานร่วมกับสมาชิกของสภาท้องถิ่น
            - บทบาทหน้าที่พื้นฐานที่สำคัญขององครกปกครองส่วนท้องถิ่น คือ การดูแลความสะอากของย้านเมือง การให้บริการต้านสาธารณสุข สุขอนามัย และากรรักษาความปลอดภัย
            - อำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินยังหมายวามรวมถึงการจัดเก็บภาษีและลงโทษสำหรับผู้ไม่เสียภาษี อีกทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังสามารถแต่งตั้งพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ รวมทั้งมีอำนาจของตนเอง ในการบริหารจัการงลประมาณท้องถ่ินภายในองค์กรได้
              โครงสร้างและรูปแบบการปกครองท่้องถิ่น รูปแบบการปกครองส่วนทองถิ่นของมาเลเซียหรือรัฐบาลท้องถิ่น บริหารกิจการท้องถ่ินภายใต้การควบคุมของรัฐบาลแห่งรัฐ มีรูปแบบหลัก ๆ 5 รูปแบบดังนี้
              1 สภานคร รัฐบาลท้องถ่ินรูปแบบนี้มีทั้งสิ้น 12 แห่ง คณะกรรมารธิการสภนครมาจากการเลือกตั้ง
              2 สภาเทศบาล (นคร) ซึ่งมี 39 แห่งซึ่งรัฐบาลท้องถิ่นและคณะกรรมาธิการของการปกครองรูปแบบนี้มาจากการเลือกตั้ง มัอำนาจสมบูรณ์ทางการเงินการเก็บภาษีและใบอนุญาตต่างๆ
              การปกครองท้องถิ่น 2 รูปแบบที่กล่าวมาจะถูกจัดตั้งขึ้นในเขตที่มีความเป็นเมืองสูง จำนวนประชากรมากและความหนาแน่นของประชากรมีสูง มีรายได้เพียงพอต่อการบริหากิจการเเมืองขนาดใหญ่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการจัดเก็บภาษีในท้องถ่ิน ส่วนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นเพียงรายได้เสริม ความแตกต่างระหว่าง Municipal Council กับ City Council ใช้รูปแบบที่แยกฝ่ายบริหารกับสภาออกจากกัน
             3 สภาเมือง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดตั้งขึ้นในเขตเมืองใหญ่ๆ ที่มีประชกรมากกวา 5,000 คน แต่ไม่เกิน 100,000 คน มีความสามารถในทางด้านการคลังอยุ่ใระดับปานกลาง รัฐบาลท้องถิ่นรูปแบบนี้มาจากการเลือกตั้ง
             4 คณะกรรมการเมือง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก มีหน้าที่คล้ายสภาเมือง แต่สัดส่วนของบทบาทหน้าที่ และการบิหารจัดการจะแคบกว่าคณะกรรมาธิการเมืองจะมาจากการแต่งตั้ง จัดตั้งขึ้นในเขตเมืองที่มีประชกรีมาก่ 5,000 คนขึ้นไป มีรายได้ต่ำรายได้ส่วนใหญ่มาจากเงินอุดหนุนของรัฐบาลแต่ยังามสามารถบริหาจัดการได้
            5 สภาท้องถ่ิน หรือสภาอำเภอ คือ งอค์กรปกครองสวนท้องถ่ินที่จัดตั้งขึ้ในเขต อำเภอจำนวน 98 แห่งซึ่งจัดตั้งขึ้นในเขตพี้ทีชนบทที่มีรายได้ต่ำ ประชากรน้อย ประชากรส่วนใหญ่อยุ่ในเขตชนบทและทำอาชีพเกษตรกรรม นับเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีขนาดเล็กที่สุดรูปแบบหนึ่งขององค์กรปครองส่วนท้องถิุ่นในมาเลเซีย (คล้ายกับองค์การบริหารส่วยตำบรลของไทย)และมักจะตั้งทัซ้อนอยู่กับการปกครองระดับตำบลและหมู่บ้าน มีรูปแบบบ่อย ดังนี้สภาชนบท, คณะกรรมการหมู่บ้าน ,สภาชนบทประจำอำเภอ, สภาอำเภอ, คณะกรรมการชนบท คือ องคกรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตชนบทที่มีขนาดพื้ที่ใหญ่และมักจะตั้งทับซ้อนอยู่กับการปกครองในระดับอำเภท มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งอำเภอ ยกเว้นส่วนที่เป้นการปกครองส่่วนท้องถิ่นในรูปแบบอื่น)
             การเลือกตั้งระดับท้องถ่ินในยุคหนึ่งได้ถูกยกเลิกไปจากเหตุความขัดแย้งรุนแรงเรื่องเชื้อชาติที่เกิดขึ้นในการเลือกตั้งท้องถ่ิน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 โดยมีการแก้ไขปรับปรงุพระราชยัญญัติการปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2508 โดยมีการแก้ไขปรัฐปรุงพระราชบัฐฐัติการปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2519 ที่กำหนดให้สภาท้องถิ่นมาจากการแต่งตั้งในหมาดที่ 15 สภาท้องถิ่นถูกแต่งตั้งโดยรัฐบาลมลรัฐ การยกเลิกการเลือกตั้งท้องถ่ินเป็นไปตามประกาศกฎหมายสองฉบับ ได้แก่การปกระกาศภาวะฉุกเฉิน และประกาศภาวะฉุกเฉินแก้ไขเพิ่มเติม ที่สงผลใหประชาชนในระดับท้องถ่ินไม่ได้มีประสบการณ์ในการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น สำหรับรัฐซาบลาร์และซาราวักรวมถึงรัฐตามที่ก"มกายกำหนดไม่มีการกำหนดการเลือกตั้ง มลรัฐแต่ละมลรัฐรวมถึงการปกครองกรุงกัวลาลัมเปอร์จะถูกบริหารปกครองโดยตรงภายใต้อำนาจของกระทรวงอาณาเขตของสหพันธ์ ถึงแม้ว่าประเทศมาเลเซียได้เรียนรู้ระบบการปกครองท้องถิ่นจากประเทศเจ้าอารานิคมอังกฤษก็ตาม แต่แน่นอนว่าบริบททางสังคมและเชื้อชาติ ศาสนาที่ส่งผลโดยตรงต่อระบบการเมืองภายในของมาเลิซีย ที่มีผลให้ไม่ประสบความสำเร็จในการกระจายอำนาจไปสู่ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
              การปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจึงไม่เหมือกับรูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ินของประเทศไทยนักที่มีหน่วยงการปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัด เทศบาล ตำแบล ในรูปแบบขององค์การบริหารส่วนจังหงีก เทศบาลนคร เมือง และตำบล และงอค์การบริหารส่วนตำบลที่มีการต่อสู้ทางการเมือง มีพรรคการเมืองชัดเจน และมีการจัดการเลือกตั้บงี่ได้รับเลือกมาจากประชาชนโดยตรง ในขณะที่ประเทศมาเลเซียมีระดับในการปกครองส่วนท้องถ่ินที่แยกหว้าง ๆ ได้ 2 ระดับ คือสภาะชนบท และสภาท้องถิ่น ที่ม่บทบาทหน้าทีเหมือนกับสภาเทศบาลและสภาเมืองใหย๋ เพียงแต่ต่างกันที่บริบทของภูมิศาสตร์และพื้นทีในกาควบคุมดูแล
             สภาเทศบาลสามารถยกฐานะไปเป็นสภาเมืองใหย๋ได้หากเข้าเงื่อขปตามที่กฎหมายกำหนด สภาเมืองใหญ่ปกครองโดยยายกสภาเมือง ในขณะที่สภาเทบาลปกครองโดยประธารสภาเทศบาลรัฐบาลแห่งรัฐแต่งตั้งนายกสภาเทศบาล รัฐบาลแห่งรัฐแต่งตั้งนายกสภาเทองและปรธานสภาเทศบาล รวมถึงสมาชิกสภาทั้งหมก โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และสามารถได้รับการแต่งตั้งซ้ำอีกได้ หากมาองที่มาของผุ้บริหารปกครองระดับภูมิภาคท้องถ่ินจะเห็นว่าเป็นการยึดสายโครงสร้าง การปกครองที่ขึ้นกับส่วนกลาง แต่ประเทศมาเลเซียก็กรนะจายอำนาจให้เฉพาะในส่วนของภารกิจหน้าที่ให้กับอน่วยการปกครองทั้งระดับภูมิภาคและท้องถิ่น อำนาจทางนิติบัญฐักติของการปกครองทั้งในระดับ สภาเมืองใหญ่ สภาเทศบาล และระดับอำเภอ อยู่ที่ผู้บริหาสูงสุดที่ได้รับการแต่งตั้ง ซึ่งอาจเป็นหารแต่งตั้งเต็มเวลาหรือชั่วคราว ซึ่งรัฐบาลแห่งรัฐเป็นผุ้กำหนดคำตอบแทนให้


                                       -"ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน: สหพันธรัฐมาเลเซีย", ดร. ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สภาบันพระปกเกล้า, 2556.

วันศุกร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2560

Local government in Thailand

           การเมืองไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบันเป้นช่วงเวลาที่มีความผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่งที่ส่งผลต่อการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ินทังในด้านพัฒนาและด้านอุปสรรค เพราะเมืองมีการประกาศใช้รัฐธรรม พ.ศ. 2540 และการเข้ามาบริหารประทศของ พ.ต.ท. ทักษษิณ ชินวัตร ที่เป็นนายกรัฐมนตรีชวง พ.ศ. 2544-2549 ซึ่งในช่วงเวลากรบริาหปรเทศของเขาได้สร้างความเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านการกระจายอำนาจในมิติตหนึ่งและด้านการกรชับอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางในอีกมิติตหึงซึงเกิดจากกความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และภาวะผู้นำที่เข้มแข็ง ก่อนที่รัฐบาลทักษิณ จะถูกทำรัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2549 ซึ่งต่อมามีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ในด้านการกระจายอำนาจและกาเพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชน แต่รัฐธรรมนูญฉบับนั้ก็มีหลายมิติที่มีลักษณะการเนิ้นระบบตรวจสอบ การไม่ไว้วางใจในนัการเมือง และการเพ่ิมอำนาจแก่วุฒิสภากับองค์กรอิสระที่ไม่ได้ยึดโยงกับประชาชน
            ภายใต้สถานะการณ์ทางการเมืองทีผันผวนและความแตกแยกของประชาชนที่เรื้อรังมาต้งแต่ก่อนการทำรัฐประหารใน พ.ศ. 2549 มีการเลือกตังและโค่นล้มรัฐบาลหลายครั้ง รวมถึงเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองทั้งใร พ.ศ. 2552, พ.ศ. 2553 และพ.ศ. 2556-2557 ได้ทให้ประเด็นการผลักดันเก่ยวกับการกระจายอำนาจถูกหยิบบกขึ้นเป้นประเด็นทางนโยบายสาธารณะที่มีกรผลักดันอย่างจิรงจังและเป็นทั้งวาทกรรมทางการเมือง รวมถึงมีข้อเนิทางวิชาการในการอธิบายปรากฎการณ์เปลี่ยนแปลงในชนบทที่ได้รับอิทธิพลจากกลไกใหม่ๆ ในการกระจายอำนาจและการมี่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กับรัฐธรมนูญ พ.ศ. 2550 และปรากฎการณ์การเปลียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่ทำให้สภาพการณ์ทางสังคมการเมืองไทยในยุคปัจจุบันเป็นการขยับขยายและเปลี่ยนผ่านจากการเมืองแบบรวมศูนย์ในระบบราชการและระบบการเมืองแบบรัฐสภาของส่วนกลางแบบเดิม มาสู่การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่ถุกขยายแลดึงเข้ามาอย่งกวางขวาง ทั้งผ่านกลำกที่เป็นทางการแลเผ่ารการวมกลุ่มทางการเมืองซึ่งมาเห็ฯได้อย่างเด่นชัดเมือเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่ผ่านมา
             อย่างไรก็ตามจากความรุนแรงทางการเมือภายหลังการเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษำรรมในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 จนเป็นชนวนที่นำมาซึ่งการประท้วงและความรุนแรงทางการเมือง ซึ่งปรากฎหการณ์ความรถนเรงนี้มาจาการแตกขัวยทางการเมืองและความคิดของฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและผ่ายที่คัดค้านรัฐบาลที่ยาวนานและมิได้มีสาเหตุจาการผลักดันร่างพระาชบัญญัตินิรโทษกรรมเพียงอย่างเดียว แต่เป็นปมคามตึงเครียดทางการเมืองและสังคมที่แตกแยกในระดับมูลฐานของบรรทัดฐานและทิศทางในการกไหนดสังคมการเมืองไทยทั้งในมิติศีลธรรมพลเมืองรุปแบบการปกครอง/รูปแบบรัฐ ความไม่เท่าเที่ยมทางสังคม หลักนิติรัฐความน่าเชื่อถือต่อสถาบันทางการเมืองทั้งฝ่ายนิติบัญญํติ บริหา และตุลาการ บทบาทของระบบราชการและกองทัพ ปัญหาของสื่อสารมวลชน รวมไปถึงการจัดารกและการอยู่ร่วมกันของผุ้ที่เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือบที่แตกแยกกันออกเป็นหลายฝ่าย ซึ่งความตึงเครียดนีได้นำมาซึ่งการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษ๓าคม พงศ. 2557 โดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผุ้บัญชาการกองทัพบกและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) การเข้ามามีบทบาทนำเื่อกำหนดทิศทางของประเทศโดยรัฐราชการอีกครั้งภายใต้บริบททางการเมืองที่กลุ่มพลังทางสังคมนอกภาครัฐถูกกันออกจากระบบการเมืองและมีความแตกแยกระหว่างประธานกลุ่มต่างๆ มี่สนับสนุนและคัดค้านการรัฐประหารครั้งนี้ ซึคงภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อการปกครองท้องถิ่นและการกระจายอำนาจดังจะกล่าวถัดไปโดยลักษณะสำคัญของการกระจายอำนาจช่วง พงศ.2540-ปัจจุบันแบ่งการอธิบายออกเป็ฯ 33 ช่วงเวลาดังนี้
              การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ิน พ.ศ. 2540-2549 การกระจายอำนาจที่ไม่ได้ไปพร้อมกับการปฏิรูประบบราชการ ในด้านการกระจายอำนาจช่วง พ.ศ. 2540-2549 นับตั้งแต่กระแสของการปฏิรูปการเมืองช่วงทศวรรษที่ 2530 ได้นำไปสู่การรางรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณจักรไทย พ.ศ. 2540 ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สุดของการปกครองท้องถ่ินไทยเนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บรรจุเนื้อหาด้านการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ินอย่างเป็นทางการ เลปการประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดและแผนขขั้นตอนการกระจายอำนาจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน พงศ. 2542 ที่เป็นปัจจัยเร่งให้เกิดการแรับเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหาราชการส่วนกลางและส่วนภูิมภาคกับองค์กรปคกรองส่วนท้องถิ่น จนส่งผลต่อสภาพการณ์โดยรวมของท้องถ่ินและการเมืองการปกครองระดับชาติ และทำให้การกระจายอำนาจถูกกำหนดให้เป็นกระบวนการถาวรที่ฝ่ยการเมืองและฝ่ายขาราชการประจำไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จนทำให้มีกาตราและแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการปกครองท้องถ่ินจำนวนมาก เช่น กฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่น กฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถ่ิน กฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ เป็นต้น
              อย่างไรก็ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก็มีมิติทีสรางความเข้มแข็งและเอื้อต่อการกระชับอำนาจของระบบราชการ่วนกลางเพราะเป็ฯรัฐธรรมนูญที่ออกเเบบให้มีรัฐบาลที่เข้มแข็ง ในการกุมอำนาจได้ค่อยข้างเด็ดขาดและแก้ไขปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมืองจากกลุ่มการเมืองภายในพรรคและพรรคร่วมรัฐบาลเช่น การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีที่ทำได้ยากขึ้นกำหนดใหสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรที่จะดำรงตำแหน่งนรัฐมนตรีต้องลาออกจากการเป็น ส.ส. ก่อน ทไใ้รัฐมนตรีต้องระวังไม่ให้มีความขัดแย้งกับนายกฯ เพราะเกรงว่าจะถูกปลดจากตำแหน่งและไม่สามารถกลับไปเป็น สส.ได้อีก เป็นต้น ทำให้รับบาลกลางมีเสถียรภาพและความมั่นคงในการริเร่ิมนโยบายของตนมากว่าในอดีต
              นอกจากนี้มีแนวโน้มการกระชับอำนาจของระบบราชการผ่านการปฏิรูประบบราชการเพื่อแก้ไขปัฐหาโครงสร้างที่ใหญ่โตของระบบราชการส่วนกลางที่มีหน่วยงานในระดบกระทรวง ทบวง กรม เป้นจำนวนมาก มีการทำงานและภารกิจที่ซ้ำซ้อนหรือไม่สอดคล้งกับสภาวการณ์ปัจจุบัน มีสานการบังคับบญชาหลายขั้นตอนที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ปัญหาการทุจริตและการห้ผลประโยชน์โดยเจ้าหน้าที่รัฐ โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แต่การปฏิรูปครั้งนี้กลับขยายโครงสร้างของระบบราชการให้มีหน่วยงานมากขึ้น มีจำนวนบุคลากรของหน่วยงานราชการส่วนกลางเพ่ิมขึ้นจาก 968,400 คน ในปี 2545 เปผ้น1,275,350 คน ในพ.ศ. 2550 และเป็นการปฏิรูประบบราชการที่ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อการกระจายอำนาจในฐาน "ส่วนหนึ่งของการปฏิรูป" เนื่ื่องจาก "...เพื่อปรับโครงสร้างและแบ่งส่วนราชการใหม่จาก 14 กระทรวง 1 ทบวง 126 กรม มาเป็น 20 กระทรวง กับอีก 143 กรม โดยมีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เป้นหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ และมีการออกกฎหมาย ระเบียบ และแผนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับการปฏิรูประบบราชการ อย่างไรก็ดีการปฏิรุประบบราชการกลับเป็นอุปสรรคของการกระจายอำนาจและไม่ได้ให้น้ำหนักต่อการกระจายอำนาจให้เป็นเรื่องที่ต้องเคียงคู่หรือทำไปพร้มกับการปฏิรุประบบารชการเช่น ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ก็มิได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนด้านการกรจายอำาจให้เป็นยุทธศาสตร์หลักแต่อย่างใด จนทำให้ระบบราชการส่วนกลางและส่งนภูมิภาคยังขยานตัวทั้งในเชิงโครงสร้างแลการบริาหรงานบุคคลเพราะจำนวนของหน่ยงานและตำแหน่งของข้าราชการรดับสูงที่เป้ฯผุ้บริหารหน่วยงานเพิ่มขึ้น"
             นอกจากนี้การบริหารงานในยุคของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ยังได้ดำเนินนโยบายการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการเหรือ "นโยบายผู้ว่าฯ CEO " เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานของจังหวัดจากเดิมที่ขาดประสิทธภาพ ล่าช้า และไม่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนจากความไม่เป็นเอกภาพในการบริาหราชการส่วนภูมิภาคโดยการออกเระเบียบสำนักนากยกรัฐมนตรีวาด้วยระบบบริหาราชการจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546 จึงทำให้การบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็งและอยู่ภายใต้การควบคุมสั่งการของราชการส่วนกลางมากขึ้น
            การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2550-2557 ข้อเสนอที่หลากหลายของการกระจายอำนาจ ภายหลังการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 จนมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และมีการร่างและประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ซึ่งยังคงสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ได้ปรับปรุงเนื้อหาสาระให้มีความชัดเจนมากขึ้น แต่นี้ก็มีการออกกฎหมายที่เอื้อต่อการกระชับอำนาจของส่วนกลางเช่น การกำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการเลือกตั้งสามารถอยู่ใตำแหน่งอย่างไม่มีวาระจนผู้ใหญ่บ้านอายุครบ 60 ปี เป็นต้น แต่ความน่าสนใจในยุคนี้คือข้อเสนอเกี่ยวกับการกระจายอำนาตเร่ิมมีความหลากหลายมากขึ้น เช่น
            - ข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจโดยคณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศไทยที่จัดทำโดยคณะกรรมการปฏิรูปทีได้รับการแต่งตั้งดดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2553 แล้วได้จัดทำหนังสือแนวทางการปฏิรุปประเทศไทย ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน พ.ศ.2554 โดยในส่วนของข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ ฉบับสมบูรณ์ ได้เสนอเกี่ยกับการกระจายอำนาจว่าเป็นส่ิงที่ควรทำเพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำของความสัมพันธ์ทางอำนาจเพราะปัญหาความเหลื่อมล้ำในความสัมพันธ์ทางอำนาจที่ถูกค้ำจุนโดยโครงสร้างทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป็นทางการ ซึงโครงสร้างของรัฐถือเป็นโครงสร้างอำนาจที่มีความสำคัญซึ่งต้องอาศัยการปฏิรูปแการจัดระเบียบกลไกของรับใหม่เพราะรัฐมักมีการรวมศูนย์และกระจุกตัวของอำนาจที่ศูนย์กลางจนสร้างความไม่พอใจในการกระจุกตัวของำนาจจากประชาชนและความเฉี่ยอชาในทางการเมือง รวมถึงการเพิกเฉยข้อเรียกร้องของท้องถ่ินในทุกด้าน ซึงรายงานชิ้นนี้เสนอว่าการกระจายอำนาจจากส่วนกลางสู่ท้องถ่ินไม่ใช่แค่การถ่ายโอนอำนาจจากองค์กรปกครองขนาดใหญ่สู่องค์กรปกครองที่เล็กกว่า ซึ่งจะเป็นเพียงแค่เปลี่ยนการรวมศูนย์อำนาจจากศูนย์กลางไปยังท้องถิ่นต่างๆ แต่ต้องดำเนินควบคู่ไปกับการลดอำนาจรัฐและเพิ่มอำนาจให้กับประชาชนเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นสามารถจักการชวิตของตนเองและชุมชนได้มากขึ้น
           - ข้อเสนอการตั้งจังหวัปกครองตนเองโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ที่ได้เสนอ "ร่างพระราชบัญญัติการบริาหรจังหวัปกครองตนเอง พ.ศ...." เพื่อยุบเลิกการปกครองส่วนภูมิภาคในระดับจังหวัดลงและให้มีการเลือกตั้งผุ้ว่าการจังหวัดแทน โดยใร่างพระราชบัญญัติกำหนดให้มีกาตั้งจังหวัดปกครองตนเองที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลและถือเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ินแทนที่จะเป็นราชกาบริหารส่วนภูมิภาคเดิมโดยการจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเองนั้นดำเนินการโดยให้ใช้พระราชกฤาฎีกาจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเงอและผลของพระราชกฤษฎีกานี้ให้มีผลยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งจังหวัดนั้น โดยในจังหวัดปกครองตนเองจะมีโครงสร้างภายใน 2 ระดับคือ องคกรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับบน ได้แก่ จังหวัดปกครองตนเอง มีเขตพื้อนที่การปกครองครอบคลุมทั้งจังหวัและ องค์การปกครองส่วนท้อถงิ่นระดับล่าง ได้แก่ เทศบาลและองค์กาบริหารส่วนตำบลมีเขตพื้นที่การปกครองบางส่วนของจังหวัด โดยทั้งสองระดับจะมีสภาพลเมืองที่จัดตั้งในจังหวัดปกครองตนเอง เทศลาลและองค์การบริหารส่วนตำบล
             - ข้อเสนอการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่เดิม โดยรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 กำหนดให้รัฐต้องพัฒนาจังหฝัที่มีความพร้อมให้เป็ฯองคกรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษขนาดใหญ่โดยคำนึงถึงเจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดและกำหนดให้สามารถจัตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษให้กระทำได้ตามกฎหมายบัญญัติ โดยที่คณะผุ้บริหารท้องถิ่นหรือผุ้บิหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้งโดยปัจจุบับนมีเมืองที่เสนอร่างกฎหมายที่เพื่อยกระดับเป็นเมืองพิเศษ ตัวอย่างเช่น แม่สอด สมุย และแหลมฉบัง ดดยเฉพาะแม่สอดนั้นได้มีการผลักดันใหจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษ "นครแม่สอด" จังหวัดตากโดยเสนอร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ...อย่างเป็นรูปธรรม
              แนวโน้มการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นพ.ศ. 2557  การรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ทำให้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ถูกยเลิก ทำให้เกิดการปลี่ยนแปลงของการปกครองท้องถิ่นที่มีแนวโน้มการกระชับอำนาจการปกครองท้ถงิุ่นสู่ส่วนกลางในรูปของประกาศจากคณะรัฐประหารเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปีนับตั้งแต่ประกาศคณะปฏิวัติ..ที่แกไขปรับุรงองค์การบริหารส่วนตำบลและการก่อตั้งกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2515
             จากประกาศคณะรักษาความสวบแห่งชาติฉบับ..กำหนดให้สมาชิกาภท้องถ่ินของทั้งองค์การบริหารส่วยตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลและกรุงเทพมหานครที่ครบวาระหรือพ้นจากตำแหน่งในช่วงเวลานี้ให้งดการจัดให้มีการเลือกตั้งสามาชิกสภาท้องถ่ินหรือผุ้บิริหารท้องถ่ินจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยแปลง โดยให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผุ้บริหารท้องถิ่นจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลง โดยให้มีการคัดเลือกบุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกสภาท้องถ่ินโดยคณะกรรมการสรรหาที่ประกอบด้วยข้าราชการที่มาคัดเลือผุ้ที่จะมาดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถ่นโดยผุ้ที่จะมาเป็นสมชิกสภาท้องถิ่นอย่างน้อยต้องมาจากผู้ที่เป็นข้าราชการหรืออดีตข้อาราชการที่มีตำแหน่งตั้งแต่ระดับชำนาญการพิเศษหรือเที่ยบเท่าขึ้นไป ส่วนตำปหน่ผู้บริหารท้องถ่ินที่ว่างอูนันกำหนดให้ปลัดองค์กรปกครองส่ท้องถ่ินปฏิบัติหน้าที่นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึงทำให้ในแต่ละจังหวัดจึงมีการตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้ที่มาเป็ฯสมาชิกสภาท้องถิ่นขึ้นมาทดแทน โดยตั้งแต่เพือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ใน พ.ศ. 2557 จะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ครบวาระและกำลังจะครบวาระหทั้งหมด 225 แห่ง
              ผลลัพธ์ที่หลากหลายของการกระจานอำนาจนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 2540 -ปัจจุบันก็เร่ิมีงานศึกษเพื่อประเมินสถานการณ์พัฒนาการของการปกครองท้องถิ่นไทยและผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจึ่งมีคำตอบแตกต่างกันทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ โดยการกระจายอาจในช่วงเร่ิมต้นยังมีอุปสรรคและปัญหาในการปฏิบัติงานอของค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่ได้รับมอบหมายทั้งในด้านประสิทธิภาพและการมีประสิทธิผลตรวตามเวลา จากากรประเมินโดยธนาคารโลกในเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ภายหลังที่มีการประกาศใช้พระราชยัญญัติกำหนดแผนและขึ้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พงศ. 2542 พบว่า
               - การบริหารจัการข้อมูลด้านการกระจายอำนาจ พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่ได้รับทราบข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการการกระจายอำนาจที่เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตน
                - การประหยัดเชิงขนาดในการปกครองส่วนท้อบงถิ่น พบว่างค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีขนาดเล็กแทบไม่มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามหน้าทที่ที่ได้รับมอบหมายได้อถูกต้องประหยัด และมีประสิทธิภาพ
               - ข้อจำกัดของกฎข้อบังคัย พบว่าหน่วยงานส่วนใหญ่ถูกจำกัดด้วยกฎระเบียบต่างๆ ดดยเฉพาะการจัดหารายได้การใช้เงินอุดหนุน และการจัดทำงลประมาณ
               - นโยบายด้ารบุคลากร พบว่าบุคลากรของภาีรัฐไม่มีแรงสนับสนุนที่ดีพอในการจูงใจให้เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางโอนย้ายไปทำงานในหน่วยราชการส่วนท้องถ่ิน
               - กลยุทธ์การอบรมด้านการกระจายอำนาจ พบว่าในสถานศึกษามีการเปิดสอนหลักสูตรอบรมเกี่ยวกับการกรจายอำนาจแต่ไม่มแนวทางการอบรมหรือแผนแม่บทการอบรมเกี่ยวกับการเพ่ิมประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
               - สิ่งจำเป็นเร่งด่วนสำหรับการฝึกอบรม พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องได้รับการอบรมด้านการคลังท้องถ่ินอย่างเร่งด่วน เช่น การวางแผนทางการเงิน การจัดทำงบประมาณ การบัญชี การจัดทำรายงานทางการเงิน และรายงานการบริหารสินทรัพย์
              - การเพ่ิมศักยภาพให้กับหน่วยงาน พบว่าสำนักงานคณะกรรมการการกระจยอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับวบประมาณน้อยมาก ในขณะที่สันนิบาตเทศาลแห่งประทเศไทยยังไม่มีความชัดเจนในการเป็นอิสระจากกรมการปกครอง
              - ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการสำหรับงานจัดการเพ่ิมขีดความสามารถที่สำคัญ บพบว่าหน่วยงานที่มีความพร้อมนั้นังขาดแคลนเครื่องไม่เครื่องมือที่จำเป็นต่อการฝึกอบรม
              - การกระจายอำนาจในส่วนของกรุงเทพมหานคร พบว่างานส่วนใหญ่ยังอิงกับระบบราชการเช่น หน้าที่ความรับผิดชอบการดำเนิงสน นโยบายด้านบุคคล การจัดสรรทรัพยากร ฯลฯ
              ส่วนมิติด้านประชาธิปไตยจากการประเมินจากหลายพื้นที่พบว่าวัฒนธรรมการทำงานอขงรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังทำงานแบบระบบราชการและเน้นด้านกฎระเบียบมากกว่าผลงาน ยังเน้นให้ประชานต้องเชื่อฟังหรอปฏิบัติตาม มากว่าการทำงานแบบรับผิดชอบร่วมกันที่อยู่บนฐานของความเสมอภาค ซึ่งเป็นปัจจัยหลักอย่างอนึ่งที่ขัดขวางขบวนการประชาสังคมและประชาธิปไตยชุมชน
               ในทางกลับกันงานศึกษาบางข้ินได้ให้ภาพการเปี่ยนแปลงในเชิงบวกของการกระจายอำนาจ ดที่ได้ประเมินผลการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2556 ที่ให้ความสำคัญในด้านประสิทธิภาพการบริหารงานของท้องถิ่นหลังการกระจายอำนาจพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดบริหารที่หลากหลายซึ่งไม่เคยมีหน่วยงานราชการ นอกจากนี้ท้องถิ่นให้ความสำคัญกับระบบการศึกษาโดยทุ่มเททรัพยากรไปกับการพัฒนาบุคลากร จัดการศึกษาภาษาต่างประเทศ หรอืการศึกษาหลักสูตรท้องถิ่นที่ผ่านการมีส่วร่วมของประชาชน ทำให้เมื่อมีการเปรียบเทียบผลสัมฟทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนระับท้องถ่ิน พบหลายวิชาสูงกว่าปลการทดสอบทองการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ในจังหัด นอกจากนี้เมื่อสำรวจถึงความพึงพอใจของประชานต่องอค์กาปกครองส่นท้องถิ่นพบว่าประชาชนให้ความพึงอพใจต่อการบริหารสาธารณะในด้านการศึกษาพอใจร้อยละ 63 ด้านสาธารณสุขร้อยละ 68.4 ด้านสิ่งแวดล้อมร้อยละ 61.6 และด้านโครงสร้างพื้นฐานประชาชนพอใจร้อยละ 62.9-69.4 และประชาชนร้อยละ 75 เห็นว่าไม่ควรมีกายุบเลิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพราะมีประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
              นอกจากนี้ในแง่มุมของประชาธอปไตยในระดับท้องถิ่นกลับมองว่าการกระจายอำนาจและการลงหลักปักฐานของสถาบันทางการเมืองทั้งในระดับชาิตและท้องถ่ินตั้งแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 5240 ทำใหเกิดการสร้างแรงจูงใจให้นักการเมืองตอบสนองความต้องการของผุ้ออกเสียงเลือกตั้งมากขึ้น นอกจากนี้ความเปลี่นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจตังแต่ทศวรรษที่ 2530 ทำให้ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ในแนวดิ่งกลับลดบทบาทลงและกลับเร่ิมมีปฏิสัมพันะ์ระหว่งกันของคนที่เท่าเที่ยมใรู)แบบแนวนอนมากขึ้น นอกจากนี้การกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินผ่านการเลือกตั้งทางตรงใรระดับ อบต.และเทศบาล ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนได้สร้างความใกล้ิดทั้งในเชิงกายภาพ ปฏิสัมพันะ์ทางสังคม และความรับผิดชอในอำนาจหน้าที่ที่อปท. ได้รับมอหมายและส่งผลต่อผุ้มีสิทธิเลือกตั้งในพื้นที่ ได้ส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้การพิจารณาลงคะแนนเสียงให้กับผุ้บริหารอปท. ก็อาศัยปัจจัยเชิงศักยภาพ ความสามารถ และครือข่ายของผุ้สมัครมากขึ้นในการดึงทรัพยากรมาสู่พื้นที่ "...เนื่องจากงบประมาณเกือบ 40% ของ อปท.มาจากการอุดหนุนของรัฐส่วนกลางโดยตรง ในขณะที่เกณฑ์การจัดสรรวบอุดหนุนหลายประเภทให้แก่ อปท. แต่ละแห่งนั้น เปิดโอกาสให้ผุ้มีอำนาจในส่วนกลางใช้ดุลพินิจได้กว้างขวาทำให้อปท.ต้อง "วิ่งงบ"กับส่วนกลางเพื่อให้ได้รับการจัดสรรมากที่สุดจึงหล่าววได้ว่าชาวบ้านใช้เครื่องมือการเลือกตั้งระับ้องถิ่นในการต่อราองเพื่อดึงทรัพยากรจากรัฐส่วนกลาง"
               เช่นเดี่ยวกับงานของนักมานุษยวิทยาอย่างแคเธอรีน เบาว์วี (2555) "..ผุ้มีส่วนร่วใรการเมืองการเลือกตั้งอย่างเท่าทัน ชาวบ้านตำบลทุ่งนาตระหนักถึงโอกาสใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นภายมต้การปฏิรูปกฎมหายในปี 2535 และ 2537 พวกเขาผนกรวมทั้งกฎหมายใหม่ที่เป็นประชาธิปไตย กฎหมายเก่าสมัยศักดินาขนบะรรมเนียมแบบเดิม พิธีกรรมที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นใหม่นัการเมืองภายนอก เจ้าหน้าที่อำเภอ และครือข่ายองค์การพัฒนเอกชนให้เป็นประโยชน์แก่การรณรงค์หาเสียงของพวกเขาในกระบวนการนี้ ทัศนะประชาธิปไตยที่าดหวังว่าผุ้สมัครควรได้รับการคุ้มครองสิทธิในการหาเสียงปะทะกบกฎหมายเก่าในยุคศักดินาที่สร้างความหมายเชิงวัฒนธรรมให้ตำแหน่งผุ้ใหญ่บ้านว่า เป็น "เจ้าของ" หมู่บ้าน"
              จะเห็นได้ว่า งานศึกษาต่างๆ ที่ประเมินผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจทั้งในด้านประสทิธิภาพและการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นกลับให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างแลหลากหลายก็จริงแต่แนวโน้มในปัจจุบนกลับพบว่าผลลัพธ์การกระจายอำนาจมีทิศทางที่ดีขึ้นตามลำดับ แม้ปัญหาและความท้าทาสำคัญที่มีมาตั้งแต่เร่ิมีการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2540 จะมีอยู่ก็ตาม
              การวางโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจนั้น รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 มาตรา..กำหนดให้มีกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ จึงมีการตราพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 โดยหมวด  กำหนดให้ตั้งคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีลักาณะไตรภาคี คือ ผู้แทนส่วนราชการที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและผุ้ทรงคุณวุฒิ เพื่อจัดทำแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและแผนปฏิบัติการกำหนดขึ้นจตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
           พ.ร.บ. ฉบับรี้ได้กำหนดโครงสร้งและกระบวนการการกระจายอำนาจกลำกเพื่อสนับสนุนกระบวนการการกระจายอำนาจให้เป็นกระบวนการที่เป็ฯทางการและมีสภาพบังคับในทางกฎหมายเป็นครั้งแรก อย่างไรก็ตามการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่โดยศุภสวัสดิ์ ชัชวาล (2555) เห็นว่าเมื่อพิจารณาจากองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ซึงเป็นพื้นที่การต่อรองและผลักดันทิศทางการกระจายอำนาจของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการกระจายอำนาจก็สะท้อนคุณลักษณะของคณกรรมการคือ
        - บทบาทที่มีไม่มากของนักวิชากร นักวิชากรจะมีบทบาทในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ในฐานะคณะกรรมการุ้ทรงคุณวุฒิ แต่มักเป็นเสียงส่วนน้อยในคณะกรรมการกระจายอำนาจฯ และไม่ใช่ผุ้มีอำนาจที่จะขับเคลื่อนกระบวนการการกระจายอำนาจในทางปฏิบัติ โดยนักวิชาการมักมีบทบาทในการเสอนแนวคิดและการทำงานทางวิชาการเป็นหลัก
       - การขาดบทบาทของฝ่ยภาคประชาชน เนื่องจา พ.ร.บ. การกระจายอำนาจฯ ไมด่ได้กำหนดให้มีสัดส่วนสำหรับตัวแทนของภาคประชาชนในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ทำให้กระบวนการการกระจายอำนาจยังขาดการมีส่วนร่วมชของภาคประชาชนที่เป็นผุ้ได้รับผลจากการกระจายอำนาจดดยตรง
        - บทบาทที่กระตือรือร้นฝ่ายผุ้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เป็นตัวแทนในการผลักดันนโยบายหรือเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีจำนวนมากถึง 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด แต่มักถุกวิพากษืเสมอว่าข้อเรียกร้องของพวกเขามักเกี่ยวข้องกับประโยชน์าางการเมืองของนักการเมืองท้องถิ่นเอง
         - การต้านการกระจายอำนาจของฝ่ายข้าาชการแระจำที่เป็นตัวแทนของข้ราชการหรืออดีตข้าราชการส่วนกลางแลส่วนภูมิภาค เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนใคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ที่มาโดยตำแหน่งและมาจากส่วยของผุ้ทรงคุณวุฒิสูงถึง 15 คน จากทั้งหมด 36 คนทำให้คณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ถูกครอบงำจาฝ่ายราชการที่มักจะปกป้องผลประโยช์ของระบบราชการมากว่าผลประดยชน์ของท้องถิ่น
          - ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติเป็นพันธมิตรกับฝ่ายข้าราชการประจำ แม้นักการเมืองระดับชาติมีสัดส่วนน้อยในคณะกรรมการการกระจายอำนาจ แต่เนื่องจากการกระจายอำนาจจะลอทอนอำนาจและความสำคัญของนักการเมืองระดับชาติที่เคยมีบทบาทต่อการดึงทรัพยากรที่รวมศุนย์อยู่ส่วนกลางมาจัดสรรในเขตฐานเสียงของตนเพราะการกระจายอำนาจมักไปเพ่ิมอำนาจหน้าที่กับวบลประมาณแก่นักการเมืองท้องถิ่น  ทำให้มีแนวดน้มที่ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติกับฝ่ายข้าราชการจึงเป็ฯพันธมิตที่จะพยายามทำให้การกระจายอำนาจมีลักาณะอย่างค่อยเป็นค่อยไป


                           - "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซีย : ราชอาณาจักรไทย", รศ.วุฒิสาร ตันไชย  เอกวิร์ มีสุข, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถ่ิน สถาบันพระปกเกล้า, 2557.          
           

วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2560

Local government in Indonesia

           อินโดนีเซียเป้นสาธารณรัฐแบบรัฐเดี่ยว แตมีการจัดการปกครองแบบกระจายอำนาจอย่างกว้างขวาง อินโดนีเซียมีการแบ่งเขตการปกครองภายในของตนเองออกเป็นหลายระดับก้มีชื่อเรียกที่ต่างกันออกไป 
           รูปแบบการปกครองท้องถิ่น
           มณฑล คือชื่อเรียกเขตการปกครองภายนอินโดนีเซียในระดับรองลงมาจากระดับประเทศ โดยทั่วไปแล้วในงานศึกษาหรือรายงานข่ราวในภาษาไทยมักจะรเียกเขตการปกครองประเภทนี้ของอินโดนีเซียว่า จังหวัด โดยเทียบเคียงมาจากคำว่า province ซึ่งขอเรียกว่า provinci ของอินโดนีเซียว่า มณฑล ทั้งนีเป็นไปตามเหตุผลที่ทวีศักดิ์ เผือกสม ได้กลาวไว้ คือ โพวินซี่ แต่ละแห่งของอินโดนีเซียนั้นมักมีขนาดพื้นทีกว้างขวางและมีจำนวนประชากรมากกว่าจังหวัดของประเทศไทยอย่างมาก ดังนันคำว่ามณฑลน่าจะสื่อความหมาย ได้ดีกว่าคำว่าจังหวัด
             ปัจจุบัน อินโดนีเซียมีการแบ่งการปกครองออกเป็น 33 มณฑลโดยในจำนวนนี้มีอยู่ 5 มณฑลที่มีสถานะพิเศษกว่ามณฑลอื่น ในแต่ละมณฑลของอินโดนีเซยจะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติโดยผุ้นำของฝ่ายบริหาร คือ ผู้ว่าการมณฑล และฝ่ายนิติบัญญัติ คือ สภาผุ้แทนราษฎรส่วนภูมิภาค หรืออาจเรียกสั้นๆ ว่า สภามณฑล ปัจจุบัน กฎหมายของอินโดนีเซีย กำหนดให้ตำแหน่งผุว่าการมณฑลมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งต่างจากในอดคตที่ผุ้ว่าการมณฑลมาจากการเลอกของสภามณฑล ส่วนสมาชิกสภามณฑลนั้นในปัจจุบันก็มาจากการเลือกตังของประชาชนเช่นกัน
           ปัจจุบันการกระจายอำนาจในระดับมณฑ,ยังมีไม่มากนัก อำนาจที่มฯฑลได้รับมาจากสวนนกลางยังคงมีน้อยกว่าอำนาจที่เขตปกครองในระดับรองลงไปได้รับมา ในระยะแรกของการกระจายอำนาจในช่วงปี ค.ศ. 1999 เองก็มีการตั้งคำถ่มว่าการจัดให้มีการกระจายอำนาจทั้งในระดับมณฑ,และในระดับนรองลงมาจะทำให้เกิดความซ้ำซ้อนเกินความจำเป็นหรืไม่ อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการประกาศใช้กฎหมาย มณฑลได้ถูกเปลี่ยนแปลงให้มีฐานะเปรีียบเสมอืนเป้นเครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลส่วนกลางใช้เพื่อกำหนดทิศทางการปกครองในระดับท้องถ่ินตั้งแต่ระดับจังหวัดและนครลงไป กล่าวคื อถึงแม้ผุ้ว่าการมณฑลจะมาจากการเลือกตังของประชาชน แต่กฎหมายก็ระบุว่าผุ้ว่าการมณฑลจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชน แต่กฎหมายก็ระบุว่าผุ้ว่าการมณฑลมีสภานะเป้ฯตัวแทนอย่งเป็นทากงรของรัฐบาลส่วนกลาง รับผิดชอบโดยตรงต่อปรธานาธิบดี นอกจากนี้ กฎหมายฉบับดังกล่วยังระบุไว้ด้วยว่า ผุ้ว่าการมณฑ,มีหน้าที "กำหนดทิศทางและดูแลการจัดการปกรองในจังหวัดและนคร" และประสานงานการนำนโบายของรัฐบาลมาปฏิบัติในมณฑล จังหวั และนคร ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดความคลุมมเครือว่ามณฑลมีสถานะเช่นใดกันแน่ในระบบบริหารราชการแผ่นดินของประทเศ ระหว่างเป็นองค์กรปกคอรงส่วน้องถ่ินที่ตอบสอนงความต้องการของประชาชนและถูกควบคุมได้โดยประชาชนในท้องถที่ตามหลัการกระจายอำนาจ หรือว่าเ้ฯเพียงแขนขาของรัฐบาลส่วนกลางที่ทำหน้าที่นำนโยบายจากส่วนกลางมาปฏิบัติเขตท้องถที่ของตน อันเป็นปกครองตาหลักแบ่งอำนาจตำแหน่งผุ้ว่าการมณฑลเองก็ยากที่จะสรุปได้่าเป็นผุ้นำท้องถ่ินหรือว่าเป็นตัวแทนของรัฐบาลส่วนกลาง
             สำหรับมณฑลท้ง 5 แห่งที่มีสภานะพิเศษต่างจากมณฑ,อื่นๆ มีดังนี้
             - อาเจะห์ ตั้งอยู่ตอนเหนือสุดของเกาะสุมาตรทางตะวันตกเฉียงเนหืของอินโดนีเซีย เป็นเขตการปกครองพิเศษ มีอิสระในการปกครองตนเองในลักาณะที่ต่างจากมณฑลอื่น ซึ่งสถานะพิเศษนี้ถูกรับรองไว้ในกฎหมาย กล่าวคือ มณฑลแห่งนี้ใช้ระบบกฎมหายของตนเอง นั่นคือระบบกฎหมายแบบชะรีอเฮ์ อันเป็ฯระบบกฎหมายที่อิงกับหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเหตุผลทีรัฐบาลอินโดนีเซียยอมให้อาเจะห์เป็นเขตปกครองที่พิเศษกว่าที่อื่นได้ เชนีั มีที่มาจากปัญหาความไม่สงบภายในดินแดนทาเจะหที่เคยเป็นปัญหายืดเยื้อระหว่งรัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการอาเจะห์เสรี อันเป็นชบวนการติดอาวุธที่มีป้าเหมายตองการแยกดินแดจอาเเจะห์ออกเป็นอิสระ เมื่อรัฐบาลอินโดนีเซยเล็งเห็นถึงความต้องการของชาวอาเจะห์ที่จะรักษาอัตลักษณ์ทางเชื่อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมของตน ประกอบกับต้องการจะแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยหลักสันติวิธี จึงยินยอมให้อาเจะห์มีสถานะพิเศษ มีสิทธิบริหารจัดการกิจการทางศาสนา ประเพณี และการศึกษาของตน อย่งไรก็ตาม ยังมีการถกเถียงกันอยู่ว่า แม้จริงแล้วชาวอาเจะห์โดยทั่วไปนั้นต้องการกฎหมายชละรีอะฮ์จริงหรือไม่ หรือ ว่าคนที่ต้องการมีเพียงกลุ่มผุ้เคร่งศานาซึ่งมีจำนวนไม่มากนัก นอกจากนี้ อำนาจพิเศษอีกประการหนึ่งของมณฑ,อาเจะห์ก็คือชาวอาเจะห์ได้รับอนุญาตให้ตั้งพรรคการเมืองในระดับท้องถ่ินขึ้นเองได้ต่างจากในพื้นที่อ่นซึ่งพรรคการเมืองในท้องถิ่นจะต้องเป็นสาขาของพรรคการเมืองระดับประเทศเท่านั้น ในปี 2006 เป็นครังแรกที่ชาวมณฑลอาเจะห์ได้เลือกตัง้งผุวาการมพณลของตนโดยตรง การเลือกตั้งรั้งนี้เป็นตรั้งแรกในอินโดนีเซียที่อนุญาตให้ผุ้สมัครรับเลือกต้งในระดับท้องถ่ินสามารถลงสมัครได้โดยไม่ต้องสังกัดพรรคการเมือง ซึ่งเป็นข้อยกเว้นพิเศษของมณฑลอาเจะห์อันเป็นผลจากากรที่รัฐบาลอินโดนีเซียได้ลงนามร่วมกับกลุ่ม GAM ในข้อตกลงเฮลซิงกิ ผลของการเลือกตั้งปรากฎว่า นายเออร์วานดี ยูซุฟ อดีตนักเคล่อนไหวในกลุ่ม GAM ได้รับชัยชนะ
              เขตปกครองพิเศษยอกยาการ์ตา เป็นดินแดนที่มีสุลต่านเป็นประมุขปกครองมายาวนานตังแต่ก่อนจะตกเป็นอาณานิคมของตะวันตก และยังคงอยุ่ภ-ายใต้การปคกรองของสุลต่านแม้กระทั่งในปัจจุบัน โดยตำแหน่งสุลต่านของยอกยากร์ตานั้นถือว่าเทียบเท่ากับผุ้ว่าการมณฑลในมฑณฑลอื่นๆ หากแต่ตำแหน่งสุลต่านสืบทอดทางสายเลือด ไม่ได้เป็นตำแหน่งที่ได้มาจากการเลือกตั้งเหมือนกันตำแหน่งผุ้ว่าการมณฑลอื่น ๆ จึงทำให้เป็นประเด็โต้เถียงกันอยู่ว่าเหตุใดยอกยากร์ตาจึงสมควรได้รับสถานะพิเศษดังกล่าว และลักาณะการปกครองเช่นนี้ของยอกยาการ์ตานั้นเหม่ะสมหรือไม่กับอนินโดนีเซียยุคโม่ที่เป้ฯสังคมประชาธิปไตย
              ปาปัว เป็นมณฑลที่อยู่ทางตะวันออกสุอของประเทศ มณฑลแห่่งนั้เป็นอีกมณฑลหนึ่งที่มีประวัติการเคลื่อนไหวเพื่อแยกตัวออกจากอินโดนีเซีย ดังนันรัฐบาอินโดนีเซียจึงได้ให้สถานะพิเศษแก่ปาปัว คือได้รับอำนาจในการปกครองตอนเงอที่สูงหว่า มณฑลปกติทั่วไปเพื่อจูใจให้ขาวปาปัวยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอินโดนีิเวียต่อไป ในด้านการคลังณฑลปาปัวได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลส่งวนกลางในอัตราส่วนสุงกว่ามณฑ,ปกติ และไนด้านการปกครองรัฐบาลส่วนกลางก็ได้อนุมัติใ้มีการจัดตั้งสภาท้องถ่ินรูปแบบพเศษขึ้นมาทำงานควบคู่กับสภาท้องถิ่นปกติโดยสภารูปแบบพิเศษของมณฑลปาปัวนี้ มิชื่อเรียกว่า Majelis Rakyat Papua หรือ MRP ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากชนเผ่าพื้นเมืองต่างๆ ในเขตพื้นที่ปาปัวทำหน้าทพิทักษ์ปกป้องผลประโยชน์ อัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชาวพื้นเมือง นอกจากนี้กฎหมายยังระบุว่า ผุ้ว่าการมณฑลและรองผุ้ว่าการมณฑลของปาปัวจะต้องมีเชื่อสายปาปัว และการเข้าสู่ตำแหน่งจะต้องได้รับความยินยอมจากสภา อีกด้วย ซึ่งการกำหนดคุณสมบัติไว้เช่นนี้ทำให้มีการวิจารณ์กันว่า เพราะเหตุใดคนต่างถ่ินซึ่งมีจำนวนมากถึงร้อยละ 40 ของประชกรในมณฑลจึงไมได้รับสิทธิ์ในการลงสมัครเป็นผู้ว่าการมณฑลของปาปัวจะต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งต่างจากมณฑลอื่นๆ ที่กำหนดวุฒิการศึกษาเพีียงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
              ปาปัวตะวันตก เป็นมณฑลที่มีประชกรน้อยที่สุดของประเทศ ตั้งอยุ่บนเกาะนิวกินี เช่นเดียวกับมณฑลปาปัวและมีสถาะพิเศษเช่นเดี่ยวกับมณฑลปาปัว โดยรับาลส่วนหลางของอินโดนีเซ๊ยได้ส่งเงินอุดหนุนให้แก่ทั้งมณฑ,ปาปัวและมณฑลปาปัวตะวันตกมาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า 3,120 ล้านเหรียญสหรัญ ในรอบ 12 ปีที่ผ่านมา
              หรุงจากการ์ตา นครหลวงขงประเทศ มีสถานะเป็นเขตปกครองพิเศษทีเที่ยบเท่ามณฑล มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงพิเศษจาการ์ตา โดยกฎหมายฉบับแรกที่ระบุถึงลักษณะการปกครองของกรุงจาการ์ตาในยุคปฏิรูปแระเศคือกฎหมายฉบับที่ 34 /1999 และมีการแก้หขอีครั้งในกฎหมายฉบับ 29/2007 กรุงจาการ์ตามีผุ้นำือผุ้ว่าการซึ่งมาจาการเลือตกั้งดยปรชาชน ภายในเขตนครหลวงนี้ยังมีการแบ่งเป็นนคร ย่อย ๆ อีก 5 แห่ง แต่ละแห่งมีผุ้นำคือนายกเทศมนตรีของตนเอง โดยตำแหน่งนายกเทศมนตรีของนครที้ง 5 แห่ง ในจาการ์ตา นั้นไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง หากแต่มาจาการแต่งตั้งโดยผุ้ว่าการกรุงจาการ์ตา ในแต่ละนครก็มีสภาของตนเอง แต่ไม่มีบทบาทอะไรมากนัก เป็นเพียงสภที่ให้คำปรึกษาแก่ฝ่ายบริหารเท่านั้น ซึ่งการที่ตำแหน่งนายกเทศมนตรีในกรุงจาการ์ตามาจาการแต่งตั้งเช่นนี้ก็อาจเกิดคำถามว่าสมควรหรือไม่ที่เมืองหลวงของปรเทศจะนไเอาระบบการเมืองการปกครองที่ไม่เป้นปรชาธิปไตยเท่าไรนักมาใช้เช่นนี้ ดดยในประเด็นนี้ก็มีการอธิบายไว้ว่าเมืองหลวงอย่างจาการ์ตาสมควรจะมีแนวนโยบายการบริหารที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้เงใรระดับผุ้นำและระดับรองลงมา การที่ให้ผุ้ว่าการกรุงจาการ์ตาเป็นผู้แต่งตั้งนายกเทศมนตรีแทนที่จะให้ประชาชนเป้นคนเลือกก็เป็นไปเพื่อรักษาความเป็นหนึ่งเดี่ยวกันทางนดยบายแลการบริหาร แต่หากอนุญาตให้สมีการเลือกตังตำปหน่งนายกเทศมนตรีภายในกรุงจาการ์ตา ก็มีโอกาสที่จะได้บุคคลที่มีควาเห็นขัดแย้งหรืออยู่ฝ่ายตรงข้ามกับผุ้ว่าการนครหลวง ทำให้การบริหารกิจการต่างๆ ไม่เป็นไปในทิศทางเดี่ยวกัน
             จังหวัด การปกครองท้องถ่ินในลำดับรองลงมาของอินโดนีเซีย คือ การปกครองระดับจังหวัด โดยในปัจจุบันอินโดนีเซียแบ่งออกเป็น 405 จังหวัดทั่วประเทศ แต่ละจัวหวัดมีผุ้นำคือ ผุ้ว่าราชการจัวหวัด ซึ่งมาจาการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ความสัมพันธ์ระหว่างมณฑลกับจังหวัดและนครนั้นมีข้อถกเถียงกันอยุ่ว่าีความเป็นลำดับชั้นระหว่างกันหรือไม่ กล่าวคือ ในทางทฤษฎีแล้วผุ้ว่าราชการจัวหวัดและนายกเทศมนตรีนั้นอบยู่ภายใต้การบังคัยบัญชาของผุ้ว่าการมณฑล แต่เนื่องจากการกระจายอำนาจของอินโดนเีเซียกำหนดให้ผุ้นำของจังหวัดและนครมาจาการเลือกตั้งของประชาชน ทำให้มีการตั้งข้อสังเกตว่า ผุ้ว่ราชการจัวหวัดและนายกเทศมนตรีไม่ได้อยู่ภายใต้อำนาจของผุ้ว่าการมณฑ?ลอย่งแท้จริงแต่อยู่ใต้อิทธิพลของประชาชนผุ้เลือกตั้งแลบรรดาผุ้ให้เงินสนับสนุนในการลงเลือกตั้งมากว่า
              นคร Kota  
               นคร มีลำดับชั้นเที่ยบเท่ากับจังหวัด หล่าวคือเป็นหน่วยการปกครองในระดับต่ำลงมาจามณฑลเหมือนกัน แต่มีความต่างคือ นครจะมีเนื้อที่เล้กกว่าจังหวัด และนครมักเป็นเขตอุตสาหกรรมและเศษฐกิจภาคบริการ ในขณะที่จังหวัดมักเป็นเขตที่มีการทำการเกษตรมากกว่า ผุ้นำของนคร คือ นายกเทศมนตร่ ซึ่งมาจาการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี
               อำเภอ เป็หน่วยการปกครองในระดับรองลงมาจากจังหวัดและนครทำงาอยู่ภายใต้ผุ้ว่าราชการจังวหวัดหรือนายกเทศมนตรี ผุ้นำของอำเภอ คือ นายอำเภอ มาจากการแต่งตั้งโดยผุ้ว่าราชการจัหวัดหรือนายกเทศมนตรีไม่ได้มาจากการเลือตั้งโดยประชาชนดังนั้นสถานะของอำเภอจึงเปรียบได้กับเป็นหน่ยงานย่อยๆ ของ จังหวัดและนครต่างๆ เท่านั้น
                ตำบล Kelurahan อินโดนีเซียมีหน่วยการปกครองในระดับล่าวสุดอยู่ 2 ปรเภ คือ ตำบลและหมู่บ้าน โดยตำบลบเป็นหน่วยการปกครองที่ตังอยุ่ในพื้นที่ชุมชนเมือง ผุ้นำของตำบล คือ กำนัน มาจาการแต่งตั้งของผุ้ว่าตาชการจังหวัดหรือนายกเทศมนตรี
               หมู่บ้าน หมู่บ้านคือหน่ยการปครองระดับล่างสุด โดยมีฐานะเท่าเที่ยมกับตำบล แต่หมุ่บ้านตั้งอยู่ในพื้นที่ชนบทเท่านั้น โดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมุ่บ้านตั้งอยุ่ในพื้ที่ชนบทเท่านั้น ดดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมู่บ้านตั้งอยุ่ในพื้นที่ชนบทเท่านั้น โดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมู่บ้านเป็นหน่วยการปกครองที่รัฐบาลเล็งเห็นความสำคัญอย่างมาก โดยรัฐบาลตระหนักว่าหมุ่บ้านเป็นหน่วยการปกครองที่อยุ่ใกล้ชิดกับชัวิตประชชนและมอิทธิพลต่อประชาชนไได้มากในหลายด้าน รัฐบาลในสมัยนั้นจึงต้องการเข้ามาจัดระเบยบการปกครองในระดับหมู่บ้าน โดยใช้วิธีการต่างๆ จูงใจและบังคับวห้ผุ้นำหมุ่บ้าสสวามิภักดิ์กับส่วนกลางและรับเอานโยบายที่ส่วนกลางกำหนดไปปฏิบัติในขณะเดี่ยวกัน อุดมการณ์หรือการกระทำใดๆ ที่ต่อต้านหรือผิดแผกไปจากแนวคิดของรัฐบาลก็จะถูกปิดกั้น หมู่บ้านในยุสมัยของซูฮาร์โตจึงเป็นหมู่บ้านที่ปราศจากความหลากหลาย ปราศจากชีวิตชีวา เป้นเพียงหน่ยงนที่ทำตามคำสั่งของรัฐบาลอย่างเคร่งครัด ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งที่สะท้อนถึงลักษณะการปกคีองประเทศในยุคระเบียบใหม่ที่ความเป็นไปทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรมล้วนถูกกำหนดมาจากส่วนกลาง
               อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับยที่ 22/1999 ได้นำความเปลี่ยนแปลงมาสู่หมู่บ้านเป็นอย่างมาก กล่าวคือมีการระบุไว้อย่างเป็นทางกาสรว่าการจัดการปกครองในหมุ่บ้านจะยึดหลักความหลากหลาย, การมีส่วนร่วม,การปกครองตนเอง, การส่งเสริมประชาธิปไตย และการให้อำนาจแก่ประชาชน ตัวอย่างของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เช่น ผุ้นำหมู่บย้านมาจาการเลือตั้งของประชาน ดยมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี ส่วนสมาชิกสภาปมู่บ้านมีที่มาจาการคัดสรรโดยปรชาชนในหมุ่บ้านซึงไม่ได้ใช้กระบวนการเลือกตั้งแบบทั่วไป แต่ใช้กระบวนการพูดคุยโดต้เถียงภายในชุมชน สมาชิกสภาปมูบ้านมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี เช่นเดี่ยวกัน
            การเงินและการคลังท้องถิ่น ก่อนที่จะมีการกระจายอำนาจในยุคปฏิรูป ท้องถิ่นต่างๆ ของอินโดนีเซียแทบไม่มีอำนาจในการบริหารจัดการการเงินการคลังของตนเงินภาษีที่เก็บได้ในแต่ละท้องถ่ินถูกส่งเข้าส่วนกลาง และส่วนกลางเป็นผุ้พิจารณาจัดสรรเงินเพื่อหลับมาอุดหนุนการดำเนินงานของท้องถิ่นโดยงบอุดหนุนแก่ท้องถ่ินดังกลาวมีอยุ่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ 
            1 เงินถ่ายโอนเพื่อการพัฒนาทั่วไป คือเงินที่ส่วนกลางทกำหนดให้ท้องถิ่นใช้จ่ายเพื่อขัเคลื่อน
โครงการพัฒนาต่างๆ ซึ่งมีมากมายหลายประเภทตั้งแต่โครงการด้านส่ิงแวดล้อม ไปจนถึงการก่อสร้างตลาดซื้อขายสินค้า
            2 เงินอุดหนุนเพื่อการปกครองตนเองของท้องถิ่น เงินส่วนนี้มักใช้สำหรับจ่ายเงินเดือนแก่พนักงานราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิรูปประเทศ ก็มีการเปลี่นแปลงเกี่ยวกับการเงินการคลังของท้องถิ่นเกิดขึ้น โดยกฎหมายฉบับนี้ระบุว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะมีแหล่งรายได้ทั้งสิ้น 2 ข่องทาง คือ 
             เงินรายได้จากภายในท้องถิ่น เช่น ภาษีท้องถ่ิน ภาษียานพาหนะใน้องถ่ินผลกำไรจากกิจการของท้องถิ่น เงินส่วนนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นผุ้เก็บและนำมาใช้จ่ายได้เอง ไม่ต้องส่งเข้าส่วนกลาง
            เงินถ่ายโดนจากส่วนกลาง คือ เงินที่ส่วนกลางถ่ายโอนไปให้้ท้องถ่ินทั้งในระดับมณฑลและระับจังหวัดแลนคร โดยกฎหมายฉบับบนี้กำหนดว่าเงินรายได้ของรัฐอย่างน้อยร้อยละ 25 จะต้องถูกจัดสรรให้แก่ท้องถ่ิน เงินที่ส่วนกลางถ่ายโอนให้ท้องถ่ินแล่งได้อีเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เงินก้อนอุดหนุน แบ่งไดเ้ปฯอีก 2 ปผระเภท คือเงิน ถ่ายโดอนเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไปมักใช้เพื่อจ่ายเงินเดือนแก่พนักงานขอรัฐในระดับท้องถ่ินและอีกประเภทหนึ่งคือเงินถ่ายโอนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ เงินก้อนนี้รัฐบาบสวนกลางจะเป็นผุ้กำหนดว่าให้ท้องถ่ินนำไปใช้เพื่อดำเนินการในเรื่องใด ซึ่งสิ่งที่ส่วนกลางกำหนดก็มกจะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในช่วงเวลานั้นๆ, เงนิปันสวนจากรายได้ของรัฐบาล คือเงินส่วนที่รัฐบาลส่วนกลางถ่ายโอนให้ท้องถ่ิน โดยไม่กำหนดว่าจะต้องนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดโดยเฉพาะ ซึ่งการที่ส่วนกลางมอบงบประมทาณให้ท้องถ่ินนำไปบริหารและกำหนดเป้าหมายในการใบ้ไดเองเช่นี้นับว่าสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจ นั้นคือทำใหองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเข้มแข็งขึ้น มีอำนาจกำหนดความเป็นไปในพื้นที่ของตนมากขึ้น ขณะเดี่ยวกันก็ลดการแทรกแซงกิจการในท้องถ่ินจากส่วนกลางลง
             นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ในกรณีของมณฑลที่มีสาถนะพิเศษ 3 แห่ง ได้แก่ อาเจะห์ ปาปัว และปาปัวตะวันตก รัฐบาลส่วนกลางก็จะจัดสรรเงินด้อนพิเศษให้แก่มณฑลเหล่านี้เพิ่มเติมอีกดัวย
             การบริหารงานบุคคลท้องถ่ิน ในยุคของซูฮาร์โต รัฐบาลส่วนกลางมีบทบาทครอบงำการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานรัฐทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นโดยมีองค์กรอยู่ 3 องค์กรด้วยกันที่ถูกกำหนดให้รับผิดชอบงานด้านนี้อย่างเป็นทางการ  ได้แก่ กระทรวงการปฏิรูปการบริหาร สำนักงานข้าราชการแห่งรัฐ สถาบันรัฐประศาสนศาตร์แห่งชาติ 
            อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากท้งสามองค์กรที่กล่าวมา ก็ยังมีหน่วยงานอื่นๆ ในส่วนกลางที่มีส่วนร่วมในการบริาหรทรัีพยากรบุคคล เช่น กระทรวงการคัีงและกระทรวงมหาดไทยต่างก็มีส่วนใการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับอัตรเวินเดือนและขอบเขตพื้นที่ภารกิจของเจ้าพนักงาน เป็นต้น จึงกล่าวได้่าถึงแม้การกำหนดนโยบายทางงานบุคคลจะมีขึ้นที่ส่วนกลางก็จริง แต่กลับมีหน่ยงานรับผิดชอบหลายหน่วยจนทำให้ประสิทธิภาพของการบริหารงานบุคคลมีใไม่มากเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป้นในด้านการวางแผน การทำงบลประมาณ และด้านอื่นๆ 
           เมื่อยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โตส้ินสุดลง กระแสการกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นตามมาก็ดูะมือจะส่งผลถึงเรื่องกาบริหารทรัพยากบุคคลในระดับท้องถ่ินด้วย แต่ในความเป็นเจริงแล้วความเปลี่ยนแปลที่เกิดขึ้นกลับมีไม่มากนัก บทบาทและอำนาจาส่วนกลางในการบริหารงานบุคคลของวท้องถ่ินยังคงมีอยู่สูง กล่าวคือ กฎหมายฉบับที่ 22/1999 ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยการกำหนดขอบข่ายอำนาจขององค์กรปกครองสวนท้องถ่ิน มีการเขียนไว้ในมาตรที่ 76 ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีอำนาจแต่างตั้งโยย้าย กำหนดอัตราเงินเดือน เงินบำนาญ สวัสดิการ รวมถึงการฝึดอบรมต่างๆ ของเจ้าพนักงาน แต่มาตรา 75 ของฏำมหายฉบับเดี่ยวกันกลับระบุไว้ว่า กระบวนการทั้งหมดที่กล่วมาจะต้องดำเนินไปตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งทำให้เกิดความสับสนขึ้ว่าสรุปแล้วท้องถ่ินมีอิสระจากส่วนกลางมากน้อยเพียงใดการบริหารส่วนกลางที่มีหน้าที่ดุแลงานบุคคล 


                                         -  "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน :  สาธารณรัฐอินโดนีเซีย", ภานุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.

Local government in Philippine

              ตามรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ปี ค.ศ. 1987 ซึ่งเป็นฉบับที่ดใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้กำหนดให้หน่วยการปกครองท้องถิ่น มีความเป็นอิสระในการปกครงตนเองโดยประธานาธิบดีมีหน้าทเพียงการกำกับดูแลการปกคีองท้องถิ่น ซึ่งออกในปี ค.ศ. 1991 ภายใต้หลักการสำคัญเกี่ยวกับการจัดให้มีการปกครองท้ถงอ่ินที่ตอบลสนองและมีความรับผิดชอบเพื่อมากขึ้น ผ่านระบบการกระจายอำนาจ พร้อมกับกลไกที่มีประสทิะิภาในการถอดถอนผุ้ดำรงตำปน่ง การริเริ่มเสอนกฎหมายหรือเรื่องต่างๆ และการหยั่งเสียงประชามติ การจัดสรรอำนาจความรับผิดชอบและทรัพยากรของหน่วยการปกครองท้องถิ่นระกับต่างๆ การกำหนด คุณสมบัติ วิธีการเลือกตั้ง การแต่งตั้งและการห้พ้นจากตำแหน่ง สาระการดำรงตำแหน่ง เงินเดือน อำนาจและภาระหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดองค์การและการดำเนินการของหน่วยการปกครองท้องถิ่น
             ในปัจจุบันหน่วยการปกครองท้ถงอิ่นของฟิลิปปินส์มี 4 ประเภท ได้แก่ จังหวัด จำนวน 80 แห่ง, เมือง 143 แห่ง, เทศบาล 1,491 แห่ง, และหมู่บ้านหรือบารังไก 42,028 แห่งนอกเหนือจากนี้ ได้มีการจัดตั้งแขตการเมืองพิเศษแยกออกมาต่างหาก ซึ่งประกอบด้วย
                - เขตนครหลวงแห่งชาติและหน่วยงาานพัฒนามะนิลา ซึงประด้วยเมือง 16 แห่ง และเทศบาล 1 แห่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเริมการประสานงานและความมีประสทิะิภาพในการให้บริการในเขตนครหลวง
                - เขตปกครองอิสระในชุมชนมุสลิมมินดาเนา ซึ่งประกอดบ้วยจังหวัด 5 จังหวัด รวมตัวกันเพื่อตอบสนองปัญหาเฉพาะด้านสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ดังกล่าว
                 - เขตบริหารพิศษในชุมชนคอร์ดิลเลร่า ประกอบด้วยจังหวัด 5 จังหวัด
             รูปแบบการปกครองท้องถิ่น การปกครองท้องุถิ่นของประเทศฟิลิปปิส์ในปัจจุบัน มีการจัดโครงสร้างเป็นระบบ 3 ชั้น ซึ่งประกอบด้วย จังหวัด เมืองและเทศบาล และหมู่บ้านหรือบารังไก อย่างไรก็ตามในกรณีที่เป็นเมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง ตามที่กฎหมายกำหนด หรือเมืองที่กฎหมายห้ามมิใหผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งลงคะแนนเลือกเจ้าหน้าที่ของจังหวัด หรือที่เรียกว่า เมืองที่เป็นอิสระ จะไม่ได้อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด แต่กฎหมายกำหนดให้ขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอุ่ินในระดับกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็หน่วยการปกครองท้องถ่ินในระดับบลน ซึ่งเป็นระบบการปกครองท้องถ่ินแบบ 2 ชั้น
             - จังหวัด เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินระดับบนสุด ปัจจุบัยมีจำนวนทั้งสิ้น 80 จังหวัด ขึ้นตรงต่อประธานาธิบดีหรือรัฐบาลกลาง มีอำนาจในการกำกับดูแลเทศบาลและเมืองในเขตพื้นที่ท่ี่รับผิดชอบ เพื่อให้แน่ใจว่าการดำเนินการของเมืองและเทศบาลในความรับผิดชอบอยู่ในชขอบเขตอำนาจและภาระหน้าที่ของแต่ละองค์กร ตามีได้กำหนดไว้หรือไม่ ทั้งนี้ เมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง และเมืองที่เป็นอิสระจะมีความเป็นอิสระจากจังหวัด กล่าวคือ ไม่ต้องขึ้นตรงกับจังหวัด แต่จะขคึ้จรงกับรัฐบาลกลาง
             จังหวัดแต่ละจังวหวักจะมัผุ้ว่าราชการจัวหวัดที่มาจากากรเลือกตั้งดดยตรงจากประชานทำน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่าบริหารและมีสภาจังหวัดที่มีชื่อเรียกเป็นภาษาฟิลิปปินส์ว่า แซงกูเนียง พันลาลาวิแกน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน  เช่น เดี่ยวกับ กระทำหน้าที่ท่างฝ่ายนิติยบัญญัติ และอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในจังหวัด  ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของจังหวัดโดยการพิจารณาจากรายได้ต่อปีของจังหวัด
             - เมือง เมืองเป็นหนึ่งในหน่วยงการปกครองท้องถ่ินของฟิลิปปิสน์ปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 143  แห่ง มีอำนาจเหนือบารังำก ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุด ในกรณีที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวด เมืองจะมีสถานะเป้นหน่ยการปกครองชั้นที่ 2 รองจากจังหวัด แต่ถ้าเมืองที่เป็ฯอิสระจากจังหวัดยังมีความรับผิดชอลในการให้บริการพื้นฐานต่าง เช่นเดี่ยวกับเทศบาลทั้งหลายอีกด้วย เช่น ตำรวจ ดับเพลิง การจัดการสาธารณประโยชน์ ทั้งหลายในเขตพื้นที่ การรักษาความสะอาด และบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่ใช้เงินงลบประมาณของเมือง เช่น ดรงเรียนมัธยม โรงพยาบาล และสวนสาธารณะ ประเภทของเมืองแบ่งเป็น
                 เมืองในเขตชุมนหนาแน่นสูง คือเมืองที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่อย่างน้อย 200,000คน โดยมีคำรับรองจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ และจะต้องมีรายได้ยอ่งน้อยปีละ 50 ล้าเปโซ โดยมีการับรองจาเหรัญญิกประจำเมือง ในปัจจุบลันเืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูงมีจำนวนทังสิ้น 33 แห่ง ซึ่งในจำนวนดังกล่าวมีเมืองที่ตั้งอยู่ในเขตมหานครมะนิลา 16 แห่ง
                เมืองที่เป็นอิสระ คือ เมืองที่กฎหมายห้ามิให้ผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผูว่าราชการจังหวัด และตำแหน่งทางการเมืองอื่นๆ ในระดับจังหวัด รวมทั้งมีความเ็นอิสระไม่ต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด
                เมืองที่อยู่ภายใต้การกำกับของจัวหวัด คือ เมืองที่ไม่ได้อยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ต่างๆ ดังเช่นเืองที่กล่าวมาในข้างต้นเมืองประเภทนี้กฎหมายกำหนดให้ประชานมีสิทธิเลือกตังตำแหน่งทางการเมืองในระดับจัวหวัดได้ ทั้งนี้ ถ้าเมืองใดตั้งอยู่บนพรมแดนของจังหวัดตั้งแต่ 2 จังหวัดขึ้นไป ให้ถือว่าเป็นเมืองที่อยุ่ภายใต้การกำกับดูแลของจัวหวัดที่เมืองนั้นเคยเป็นเทศบาลมาก่อน ส่วนรูปแบบการบริาหรของเมืองทุกประเภทนั้นจะประกอบด้วยฝ่ายบริหารและฝ่านนิติบัญัติที่มาตจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน หัวหน้าฝ่ายบริหารของเมือง เรียกว่านายกเทศมนตรี ส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเมือง นั้น จะมีรองนายกเทศมนตรีเป็นประธาน ทุกๆ 3 ปีจะมีการจัดลำดับชั้นของเมืองใหม่ โดยพิจารณาจากรายได้
             - เทศบาล เทศบาล หรือบาที่ก็เรียกว่า มูนิสซิปะโย ในภาษาตากาล็อค เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการกครองนองและมีความเป็นอิสระจากรัฐบาลกลางเช่นเดี่ยวกับจังหวัดและเมือง โดยรัฐบาลมีหน้าที่เพียงให้ความช่วยเหลือและดูแลการปกครองท้องถ่ิน เพื่อให้แน่ใจว่าเทศบาลไม่ได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายของประเทศ เทศบาลจะกำกับดูแลปมู่บ้านหรือบารังไกในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอลเช่นเดี่ยกับเมือง ทั้เงี้  นอกจาเทศบาลจะเป็นหน่วยย่อยทางการเมืองของรัฐ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในกาจัดลบริการแก่ท้องถิ่นบังคับใช้กฎหมายทั้งกฎหมายของประทเศและกฎหมายเกี่ยวกับกิจการของท้องถ่ิน และทำหน้าที่อื่นซึ่งรัฐบาลกลางหรือรัฐสภากำหนดเป็นกฎหมายให้ปฏิบัติลแ้ว เทศบาลยังมีสถานะเป็นจิติตบุคคล โดยสามารถดำเนินากรทำสัญญา และการติดต่อร่วมลทุนทางธุรกิจกับเอกชน รวมถึงหารายได้จากากรจัดเก็บภาษีท้องถ่ิน
                เทศบาลมีการแบ่งอำนาจการปกครองออกเป็นฝ่ยบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติ และมีการตวนจสอบถ่วงดุลซึ่งกันและกันซึ่งใีควาชัดเจนกว่าการถ่วงดูลกันระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ยนิติบัญญัติในระดับชาติ ส่วนอำนาจทางฝ่ายตุลากรนั้นอยุ่ที่อำนาจของศาลในระดับประทเศ
                เทศบาลมีนายกเทศมนตรี ที่มาจาการเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน ทำหน้าที่เป็ฯหัวหน้าฝ่ายบริหารส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเทศบาล ก็มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชนเช่นกัน มีรองนายกเทศมนตรีที่ทำหน้าที่เป้นประธนสภาเทศบาล
               เมื่อเทศบาลมีขนาดใหญ่ขึ้นก็สามารถขยับฐานะขึ้นไปเป็ฯเมืองได้ โดยสภาคองเกรศออกเ็นกฎหมายเสอนไปยังประธานาธิบดี หลังจากนั้นจึงให้ประชาชนลงประชามติว่าจะยอมรับความเป้นเมืองหรือไม่ ข้อดีประการหนึ่งของการเป็นเมืองก็คือจะทำให้ได้รับวลประมาณเพ่ิทขึ้น แต่ท้งนี้ประชาชนก็ต้องเสียภาษีมากขึ้นเช่นกัน และเช่นเดียวกัน ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของเทศบาล ดดยพิจารณาจากรายได้ต่อปีของเทศบาล
              - หมู่บ้านหรือบารังไก ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้บารังไกเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอถ่ินในระดับที่เล็กที่สุดซึ่งปัจจุบับยประเทศฟิลิปปินส์มีหน่วยการปกครองระดับนี้อยู่ทั้งสิ้น 42,028 แห่งทั่วประเทศ ทั้งนี้ปรธานาธิบดีแมกไซไซเคยกล่าวไว้ว่า "บารังไกเปรียบเสมือนรากหญ้าของการปกครองระบอบประชาธิปไตยของฟิลิปปินส์ เพราะเป็นหน่วยการปกครองระดับย่อยที่มีความผุกพันและใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด"
                บารังไกเป็นหน่วยกาปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการปกครองตนเอง โดอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของเมืองหรือเทศบาลบารังไกเกิดขึ้นโดยรัฐสภาออกเป็นกฎหมาในกาจัดตัเ้งหรือพระราชบัญญัติที่ออกโดยสภาจัวหวัดหนือสภาเมือง และด้วยความเห็ฯชอบจากสภาเทศบาล ดดยบารังไกจะต้องอยู่ในเขตเมืองหรือเทศบาล และภายในบารังไกโดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทยังได้มีการแบ่งพื้นที่ออกเป็หน่วยย่อยๆ เรียกว่า บูร้อก และซิติโอ แต่ภายในหน่ยย่อยเหล่านี้ไม่มีผุ้นำที่มาจากากรเลอตั้งอย่งเป็นหทางการ ทั้งนั้ บารังไกหนึ่งๆ จะจ้องมีจำนวนประชกรตั้งแต่ 500 ครัวเรือนขึ้นไป กต่ไม่เกิด 1,000 ครัวเรือน จึงจะตั้งขึ้นเป็นบารัไกได้
            ส่วนรูปแบบการบริาหรงานของบรังำกนั้นประกอบด้วยฝ่ยบริหารท่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงของประชาชน จะมีปูนง หรือหัวหน้าบารังไก ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริาหรของบารังไก ส่วยฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาบารังไก จะประกอบด้วย สมาชิกสภา หมู่บ้าน ที่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากปรชาชนจำนวน 7 คน และประธานสภาเยาวชน จำนวน 1 คน รวมเป็น 8 คน โดยมีบูนังหรอหัวหน้าบารังไกทำห้าที่เป็นประธาน ในส่วนของการแห้ปัญหาความขัแย้งภายในบารังไกนั้น ได้มีการจัดตั้งระบบยุติธรรมระดับบารังไก หรือมีที่ชื่อเรียกในภาษา ฟิลิปปินส์ว่า คาตารุงกัง ปัมบารังไก ขึ้นมาโดยเฉพาะ ซึ่ประกอบไปด้วย คณะบุคคลที่เรียกว่า ลูปอง ทากาปารมายาปา หรือ ลูปง ซึ่งอาจแปลง่ายๆ ว่า คณะกรรมการแสวงหาสันติภาพ มีจำนวน 10-20 คนทำน้าที่เป็นกรรมการ และมีประะานคณะกรรมการอีก 1 คน คาตารุงกัง พัมบารังไก คือ ระบบการแก้ปัญหาข้อพิพาท ณ หน่วยที่เป้ฯพื้นฐญานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของรัฐ นั่นคือระดับบารังไกหรือปมู่้าน ระบบนี้เป็นระบบยุติธรรมที่ยึดแนวทางของการปรึกษาหารือการสานเสวนา การเจรจาไกล่เหลี่ย หรือการประนีประนอม ทั้งน้ มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะบรรลุข้อตกลงอย่างแันท์มิตร แทนการนำคดีความและข้อพิพาทต่างๆ เข้าสู่กระบวนกาพิจารณาของศาล
           เนื่องจากบารังไกเป็นหน่วยการปกครองที่อยุ่ใกล้ชิดกับประชาชมากที่สุ บารังไกจึงถูกออกแบบให้เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่พึ่งตนเอง กระทำหน้าที่ในการพัฒนาชุมชน สภาบารังไกมีอำนาจในการหารายได้เพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน เช่น อำนาจในการเรียกเก็บภาษี เป็นต้น
            โครงสร้างภายในหน่วยการปกครองท้องถิ่น การจัดโครงสร้างภายในของหน่วยการปกครองท้ถงิ่นของประเทศฟิลิปปินส์ทั้ง 4 รูปแบบจะมีการแยกกันอย่างชัดเจนระหว่างฝ่ายนิติรบัญญัติ(ซึ่งจะมีสภของท้องถ่ินโดยที่สามาชิกสภาจะมาจากการเลือกตั้งและฝ่วบริาหรจะมีผุ้ว่าราชการจังหวดสำหรับการปกครองท้องถ่ินในระดับจังหวัด ส่วนเมืองและทเศลบาลจะมีนายกเทศมนตรีเมืองและนายกเทศมนตรีเทศบาล ขณะที่ในระัดบบารังไกจะมีบูนังหรือ หัวหน้าบารังำก โดยปกติแล้วการจัดโครงสร้างภานในของหน่วยการปกครองท้องถิ่นของฟิลิปปินส์จะมีระบบการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจซึ่งกับและกันระหว่างฝ่ายบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเห็นได้ชัดซึ่งอาจถือได้ว่ามีควมชัดเจินมากกว่าในระดับชาติเสียอีก
             - ฝ่ายบริหารท้องถิ่น ในการดำเนินงานและการบริหารจัดการต่างๆ เกี่ยวกบกิจการในท้องถิ่นเป็นภารกิจหลักของทางฝ่ายบริาหร ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกกำหนดให้เป็นห้าที่ของผุ้นำของฝ่ายบริหาร หรือหัวหน้าฝ่ายบริหารของหการปกครองท้องถ่ินในแต่ละระดับ ได้แก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัดนายกเทศมนตรีเมือง นายกเทศมนตรีเทศบาล และบูนังหรือหัวหน้า บารังำก ทั้งนี้ ตามประมวลกฎมหายการปกครองท้องถิ่นปี ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้หัวหน้าฝ่ายบริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาล มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบคล้ายคลึงกัน ดังนี้
                    - ควบคุมดุแลการดำเนินงานและการให้บริการต่างๆ ภายในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
                    - บังคับใช้กฎหมายและพระราชกำหนดที่เกี่ยวข้องกบกิจการของท้องถิ่นในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบและการนำนโยบายต่างๆ ออกไปปฏิบัติบรรลุผล
                     - การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
                     - การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
                     - การจัดบริการขึ้นพี้นฐานและจัดให้มีสาธารณูปโภคที่เพียงพอ
                     - ทำหน้าที่หรือให้บริการอย่างอื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
                  ในส่วนของอำนาจหน้าที่ของหัวหน้าฝ่ายบริหารในระดับบารังไกหรือบูนังนั้น ตามประมาบกฎมหายการปกครองท้องถ่ินได้กำหนดให้บูนังหรือผุ้นำในระดับบารังไกมีอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ดังนี้
                      - บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการของบารังไก
                      - เจรจาและลงนามในสัญญาในนามของบารังไกโดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
                      - เป็นประธานในที่ประชุมสภาปมู่บ้าน
                      - แต่งตั้งหรือถอดถอนเจ้าหน้าที่เหรัญญิกซึ่งเป็นผุ้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของบารังไก ตลอดจนเจ้าหน้าที่อื่นๆ ในบารังไก โดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
                      - เป็นผุ้อนุมัติใบสำคัญที่เกี่ยวกับการใช้จ่ายของบารังไก
                      - บังคับใช้กฎหมายหรือข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวกับการควบคุมมลภาวะและการปกป้องคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
                       - การจัดให้มีบริการขั้นพื้นฐานและส่งเสริมสวัสดิการทั่วไปของประชาชนในบารังไก
                       - เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมกับสภาเทศบาลในเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการของบารังไก
                       - ทำหน้าที่อื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
                     ฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่น โดยทั่วไปสภาท้องถิ่นไม่ว่าจะเป้น สภาสังหวัดสภาเมือง สภาเทศบาล และสภาบารังไก จะกระทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัติและอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นตามปกติแล้วสภาท้องถิ่นของหน่วยการปกครองท้ถงอถ่นิตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาลจะประกอบด้วย ประธานสภาซึ่งมีรองผุ้ว่าราชการจังหวัด หรือรองนายกเทศมนตรีเมือง หรือรองนายกเทศมนตรีเทศบาลเป็นประธาน และสมาชิกสภาของท้ถงอ่ินที่มาจาการเลือตั้งของประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน นอกจากนั้นสมาชิกของสภาท้องถ่ินแต่ละระดับยังประกอบด้วยตัวแทนที่เป็นประทธานสมาคมบารังไก ประธานสภาเยาวชน ประธานสหพันธ์สมาชิกสภาเมืองและเทศบาล (เฉพาะในกรณีของจัวหวัดเท่านั้นป รวมทั้งตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ 3 ภาคส่วน จำนวนรวม 3 คน ได้แก่ ตัวแทนจากกลุ่มผุ้หญิง 1 คน ตวแทนจากกลุ่มผุ้ใช้แรงงานในภาคเกษตรกรรรมและอุตสาหกรรม 1 คน และตัวแทนจากกลุ่มคนชายขอบ 1 คน ในส่วนของสภาบารังไกจะประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความแตกต่างจากสภาจัวหวัด สภาเมืองปละสภาเทศบาล โดวสภาบารังไกจะมีบูนังหนือหัวหน้าบารังไกทำหน้าที่เป็นประธาน และยังประกอบด้วยสมาชิกสภาบารังไกที่มาจากการเลือกตั้งจำนวนส 7 คน และประธานสภาเยาวชน
                    อำนาจหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่นโดยทั่วไปมีดังนี้
                     - ออกและบังคับใชข้อบัญญัติและมติเกี่ยวกับกิจการของท้องถิ่น
                     - ส่งเสริมแนวทางในการแสวงหารายได้เพื่อนำปพัฒนาท้องถิ่น
                     - ส่งเสริมสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นผ่านการออกข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่นๆ
                     - ออกข้อบัญญัติที่ส่งเสริมในเรื่องบริการและส่ิงอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานของประชาชนในท้องถิ่น
                  องค์ประกอบของระบบการปกครองท้องถิ่น 
                  เกณฑ์การจัดตั้งและการยกฐานะ การจัดตั้ง การแบ่งแยก การรวมเข้าด้วยกน การยุบเลิกหรือการเปลี่ยนแปลงเขตของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือบารังไก จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขสำคัญ 3 ประการ คือ
                   - จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น
                   - จะต้องได้รับความเห็นชอบจาเสียงส่วนใหญ่ของประชาชนผุ้ซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงในการลงประชามติ
                   - จะต้องไม่ทำให้จำนวนประชากร เขตพื้นที่ หรือรายได้ของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือ บารังไกเดิมลดลงต่ำกว่าที่กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์
                 ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ 3 ประการ ในการใช้เป็นหลักเกณฑ์สำหรับการจัดตั้งและการยกฐานะหน่วยการปกครองท้องถิ่นจากระดับหนึ่งสู่อีกระดับหนึ่ง ได้แก่ รายได้ จำนวนประชากร เขตพื้นที่ อย่างไรก็ดี ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดตั้งหน่วยการปกครองท้องถิ่นแต่ละรูปแบบเอาไว้ในประมวลกฎหมายปกครองท้องถิ่น
                ภารกิจและอำนาจหน้าที่ 
                ภารกิจและหน้าที่ของจังหวัด
                  - การส่งเสริมการเกษตรและการบริการวิจัยในพื้นที่ซึ่งรวมถึงการป้องกันและควบคุมโรคพืชและสัตว์ ฟาร์มนมตลาดสัตว์ สถานรีผสมพันธุ์สัตว์ และการช่วยเหลือในการจัดตั้งสหกรณ์สำหรับเกษตรกรและชาวประมง หรือองค์กรอื่น รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                  - บริการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม รวมทั้งการถ่อยทอดเทคโนโลยี
                  - ภายในกรอบนโยบายของชาติและการกำกับดูแลของกระทรวงสิ่งเวแดล้อมและทรัพยากรธรรมชาิต จังหวัดมีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายป่าไม้ที่เกี่ยวกับป่าชุมชน กฎหมายควบคุมมลภาวะกฎหมายเหืองแร่ขนาดย่อม และกฎหมายอื่นๆ ที่ใช้ปกป้องสภาพแวดบล้อม และโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดย่อมในเขตพื้นที่
                 - บริการสนับสนุนการลงทุน ซึ่งรวมถึงการเข้าถึงแหล่งเงินกู้, ปรับปรุงบริการข้อมูลภาษีอากรและการเก็บภาษีโดยใช้คอมพิวเตอร์
                 - บริการโทรคมนาคมระวห่างเทศบลาลภายในกรอบนโยบายของรัฐ,โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
                ภารกิจของเมือง
                 - บลริการที่เทศบาลและจังหวัดดำเนินการทั้งหมดและการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารและคมนาคมที่เพียงพอ,สนับสนุนการศึกษ การตำรวจ และการดับเพลิง
                ภารกิจของเทศบาล
                - บริการและการอำนวยความสะดวกเรื่องการส่งเสริมการเกษตรและการวิจัยในพื้นที่ที่เกี่ยวกับงานเกษตรกรรมแลการประมง ซึงรวมถปถึงการแจกจ่ายพันธุ์และพันธ์ุพืช สวยสมุนไพร สวนเพาะพันธุ์พืช หาร์มสาธิต การควบคุมคุณภาพผลผลิต ระบบชลประทานระหว่างหมู่บ้าน โครงการใช้ทรัพยากรและอนุรักษ์ดินและน้ำการบังคับใช้กฎหมายประมงในน่านน้ำเทศบาล รวมทั้งการอนุรักษ์ป่าชรายเลน
                - เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติและขึ้นกับกระทรวงสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เทศบาลดำเนินการโครงการป่าชุมชน จัดการและควบคุมป่า ซึ่งมีพื้นที่ไม่เกิน 50 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งสวนเขตพื้นที่สีเขียว และดครงการพัฒนาป่าไม้อื่นๆ
                - ภายใต้กรอบระมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น จัดลริการสุขภาพซึ่งวมถึงโครงการสาธารณสูขมูลฐานการดูแลแม่และเด็ก การควบคุมโรคติดต่อ การจัดบริการอนามัย
                - การจัดสวัสดิการสังคม ซึ่งรวมถึงโครงการสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน ครอบครัว สตรี ผุู้งอายุ คนพิการ โครงการฟื้นฟูชุมชน สำหรับบุคคลเร่ร่อน ขอทาน เด็กกลางถนน เด็กเหลือขอ ผุ้ติยา และโครงการสำหรับผุ้ยากไร้อื่น บริการโภชนาการและวางแผนครอบครัว
                - บริการข่าวสารข้อมูลซึ่งรวมถึงข้อมูลเร่องการลงทุนและหางานข้อมูลเกี่ยวกบระบบภาษีอากรและการตลาด และห้วอสมุดสาธารณะ
                - ระบบกำจัดขยะและการจัดการสภาพแวดล้อมรวมทั้งระบบและสิ่งทำนวยความสะดวกด้านสุขภาพอนามัย
                - อาคารเทศบาล ศูนย์วัฒนธรรม สวนสาธารณะรวมถึงสรามเด็กเล่น อุปกรณืและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการกีฬาและอื่นๆ โครงสร้างพื้นฐานซึ่งตอบสนองความต้องการของผุ้อยู่อาศัยในเทศบาล เช่นถนนและสะพาน ชุมชน โครงการแหล่งน้อขนาดย่อมบ่อน้ำ
                - ระบบการเก็บน้ำผนและการประปา การระบายน้ำการควบคุมน้ำท่วม สัญญาจราจรและถนน และอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน, ตลาดสาธารณะ โรงฆ่าสัตรว์ และกิจการเทศบาลอื่น, สุสานสาธารณะ, สิ่งอำนวยควาสะดวกด้านการท่องถิที่ยว ซึ่งรวมถึงการอกกฎระเบียบและกำกับดูแลกรดพเนินธุรกิจและบริการรักษาความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง, สถานีตำรวจและดับเพลิง สถานีย่อย และที่คุมขัวของเทศบาล
                ภารกจิของปมู่บ้านหรือบารังไก
                - บริการสนับสนุนการเกษตร ซึงรวมถึงระบบแจกจ่ายวัสดุเืพ่อการเพาะปลูก และการจัดารสถานีผลิตรวบรวมแลซื้อผลิตผลการเกษตร, บริหการสุขภาพและสวัสดิการสังคมซึ่งรวมถึงการรักษาดูแลศูนย์อนามยและศูนย์ดูแลเด็กของหมู่บ้าน, บริการและการอำนวยความสะดวกซึ่งเงกี่ยวกบสุขอนามัย การสร้างความสวยงาม แฃะการเก็บขยะ
              - การบำรุงรักษาถนน สะพาน และระบบส่งน้ำ, โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ศาลอเนกประสงค์ทางเดิน ศูนย์กีฬาและอื่นๆ , ศูนย์ข้อมูลและที่อ่านหนังสือและตลาด
                ระบบภาษีและกาีคลังของ้องถ่ิน
                ภาษีและรายได้ของ้องถิ่น ตามประมวลกฎหมายการปกครองทอ้งถ่ินได้กำหนดให้หน่วยการปกครองท้องถ่ินแต่ละระดับมีอำนาจที่จะกำหนดแหล่งที่มาของรายได้ อัตราภาษีค ค่าธรรมเนียม และค่าบริการของท้องถ่ินได้เอง ทั้งนี้ ภาษีอากร ค่าะรรมเนียม และค่าบริการที่ท้องถ่ินจัดเก็บได้ดังหลาว ให้ถือเป็นรายได้ของแต่ละหน่วยการปกครอง ท้องถ่ิน โดยมีหลัการพื้นฐานในการจัดเก็บดังต่อไปนี้
              - การจัดเก็บภาษีของหน่วยการปกครอง้ถงอถ่ินในแต่ละระดับ จะต้องเป็นไปในรูปแบบเดี่ยวกัน
              - ภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และรายได้อื่นๆ จะต้องมีลักาณะดังนี้ เป็นธรรมและสอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายภาษีของผุ้เสียภาษี ต้องเป้นการจัดเก็บไปเพื่อสาธารณะประโยชน์เท่านั้น, ไม่ปรับเปลี่ยนง่าย ไม่มาเกินไป ไม่เป็นการกดขี หรือไม่เป็นการบังคับ, ไม่ขัดต่อกฎหมาย นโยบายสาธารณะ นโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือเป้นการกีอกันทางการค้า
              - การจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการและรายได้อื่นๆ ของท้องถ่ิน จะต้องไม่อยู่ในอำนาจของเอกชน
              - รายได้ซึ่งได้จากภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และอื่นๆ ต้องเป็นไเพื่อประโยชน์ของหน่วยการปกครองท้องถ่ินวึ่งเป็นผุ้จัดเก็บและหากเป็นไปได้ให้ใช้อัตราภาษีก้าวหน้า...
                 การบริหารการคลังท้องถิ่น การบริหารด้านการคลังของท้องถิ่นเป็นไปตามหลัการพื้นฐานภายใต้ประมวบกฎมหายการปกครองท้องถิ่น ดังนี้
              - ห้ามจ่ายเงินท้องถ่ินเว้นแต่ที่กำหนดโดยกฎหมาย ,การใช้จ่ายของท้องถ่ินต้องเป็นไแเพื่อประโยชน์สาธารณะเท่านั้น, รายได้ท้องถิ่นต้องมาจากแหล่งเงินที่กำหนดไว้ชัดเจนตามกฎมหาย และต้องมีการรับรู้การเก็บภาษีอย่างเหมาะสม, เงินทุกประเภทที่พนักงานท้องถ่ินได้รับมาอย่างเป็นทางการทั้งจากฐานะตำแหน่งหรือในโอกาศที่เป็นทางการ ต้องถือว่าเป็นเงินทุนท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่กำหนดไว้ตากฎหมาย, ห้ามใช้จ่ายเงินจากกองทุนของท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนดังกล่าว, พนักงานทุกคนของหน่ยการปกครองท้องถิ่นซึ่งมีหน้าที่เก็บรักษาหรือดูแลกองทุนให้ปลดอภัยและสอดคล้องกับกฎหมาย, รัฐบาลท้องถิ่นจะมีแผนการคลังที่ดีและวงประมาณท้องถิ่นต้องเป้นไปตามหน้าที่ กิจกรรมและโครงการให้สอดค้องกับผลที่คาดหวัง, เป้ามหายและแผนท้องถ่นต้องสอดคล้งกับแผนเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติเืพ่อให้หใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้มากที่สุดและหักเลี่ยงความซ้ำซ้อนในการใช้ทรัยากรการเงินและวัตถุ, งบประมาณท้องถิ่นจะต้องสับสนุนแผนกพัฒนาท้องถิ่น หน่วยการปกครองท้องถิ่นจะต้องประกันว่างวบประมาณของตนเป็นไปตามเงื่อนไขความต้องการของหน่วยย่อยของตน และมีการกรจายพทรัพยากรระหว่างหน่ยย่อยอย่งเท่าเที่ยมกัน, การวางแผนระดับชาติต้องพิจารณรจากากรวางแผนท้องถ่ินเพื่อประกันว่ากความต้องการและความปรารถนาของประชาชนซึ่งหน่วยการปกครองท้องถ่ินระบุไว้ไดรับกาพิจารณในการกำหนดวบประมาณสำหรับส่วนราชการของรัฐ, ต้องมีความรับผิดชอบร่วมกันทางการเงินระหว่งผุ้ที่มีอำนาจในการเงิน การถ่ายโอน และการดำเนินการของหน่วยการปกครองท้องถิ่น, หน่วยการปกครองท้องถ่ินจะต้องใช้ความพยายามเพื่อให้เกิดงบประมาณสมดุลในแต่ละปีงบประมาณ
             การบริหารงานบุคคลของการปกครอง หน่วยการปกครองท้องถ่ินทุกระดับจะต้องมีการจัดวางโครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ของตนเอง โดยคำนึงถึงความจำเป้ฯในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน รวมทั้งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานขึ้นต่ำและแนวทางที่คณะกรรมการข้ารตาชการพลเรือนกำหนด การบริหารงานบุคคลท้องถ่ินของประเทศฟิลิปปินส์อาจมีความแตกต่างกันออกไปตามแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่ินบางแห่งนายกเทศมนตรีตั้งคณะกรรมการบริาหรงานบุคคลดูแลบางแห่งนายกเทศมนตรีดุแลเอง และเนื่องจากมีการบริหารงานบุคคลแยกจากกัน การโอนย้ายระหว่างทองถ่ินจึงทำได้ยาก เงินเดือนค่าตอบแทน ก็ต่างกันออกไป ถึงแม้จะมีโครงสร้างระดับเงินเดือนกลางแต่ท้องถ่ินก็เลือกใช้ได้ภายในกรอบ ผลคื อท้องถ่ินที่มีฐานะดีก็สามารถจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานของตนได้ดี  ส่วนท้องถ่ินที่มีานะดีก็สาารจ่ายค่าตอบแทนใหแก่พนังกานของนไดด้ดี สวนท้องถ่ินยากจนำ็มไ่สามรถจ่ายค่าตอบแทนได้สูง การขึ้นเงินเดือนขึ้นกับความสามารถในการจ่ายเงินของท้องถ่ินแต่ละแห่ง
            การบริหารงานบุคคลที่เป็นอยู่ไม่ส่งเสริมให้มีการเปลี่ยนขันเลือนตำแหน่ง เพราะเป็นระบบที่แต่ละหน่วยการปครองท้องถิ่นดำเนินการเองเป็ฯเอกเทศ มิใช่ระบบบริหารงานบุคคลระดบชาติอย่างเช่นประเทศไทย การโยกย้ายระหว่างหน่วยการปกคอรงท้องถ่ินจึมไม่มากนัก หากจะเป้นการยืมตัวก็ไปในระยะสั้น เช่น ไม่เกิน 3 เดือน ดังนั้น แม้มีกฎหมายกำหนดว่าข้าราชการที่ถูกส่งไปเป็นพนักงานท้องถ่ินจะได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าเดิม แต่ก็ไม่มีแรงจูงใจ เพราะการเปลื่นตำแหนงในแต่ละท้องถ่ินที่จำกัดมากจึงมีความพยายามให้มีการรวมอำนาจการบริหารบุคคลไปอยู่ที่ส่วนกลาง
             เจ้าหน้าที่ของหน่วยการปกครองท้องถิ่น จะประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ 2 ประเภท คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเมืองหรือเจ้าหน้าที่มี่มาจากากรเลือกตั้ง และเจ้าหน้าที่ฝ่ายประจำหรือเจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง ดังนี้
              - เจ้าหน้าที่ที่ทมาจากการเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งของหนวยการปกครองท้องถิ่นทุกแห่ง จะประกอบด้วย ตำแหน่งต่างๆ ทั้งในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติัญญัติ ฝ่ายบริหาร ได้แก่ ตำแหน่งต่างๆ ได้แ่ก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัด และรองผุ้ว่าราชการจังหวัด, นายกเทศมนตรีเมือง และรองนายกเทศมนตรีเมือง, นายกเทศมนตรีเทศบาล และรองนายกเทศมนตรีเทศบาล บูนัง หรือหัวหน้าหมู่บ้านตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าว จะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตของแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่น โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสมารถดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิดน 3 วาระ
                     ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ ตำแหน่งต่าง ดังนี้ สมาชิกสภาจัวหวัด, สมาชิกสภาเมือง,สมาชิกสภาเทศบาล, สมาชิกสภาบารังไก,สมาชิกสภาเยาวชนบารังไก ตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าวจะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสามาระดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิน 3 วาระ เช่นเดียวกบฝ่ายบริหาร
                      การดำเนินการทางวินัย เจ้าหน้าที่ที่มาจกากรเลือกต้งอาจถูกดำเนินการทางวินัย ถูกพักงาน หรือให้พ้นจากตำแหน่งในการณ๊ใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ ไม่จงรักภักดีต่อประทเศาสะารณรัฐฟิลิปปินส์ ไม่ซื่อสัตย์ กดขี ประพฤติตัวไม่เหมาสม ไม่สนใจในการปฎิบัติงานหรือการทอดทิ้งหน้าที่ กระทำความผิดทางศีลธรรมอย่างร้ายแรง หรือกระทำความผิดที่มีโทษถึงจำคุก ใช้อำนาจในทางที่ผิด การขาดงานโดยไม่รับอนุญาตเป็นเวลาเกินกว่า 15 วั ยกเว้น สำหรับกรณีของสมาชิกสภา จังหวัด สมาชิกของสภาเมือง สมาชิกของสภาเทศบาล และสมาชิกสภาบารังไก การรับสมัครหรือการได้รับสัญชาติ หรือมีที่อยู่อาศัย หรือมีสภาพเป็นผู้อพยพของประเทศอื่น เจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งที่กระทำความผิดในดรณีต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น อาจถูกให้พ้นจากดำแหน่งก็โดยคำสั่งของศาล
                     การถอดถอนออกาจากตำแหน่ง อำนาจในการถภอดถอนออกจากตำแหน่งอันเนื่องมาจากขาดความไว้วางใจ จะเป็นอำนาจของประชาชนผุ้มีสิทธิออกเสยงเลือกตั้งขององค์กรปคกรองสส่วนท้องถิ่นที่เลือกตั้งจากเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งในตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งอาจกระทำได้โดย จัดใไ้มีการประชุมในที่สาธารณะ เพื่อพิจารณาเสนอให้มีการถอดถอนเจ้าหน้าท่คนใดคนหนึ่งออกจาตำแน่ง รห ผุ้มีสิทธิออกเสียไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของผุ้มีสทิธิออกเสียงเลือกตั้งในเขตของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นๆ เสนอให้มีการถอดถอนออกจาตำแหน่ง คณะกรรมการเลือกตัั้งหรือผุ้แทจะพิจารณาตรวจสอบคำร้องหากเห็นว่าถูกต้องก็จะรับไว้พิจารณาต่อไป ในระหว่างนั้นคณะกรรมการการเลือกั้งหรือผุ้แทน จะประกาศรับมัครผุ้ที่มาดำรงตำแหน่งแทน โดยผุ้ที่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนจากตำแหน่ง ก้จะเป็หนึ่งในรายชื่อผุ้มีสิทธิที่จะได้รับเลือกตังใหม่ด้วย หลังจากนั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งจะดำเนินการเลือกตั้งผุ้ที่จะมาดำรงตำแน่งอทนผุ้ที่ถูกเสนอให้ถอดถอน
              การถอดถอนเจ้าหน้าที่ที่ทมาจาการเลือกตั้ง จะมีผลก็ต่อเมือได้มีการเลอกตั้งและประกาศผลการเลือกตั้งแล้ว โดดยผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งที่มีคะแนนสูงสุดเท่านั้นที่จะได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน ถ้าหากผุ้ที่เสนอให้ถอดถอนได้คะแนนสูงสุด ก็จะสามารถดำรงตำแหน่งต่อไป และจะไม่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนอีกไปจนครบวาระการดำรงตำแหนงของเจ้าหน้าที่นั้นๆ
              - เจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือตำแหน่งที่หน่วยการปกครองท้องถิ่นทุกประเภทต้องมีเหมือนๆ กัน และตำแหน่งที่จะมีเพ่ิมเติมตามความจำเป็นในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแตละหน่ยการปกครองท้องถิ่น นอกจากตำแหน่งที่จำเป็นหรืออาจจะต้องมีประจำตามหน่วยการปกครองท้องถิ่นแล้ว ตำแหน่งอื่นๆ หัวหน้าฝ่ายบริหารของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ินจะเป็นผุ้พิจารณาแต่งตั้งตามดครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลัเจาหน้าที่ของตนเอง ซึงจะพิจารณากำหนดโดยคำนึงถึงความจำเป้นในการให้บริการและควมสามรถทางการเงินของแต่ละหย่ายการปกครองท้องถ่ิน ส่วนการบรรุจุแต่งตั้งและการดำเนินการทางวินัยนัน จะต้องเป็นไปตามมาตฐานขึ้นต่ำและแนวทางทีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนกำหนด ยกเว้น การบรรจุแต่งตังลูกจ้างในกรณีฉุกเฉินหรือลูกจ้างชั่วคราว ไม่ต้องดำเนินการตามแนวทางที่คณะกรรมการข้าราชการพลเรือกำหนด



                                           - "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณะรัฐฟิลิปปินส์", ณัฐธิดา บุญธรรม, วิยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาับพระปกเกล้า, 2556.

วันพุธที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2560

Local government in Vietnam

           เวียดนามปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวคือ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนาม มีอำนาจสูงสุดตามรัฐธรรมนูปี ค.ศ. 1992 รัฐธรรมนูญเวียดนามฉบับปัจจุบันที่เร่ิมใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 และแห้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ. 2001 ได้วางกรอบอำนาจหน้าที่ของรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของรัฐกับเอกชนไว้ รัฐธรรมนูยญได้กำหนดให้พรรคคอมมิวนิสต์เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด
            โครงสร้างการปกครองของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ฝ่ายหลักๆ คือ
            1 องค์การฝ่ายนิติบัญญัติ หรือสมับบาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานสูงสุด้านนิติบัญญัติเปรียบเทียบำับหน่วยงานของไทยได้เทียบกับรัฐสภา สมัชชาแห่งชาติเป็นองค์กรที่สมาชิกได้มาจากการเลือกตั้ง มีจำนวนทั้งหมด 493 คน มีหน้าที่บัญญัติและแก้ไขกฎหมาย แต่างตั้งประธานาธิบดีตามที่พรรคคอมมิวนิสต์เสนอ การรับรองและถอดถอนนายกรัฐมนตรีตามที่ประธานาธิบิี เสนอ รวมทั้งการแต่างตั้งคณะรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ หน้าที่ของสมัชชาแห่งชาติคือการตรา รับรอง และแก้ไขรัฐธรรมนูญ พิจารณากฎหมาย พิจารณางบประมาณประจำปี อีกทั้งพิจารณาแต่างตั้งสถาบันทางการเมืองอื่นๆ ด้วยได้ แก่ สภาแห่งรัฐ สภารัฐมนตรี ศาลสูงสุด และองค์กรควบคุมประชาชน
          2 องค์การฝ่ายบริหาร (รัฐบาลส่วนกลาง) ประกอบด้วยประธานนาธิบดี คณะรัฐมนตรี รวมทั้งพรรคอมมิวนิสต์ โดยองค์กรที่มีหน้าที่บรริหารพรรคอมมิวนิสต์ โดยองค์กรที่มีหน้าทบริหารพรรคอมมิวนิสต์
          3 รัฐบาลระดับท้องถ่ิน หรือที่อาจเรียกได้ว่า สภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน มีคณะกรรมการประชาชนประจำท้องถ่ินนั้น ทำหน้าที่เป็นองค์กรบริหารสูงสุดบริหารงานให้เป็นไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎระเบียบต่างๆ ที่บัญญัติโดยองค์ของรัฐที่อยู่ในระดับสูงกว่า ระบบการบริหารราชการท้องถิ่นของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของการปกครองเวียดนามก็คือเป็นการปกครองแบบที่เรียกว่า "โครงสร้างขนานระหว่างพรรคและรัฐ"กล่าวคือ พรรคคอมมิวนิสต์กับรัฐมีความสัมพันะ์กันอย่งแนบแน่น จำไม่สามารถแยกพรรคกับรัฐมีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น จนไใามสามารถแยกพรรคกับรัฐออกจากกันได้ เพราะบุคคลที่บริหารงานต่างก็เป็นสมาชิกพรรคอมมิวินสิต์ด้วยกันทั้งสิ้น
          ระบบโครงสร้างทางการเมืองของเวียดนามนั้นมีลักาณะคล้ายคลึงกับประเทศคอมมิวนิสต์อื่นๆ คือ มีพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนามเป็ฯองค์กรที่มีความสำคัญสูงสุด บทบาทของพรรคคอมมิวนิสต์นั้นมีมากในรัฐะรรมนูญทุกฉบับกำหนดให้เคารพบทบาทนำของพรรคในการใช้อำนาจของรัฐมากกว่าในระบบเสรีประชาธิปไตแบบทั่วไป หากพิจารณจากมาตราที่ 4 ของรัฐธรรมนูญเวียดนามจะพบวาได้ระบุเอาไว้ถึงการให้อำนาจแก่พรรคคอมมิวนิสต์ไว้ว่า "พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม..เป็นพลังจำของรัฐและสังคม"
            โครงสร้างากรบริาหรของประเทศเวียดนามนั้นมีพรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้บริหาร ตัวแทนที่เข้าไปอยู่ในสภมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี รัฐบาลนั้นมีนายกรัฐมนตรีเป็นผุ้นำซึ่งได้ับการคัดเลือกมาจากสมัชชาแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี นอกจานี้ก็ยังมีประธานาธิบดี ซึ่งทำหน้าทีเป็นประมุขของรัฐเชนเดี่ยวกันและได้รับการคัดเลือกจากสมัชชาแห่งชาติเช่นเดี่ยวกันทั้งสองเป็นสมรชิกของกรมการเมือง ซึ่งกรมการเมืองเป็นกลุ่มของคนที่ถือว่าเป็นหัวกะทิของพรรค เป็นผุ้ที่มีอำนาจสุงสุดภายในประเทศ
             ลักษณะการปกครองแบบรวมศูนย์ของเวียดนามนั้น มีผุ้วิเคราะห์ไว้ว่า เกิดจากการได้รับอิทธิพลของสองความคิด คือ แนวคิดในลัทธิขงจื้อ ซึ่งเป็นมรดกจากการที่เวียดนามเคยอยู่ภายใต้การปกครองของจีนพันหว่าปี ซึ่งลักษณะของการกครองแบบขงจื้อคือการเน้นศูนย์อำนาจอยู่ที่ส่วนกลาง อีกความคิดหนึ่งที่ส่งผลต่อรูปแบบการปกครองเวียดนามก็คือแนวคิดในลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งแพร่ขยายเข้ามาสู่เวียดนามในช่วงคริสต์ศตวรษที่ 20  กรอบความคิดแบบคอมมิวนิสต์นั้นเน้นการปกครองแบบรัฐรวมศุนย์ เชื่อมั่ว่ากรรมสิทธิ์ทุกอย่างเป็นของสังคมโดยรวม ประชาชนมีสทิะิ์ในหารเข้ถึงทรัพยากรได้อย่างเท่าเที่ยม กังนั้เพื่อที่จะกำจัดนายทุนและปันส่วนจัดสรรการเข้าถึงทรัพากรให้กับทุกฝ่าย ส่งผลให้ปัจจัยการผลิตทั้งหมดนั้นต้อง
            ในช่วงที่ฝรั่งเศสปกครองเวียดนามและมีสหพันธ์อินโดจีนนั้น การดูแลสหพันธ์อินโดจีนนั้นอยู่ภายใต้กระทรวงอาณานิคม สหพันธ์อินโดจีนแบ่งโครงสร้างการบริหารออกเป็นการบริหารงานส่วนกลางและการบริหารส่วนภูมิภาค
            การบริหารงานส่วนกลาง ผุ้มีอำนาจสูงสุดในการบริหารงานคือ ผุ้ว่าการหสพันธ์อินโดจีน ซึ่งประจำการอยู่ที่กรุงฮานอย เขาเป็นตัวแทนสุงสุดในการทำการแทนรัฐบาลฝรั่งเศส โดยมีสภาสหพันะ์อินโดจีนเป็นผู้ช่วยในการตัดสินใจ สภาดังกล่าวประกอบไปด้วยผุ้ว่าการสหพันธ์เป็นประธานสภา และสมาชิกที่เป็นชาวฝรั่งเศส รวมไปถึงคนเวียดนามอีก 2 คนทำหน้าทีเป็นตัวแทนคนพื้นเมือง
            สภาหสพันธ์อินโดจีนประชุมปีละ 1 ครั้ง เพื่อภิปรายให้ความเห็นและอนุมัติวบประมาณ ผลการตัดสินหรือความเห็นชอบของสภาสหัพนธ์จะถูกส่งต่อไปยังกระทรวงที่สำคัญ 4 กระทรวงที่เกี่ยวข้อง คือ กระทรวงการบริหารกิจการการเมือง - การแกครอง กระทรวงกลาโหมกระทรวงกิจการภายในและสารนิเทศ และกระทรวงการคลัง
           การบริหารภูมิภาค ฝรั่งเศสแบ่งการบริหารส่วนภุมิภาคในบริเวณอินดดจีนออกเป็น 5 ส่วนด้วยกัน คือ ดังเกี่๋ย ตอนเหนือของเวียดนาม, อันนัม ตอนกลางของเวียดนาม, ลาว, กัมพุชา (รัฐในอารักขา) โคชินจีน หรือทางตอนใต้ของเวียดนาม(อาณานิคม) บริเวณโคชินจีนนั้นจัดเป็นอาณานิคม อยุ่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสโดยตรง ผุ้มีอำนาจสุงสุดในโคชินจีนคือผุ้ว่าอาณานิคม โดยขึ้นตรงกับผุ้ว่าการสหพันธ์อินโดจีนที่ฮานอย มีหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านเศรษฐกิจ การเวิน การภาษีอากร แต่ไม่มีอำนาจในการให้คำปรึกษาหรือตัดสินใจด้านการเมือง นอกจานี้ยังมีสภาอาณานิคมโคชิจีนอีก 16 คน ซึ่งประกอบไปด้วยชาวฝรั่งเศสและชาวเวียดนาม และยังมีสภาที่ปรึกษาผุ้ว่าการอาณานิคมที่ม่สมาชิกเป็นทั้งชาวฝรั่งเศสและชาวเวียนาม ในส่วนของรัฐอารักขานั้น มีผุ้ว่าการสูงสุดขงอรับอารักขา ตามแต่ละรัฐอารักขา โดยมีอำนาจสุสุดและขึ้ตรงต่อผุว่การสหพันธ์อินโดจีนที่ฮานอย แต่เฉพาะในอันนัมเท่านั้นที่ฝรัี่งเสสยังคงสภาบันจักรพรรดิที่เว้และงอคกรบริหารงานส่วนใหย๋ของรัฐบาลจักรวรรดิไว้ แต่ไม่มีอำนาจที่แท้จริงเพราะมีอำนาจแต่ทางงานพิธิีการที่เกี่ยวข้องกับจารีตประเพณี สภาที่มีอำนาจทีทแ้จริงคือสภาผุ้ว่าการัฐอารักขา โดยมีผุ้ว่าการัฐอารักขาเป็นประธาน
            ในช่วงที่ฝรั่งเศสเข้าไปปกครองเวียดนามและมีการแก้ไขโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น ฝรั่งเศสแทบจะไม่เปลียนแปลงการปกครองในหมู่บ้าานเลย เพราะฝรั่งเศสคิดว่าจารีตการปกครองของปกครองในหมู่บ้านเลย เพราะฝรั่งเศสคิดว่าจารีตการปกครองของหมู่บ้านเวียดนามนั้นไม่มีผลต่อบทบาทของฝรังเศสในเวียดนาม ดังนั้นฝรั่งเศสจึงปล่อยให้รูปแบบที่เคยมีมานานแล้วในเวียดนามยังคงอยุ่ต่อไป
             ช่วงที่ฝรั่งเศสเข้าปกครองเวียดนาม มีการจัดระบบการศึกษาใหม่ในเวียดนามเพื่อให้ชาวเวียดนามเรียรู้วิธีการบริหารราชการของฝรั่งเศสและเรียนรู้วัฒนธรรมฝรั่งเศสอื่นๆ รวมทั้ง หลังจาฝรั่งเศสเข้ายึดเวียดนาม ปัญญาชนจำนวนมากไม่ยอมไใ้ความร่วมมือกับฝรังเศส ทำให้ฝรั่งเสสจำเป็นต้องสร้างนักบริหารและนักปกครองรุ่นใหม่ขึ้นมาทำงานใรระบอบอาณานิคม ด้วยกานจัดตั้งโรงเรียนสอนราชการ

           
             รูปแบบระบบการปกครองท้องถิ่นของเวียดนามในปัจจุบัน ต้องกล่าวอย่างตรงไปตรงมาว่า รูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามนั้น เวียดนามแทบจะไม่มีการปกครองท้องถิ่นอยู่เลย เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของเวียดนามไม่มีองค์ประกอบการปกครองท้องถิ่นอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความเป้ฯอิสระของท้ถองถ่ินเพราะรัฐบาลส่วนกลางเข้ามาควบคุมดูแลในเกือบทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นประเด็นเรื่องงบประมาณ การบริหารงานบุคคล หรือการบริารงานทั่วไปที่ให้อิสระแก่ท้องถ่ินค่อนข้างน้อย การได้มาซึ่งผู้บริหารหรือสภาท้องถิ่นที่ผ่านการเลือกตั่งในรูปแบบที่รัฐสามารภควบคุมได้ คือ จัดให้มีการเลือกตั้งจริงในหน่วยการปกครองต่างๆ แต่การเลือกตั้งไม่มีการแข่งขัน ผุ้สมัตรรับเลือกตั้งล้วนสังกัดพรรคคอมมิวนิสต์ อีกทั้งยังต้องได้รับการรับรองจากคณะกรรมการบริหารพรรคคอมมิวนิสต์ในระดับบนก่อนเสมอจึงจะสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผุ้บริหารท้องถิ่นได้ ดังนั้นรูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามจึงเทียบเคีรยงกับรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทยได้ยาก
            อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญเวียดนามได้กำหนดลำดับชั้นของการปกครองส่วนท้องถิ่นเอาไว้ ว่าด้วยสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน รูปแบบการแบ่งการปกครองท้องถิ่นของเวียดนามนั้นอาจแตกต่างจากรัฐอื่นๆ เช่น สหพันธรัฐอย่างออสเตรเลียหรืออเมริกานั้นแบ่งรูปแบบการปกครองออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน คือ ระดับสหพันธรัฐ ระดับรัฐ และระดับเดี่ยวอาจแบ่งกรปกครองอกเป็น 2 ระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาลต่ำกว่าชาติ เวียดนามก็แบ่งการปกครองออกเป็นสองระดับ เช่นเดียวกัน ระดับต่ำกว่าชาติ ก็คือระดับท้องถิ่น
           รัฐธรรมนูญเวียดนามปี ค.ศ. 1992 รัฐบาลจัดโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่นออกเป็น 3 ระดับใหย๋ระดับสูงสุดคือรัฐบาลกลาง การปกครองท้องถิ่นระดับแรกคือระดับจังหวัด ระดับที่สองคือระดับเมืองและระดับที่สามคือระดับคอมมูน โดยในแต่ละระดับก็จะมีการแยกย่อยออกไปอีก ดังที่จะได้กล่าวในส่วนต่อไป ในแต่ละระดับ จะมีหน่วยงาานที่รับผิดชอบงานด้านท้องถิ่นอยู่ 4 หน่วยที่สำคัญคือ คณะกรรมการประชาชน สภาประชาชน ศาลประชาชน ตัวแทนประชาชน โดยในที่นี้จะมุ่งศึกษาแต่สภาประชาชนและคณกรรมการประชาชนเป้ฯหลัก เพราะเป็นสองหน่วยที่มีความเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นโดยตรง
            อำนาจหน้าที่ของท้องถิ่น เราจะเห็นได้จากอำนาจหน้าที่ของสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชนว่ามีหน้าที่ที่หลากหลาย ทั้งในประเด็นเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยองท้องถิ่น ความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ การดูแลวิทธยาศาตรืและเทคโนโลยี สิ่งเเวดดล้อม ศิลปะวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และอื่นๆ ซึ่งเป็นประเด็นที่ต้องจัดการเรือ่งสังคมของท้องถิ่นเป็นหลัก โครงสร้างการบริหารและทำงานของท้องถิ่นนั้นเป็นไปอย่างสลับซับซ้อน แต่ละระดับชั้นประกอบไปด้วยสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน ซึ่งมีหน้าที่ในการรายงานตรวจสอบ ควบคุมการทำงานระหว่างกัน ส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการตัดสินจและการทำงาน เพาระต้องอาศัยการเดินเรื่องเพื่อส่งต่อให้ตัดสินใจหลายขั้นตอน ทำให้การทำงานเกิดความล่าช้าในการตัดสินใจอนุมัติโครงการ
              ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับท้องถิ่น ในประเด็นเรื่องหน่วยของกความรับผิดชอบคือ ระดับของท้องถิ่นในการรับผิดชอบต่อการปกครองท้องถิ่น ท้องถิ่นของเวียดนามมีอำนาจในการจัดการประเด็นบางอย่าง เช่น ระบบการศึกษา กฎหมายหรือด้านตำรวจ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่รับผิดชอบสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า หรือโทรศัพท์ รวมถึงประเด็นเรื่องอุตสาหกรรม โรงพยาบาลก้เป็นหนึ่งในความรับผิดชอบของท้องถ่ิน และการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน โดยงบประมาณด้านสาธารณสุขนั้นจะมาจากค่าบริหารของผุ้ป่วยที่มาใช้บริหรในโรงพยาบาล การดุแลผู้สูงอายุและคนพิการนั้นเป็นหน้าที่ของครอบครัวที่ต้องดุแล แต่ก็มีหน่วยงานที่ช่วยดุแลบุคคลที่ไม่มีครอบครัวท้องถิ่นก็จะมีอำนาจในการดูแลหน่วยงานลักษณะนั้น หรืออาจกล่าวโดยสรุปก็คือ อำนาจของท้องถิ่นนั้นมีอำนาจในการดูแลประเด็นกว้างๆ ของสาธารณะ
             อย่างไรก็ดี ด้วยรูปแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ของเวียดนาม ส่งผลให้กระบวนการตัดสินใจและการบังคับออกกฎและดูแลท้องถ่ินของเวียดนามนั้นไม่เป็นอิสระ วบประมาณที่ต้องจัดสรรลงมาจากรัฐบาลส่วนกลางเพื่อดูแลท้องถิ่นนั้นก็เต็มไปด้วยกฎระเบียบเชิงราชการที่มีข้อกำหนดและกระบวนการมากมายเฉกเช่นเดี่ยวกับลักษระการทำงานของระบบราชการไทย ซึ่งส่งผลให้การกระทำการใดๆ นั้นเป็นไปด้วยความบ่าช้า ทั้งในเรื่องการตัดสินใจและการเบิกจ่ายวบประมาณ แต่ข้อดีของการผูกอำนาจไว้กับรัฐบาลส่วนกลางก็คือการที่รัฐบาลสามารถปรับเปลี่ยนวบประมาณไปในประเด็นที่มีความต้องการเร่งด่วนได้เร็วกว่า
             งบประมาณท้องถิ่น รูปแบบอำนาจด้านงบประมาณของเวียดนามนั้นเป็นลำดับขั้นอย่างมาก และเป็นไปตามแบบ Matruska Doll Model ซึ่งงบประมาณจากหน่วยการปกครองระดับล่างต้องได้รับการอนุมัติทั้งจากสภาประชาชนและจากหน่วยงานราชการระดับสูง งลประมาณของท้องถ่ินถูกถือรวมเป็นงบประมาณของท้องถ่ินถูกถอืรวมเป็นงบประมาณของรัฐ
           ท้องถิ่นไม่มีอิสระด้านวบประมาณของตัวเองมากนัก แม้ท้องถ่ินจะสามารถกำหนดเป้าหมายและของบประมาณไปยังส่วนกลาง แต่งบประมาณของท้องถิ่นก็ยังรวมกับวบส่วนกลาง นอกจากนี้.โครงสร้างแบบลำดับชั้น นั้นก็ส่งผลให้ต้องอาศัยการได้รับการอนุมัติที่ยุ่งยาก อย่างไรก็ดี กฎหมายที่มีความสำคัญต่องบประมาณของเวียดนามคือ กฎหมายวบประมาณของรัฐ ที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 และมีการแก้ไขครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2002 กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายฉบับแรกของเวียดนามที่มีการพูดถึงเรื่องงบประมาณการเงินและากรคลังของประเทศ
            ในปี ค.ศ. 1996 กฎหมายฉบับนี้ได้กำหนดให้มีการแบ่งงบประมาณออกเป็นสองสวนใหญ๋คือวบประมาณส่วนกลางและวบประมษรท้องถ่ิน โดยวบประมารศ่วนกลางมีหน้าที่ในการสนับสนุนการทำงานของรัฐบาลกลางเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประทเส ในขณะที่วบประมาณส่วนท้องถิ่นนั้นมีหน้าที่ในการสนับสนุนการทำงานของสภประชาชนและคณกรรมการปรกชาชน รวมไปถึงหย่วยงานระดับท้องถ่ินทอืนๆ รวมไปถึงกระบวนการของวบประมาณและการจัดการการตรวจสอบ และอื่นๆ
           กฎหมายวบประมาณของรัฐได้รับการแห้ไขครั้งแรกในปี ค.ศ.1998 และอีกครั้งในปี ค.ศ. 2002 โดยกำหนดให้รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นมีที่มาของรายได้ไม่ทับซ้อนกันในบางประเด็น และให้ใช้ร่วมกันในบางประเด็น ประเด็นที่สำคัญก็คือ แปล่งที่มาของรายได้นั้นมาจากแหล่งที่แตกต่างกันออกไปดังที่เสนอไปในตาราง ในส่วนของการตัดสินใจการใช้งบประมาณของสภาประชาชนนั้นจะเป็นการตัดสินใจโดยสภาประชาชนเองตามที่ได้รัฐบาลได้นัดสรรให้มา...
           ... ปัญหารเรื่องการรวมศุนย์อำนาจ เวียดนามปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ ปัญหาของการรวมสูนย์อำนาจของเวียดนามไว้ที่รัฐบาลส่วนกลางได้ส่งผลต่อกาปกครองท้ถงอิ่นของเวยดนาม อีกทั้งรูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามเองนั้นก็ไม่ได้เป็นไปในลักษระการปกครองท้องถิ่นที่สังคมไทยเข้าใจ เนื่องจากยังเน้นการปกครองจากส่วนกลาง การไม่มีโครงกสร้าง อำนาจ หน้าที่ การเงิน หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อีกทั้งปัญหาในระบอบการปกครองแบบคอมมิวินิสต์เองก็มีปัญหาในตัวของมนัน เราอาจสรุปได้ว่าปัญหาของการปกครองท้องถ่ินเวยดนามมีดังนี้
             - การทำงานขององค์รปกครองสวนท้องถ่ินขดการมีส่วนร่วมของประชาชน และขาดความกระตือรือร้นในการแก้ไขปัญหา
              - การตัดสินใจไม่มีความยือหยุ่น ไม่เป็นไปตามกำหมายซึ่งนำไปสู่การร้องทุกข์และการฟ้องร้อง
               - มีการละเมิดสิทธิขั้นพี้นฐานของประชาชน
               - มีการคอรัปชั้นกันอย่างกว้างขว้าง
               - เจ้าหน้าที่ท้องถ่ินไม่มีความคิดริเร่ิมในกิจการงานใหม่ๆ
               - เจ้าหน้าที่ท้องถ่ินมีการตอบสนองต่อความต้องการของเจ้านายระดับบนเป็ฯอย่างดีแต่ไม่ตอบสนองข้อเรียกร้องต่อประชาชน
               - เจ้าหน้าที่ไม่คุ้นเคยกับกฎระเบียบของกฎหมาย มักจะใช้ดุลยพินิจส่วนตัวในการแห้ไขปญ
               - เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการออกกฎหมาย
               ทั้งหมดนี้ พอจะทำให้เห็นได้ว่า การปกครองท้องถ่ินของเวียดนามยังขาดความเป็นอิสระอยู่มาก ซึ่งมีลักาณะที่เรียกว่า "การปกครองท้องถิ่นโดยรัฐ" แต่แม้จะมีปัญหาดังที่ได้กล่าวมาในข้าองต้น รัฐบาลกลางของเวียดนามก็ได้พยายามแสวงหาแนวทางในการที่ะแก้ไขปัญหาที่มีความเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นเอาไว้บ้างแล้ว หลายๆ ปัญหาที่ได้หล่าวมา เกิดขึ้นจากการที่อำนานทั้งหลายของการปกครองท้ถงอิ่นไปกระจุกตัวอยู่ที่รัฐบาลส่วนกลาง ดังนั้น เพื่อจะเป็นการลดปัญหาการปกครองส่วนท้องถิ่นรัฐบาลเวียดนามจึงได้เร่ิมมีการพูดถึงการกรจายอำนาจไปสู่ท้องถ่ินโดยได้กำหนดหลักในการกะจายอำนาจดังนี้
               - กระจายอำนาจต้องไม่มีผลกระทบต่อความเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันของรัฐ อำนาจของรัฐต้องเป็นอันหนึ่งอันเดี่ยวกันจะแบ่งแยกไม่ได้
                - ต้องหารูปแบบที่เหมาะสมเสียก่อน กล่าวคือ การจะกระจายอำนาจไปสู่ท้องถ่ินนั้นต้องมีการทำการวิจัย ออกแบบ และวิเคราะห์ถึงผลกระทบในมิติต่างๆ เสียก่อน
                 - การกระจายอำนาจต้องดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไปและระมักระวัง
                 - การกำหนดอำนาจกน้าที่ระหว่างสวนกลางและท้องถ่ินต้องเป็นไปเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพของการทำงานของส่วนกลาวและในขณะเียวกันก็ต้องเพิ่มความเป็นอิสระของท้อถงิุ่นในการตัดสินใจด้านสังคมและเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นๆ
                - อำนาจและหน้าที่ของทั้งรับบาลกลางและรัฐบาลท้องถ่ินต้องได้รับการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อจะได้ทราบว่าอำาจหน้าที่ใดมีความเมหาะสมกบท้องถ่ิน
                - หน่วยงานของส่วนกลางต้องไม่สร้างดครงสร้างองค์กรเหมือนกับโครงสร้างองค์กรของหน่วยงานของท้องถิ่น
                - การกระจายอำนาจที่ดีต้องก่อให้เกิดผล 4 ประการ คือ การมีการบริาหรกิจการบ้านเมืองที่ดี การเพ่ิมความสะดวกแก่ประชาชนในท้องที่ การส่งเสริมการปกครองโดยยึดหลักฎหมาย การเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน จากแนวคิดเรื่องการกรจายอำนาจดังกลล่าวส่งผลให้รัฐบาลมีการกำหนดบทบาทความรับผิดชอบกับรัฐบาลท้องถ่ินแยหกันไว้ 3 หน้าที่คือ
              1 รัฐบาลและหน่วยงาน่วนกลางทมีหน้าที่รับผิชอบหลัก 7 เรื่อง คือ การเมือง เศรษฐฏิจ วัฒนธรรม สังคม ป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย และการดำเนินการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
             2 ส่วนท้องถ่ินมีหน้ามีรับผิชอบตอประชาชนในท้องถ่ินในเรื่อง
                    - การสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีในท้องถิ่นให้สอดคล้งกบเจตนารมของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อหลักประกันเอกภาพความเป็นผุ้นำของรัฐบาลกลาง
                    - การดำเนินการอย่างสร้างสรรค์และอย่างมุ่งมั่นในการพัฒนาทุกด้านในท้องถิ่นในการบริการสาธารณะที่ดีต่อประชาชน
                    - การส่งเสริมการปกครองตามหลักนิติธรรมของรัฐสังคมนิยม และส่งสเริมกลไกของประชาชน โดยประชาชน เพื่อปรชาชน
                     - การธำรงรักษาความมั่นคงและปรับปรุงมตรฐานการครองชีพของประชาชน รวมท้งการพัฒนาการผลิตทั้งหลาย โดยมีการใช้ศักยภาพของคนให้เหมาะสม
           3 ความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างรัฐบาลกลางและท้องถ่ิน ต้องมีควมชัดเจน รัฐบาลเวียดนามถือว่าเรื่องนี้เป็นหัวใจสำคัญที่สุดในการปกคีองท้ถงิถ่ิน และเพื่อหลีกเลี่ยงการทำงานที่ซ็ำซ้อนและการสะดุด โดยยึดหลักการเป็นอิสระของท้องถิ่นและดดยส่งเสริมบทบาทของภาคประชาชนในการตรวจสอบลการทำงานของรัฐบาลกลางและท้องถิ่น


                                           - "ระบบการปกครองท้องถิ่น ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม", นรุตม์ เจริญศรี, วิทยาลัยพัฒนากากรปครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
                                   

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...