Local government in Philippine

              ตามรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ปี ค.ศ. 1987 ซึ่งเป็นฉบับที่ดใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้กำหนดให้หน่วยการปกครองท้องถิ่น มีความเป็นอิสระในการปกครงตนเองโดยประธานาธิบดีมีหน้าทเพียงการกำกับดูแลการปกคีองท้องถิ่น ซึ่งออกในปี ค.ศ. 1991 ภายใต้หลักการสำคัญเกี่ยวกับการจัดให้มีการปกครองท้ถงอ่ินที่ตอบลสนองและมีความรับผิดชอบเพื่อมากขึ้น ผ่านระบบการกระจายอำนาจ พร้อมกับกลไกที่มีประสทิะิภาในการถอดถอนผุ้ดำรงตำปน่ง การริเริ่มเสอนกฎหมายหรือเรื่องต่างๆ และการหยั่งเสียงประชามติ การจัดสรรอำนาจความรับผิดชอบและทรัพยากรของหน่วยการปกครองท้องถิ่นระกับต่างๆ การกำหนด คุณสมบัติ วิธีการเลือกตั้ง การแต่งตั้งและการห้พ้นจากตำแหน่ง สาระการดำรงตำแหน่ง เงินเดือน อำนาจและภาระหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดองค์การและการดำเนินการของหน่วยการปกครองท้องถิ่น
             ในปัจจุบันหน่วยการปกครองท้ถงอิ่นของฟิลิปปินส์มี 4 ประเภท ได้แก่ จังหวัด จำนวน 80 แห่ง, เมือง 143 แห่ง, เทศบาล 1,491 แห่ง, และหมู่บ้านหรือบารังไก 42,028 แห่งนอกเหนือจากนี้ ได้มีการจัดตั้งแขตการเมืองพิเศษแยกออกมาต่างหาก ซึ่งประกอบด้วย
                - เขตนครหลวงแห่งชาติและหน่วยงาานพัฒนามะนิลา ซึงประด้วยเมือง 16 แห่ง และเทศบาล 1 แห่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเริมการประสานงานและความมีประสทิะิภาพในการให้บริการในเขตนครหลวง
                - เขตปกครองอิสระในชุมชนมุสลิมมินดาเนา ซึ่งประกอดบ้วยจังหวัด 5 จังหวัด รวมตัวกันเพื่อตอบสนองปัญหาเฉพาะด้านสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ดังกล่าว
                 - เขตบริหารพิศษในชุมชนคอร์ดิลเลร่า ประกอบด้วยจังหวัด 5 จังหวัด
             รูปแบบการปกครองท้องถิ่น การปกครองท้องุถิ่นของประเทศฟิลิปปิส์ในปัจจุบัน มีการจัดโครงสร้างเป็นระบบ 3 ชั้น ซึ่งประกอบด้วย จังหวัด เมืองและเทศบาล และหมู่บ้านหรือบารังไก อย่างไรก็ตามในกรณีที่เป็นเมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง ตามที่กฎหมายกำหนด หรือเมืองที่กฎหมายห้ามมิใหผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งลงคะแนนเลือกเจ้าหน้าที่ของจังหวัด หรือที่เรียกว่า เมืองที่เป็นอิสระ จะไม่ได้อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด แต่กฎหมายกำหนดให้ขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอุ่ินในระดับกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็หน่วยการปกครองท้องถ่ินในระดับบลน ซึ่งเป็นระบบการปกครองท้องถ่ินแบบ 2 ชั้น
             - จังหวัด เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินระดับบนสุด ปัจจุบัยมีจำนวนทั้งสิ้น 80 จังหวัด ขึ้นตรงต่อประธานาธิบดีหรือรัฐบาลกลาง มีอำนาจในการกำกับดูแลเทศบาลและเมืองในเขตพื้นที่ท่ี่รับผิดชอบ เพื่อให้แน่ใจว่าการดำเนินการของเมืองและเทศบาลในความรับผิดชอบอยู่ในชขอบเขตอำนาจและภาระหน้าที่ของแต่ละองค์กร ตามีได้กำหนดไว้หรือไม่ ทั้งนี้ เมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง และเมืองที่เป็นอิสระจะมีความเป็นอิสระจากจังหวัด กล่าวคือ ไม่ต้องขึ้นตรงกับจังหวัด แต่จะขคึ้จรงกับรัฐบาลกลาง
             จังหวัดแต่ละจังวหวักจะมัผุ้ว่าราชการจัวหวัดที่มาจากากรเลือกตั้งดดยตรงจากประชานทำน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่าบริหารและมีสภาจังหวัดที่มีชื่อเรียกเป็นภาษาฟิลิปปินส์ว่า แซงกูเนียง พันลาลาวิแกน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน  เช่น เดี่ยวกับ กระทำหน้าที่ท่างฝ่ายนิติยบัญญัติ และอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในจังหวัด  ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของจังหวัดโดยการพิจารณาจากรายได้ต่อปีของจังหวัด
             - เมือง เมืองเป็นหนึ่งในหน่วยงการปกครองท้องถ่ินของฟิลิปปิสน์ปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 143  แห่ง มีอำนาจเหนือบารังำก ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุด ในกรณีที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวด เมืองจะมีสถานะเป้นหน่ยการปกครองชั้นที่ 2 รองจากจังหวัด แต่ถ้าเมืองที่เป็ฯอิสระจากจังหวัดยังมีความรับผิดชอลในการให้บริการพื้นฐานต่าง เช่นเดี่ยวกับเทศบาลทั้งหลายอีกด้วย เช่น ตำรวจ ดับเพลิง การจัดการสาธารณประโยชน์ ทั้งหลายในเขตพื้นที่ การรักษาความสะอาด และบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่ใช้เงินงลบประมาณของเมือง เช่น ดรงเรียนมัธยม โรงพยาบาล และสวนสาธารณะ ประเภทของเมืองแบ่งเป็น
                 เมืองในเขตชุมนหนาแน่นสูง คือเมืองที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่อย่างน้อย 200,000คน โดยมีคำรับรองจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ และจะต้องมีรายได้ยอ่งน้อยปีละ 50 ล้าเปโซ โดยมีการับรองจาเหรัญญิกประจำเมือง ในปัจจุบลันเืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูงมีจำนวนทังสิ้น 33 แห่ง ซึ่งในจำนวนดังกล่าวมีเมืองที่ตั้งอยู่ในเขตมหานครมะนิลา 16 แห่ง
                เมืองที่เป็นอิสระ คือ เมืองที่กฎหมายห้ามิให้ผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผูว่าราชการจังหวัด และตำแหน่งทางการเมืองอื่นๆ ในระดับจังหวัด รวมทั้งมีความเ็นอิสระไม่ต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด
                เมืองที่อยู่ภายใต้การกำกับของจัวหวัด คือ เมืองที่ไม่ได้อยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ต่างๆ ดังเช่นเืองที่กล่าวมาในข้างต้นเมืองประเภทนี้กฎหมายกำหนดให้ประชานมีสิทธิเลือกตังตำแหน่งทางการเมืองในระดับจัวหวัดได้ ทั้งนี้ ถ้าเมืองใดตั้งอยู่บนพรมแดนของจังหวัดตั้งแต่ 2 จังหวัดขึ้นไป ให้ถือว่าเป็นเมืองที่อยุ่ภายใต้การกำกับดูแลของจัวหวัดที่เมืองนั้นเคยเป็นเทศบาลมาก่อน ส่วนรูปแบบการบริาหรของเมืองทุกประเภทนั้นจะประกอบด้วยฝ่ายบริหารและฝ่านนิติบัญัติที่มาตจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน หัวหน้าฝ่ายบริหารของเมือง เรียกว่านายกเทศมนตรี ส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเมือง นั้น จะมีรองนายกเทศมนตรีเป็นประธาน ทุกๆ 3 ปีจะมีการจัดลำดับชั้นของเมืองใหม่ โดยพิจารณาจากรายได้
             - เทศบาล เทศบาล หรือบาที่ก็เรียกว่า มูนิสซิปะโย ในภาษาตากาล็อค เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการกครองนองและมีความเป็นอิสระจากรัฐบาลกลางเช่นเดี่ยวกับจังหวัดและเมือง โดยรัฐบาลมีหน้าที่เพียงให้ความช่วยเหลือและดูแลการปกครองท้องถ่ิน เพื่อให้แน่ใจว่าเทศบาลไม่ได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายของประเทศ เทศบาลจะกำกับดูแลปมู่บ้านหรือบารังไกในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอลเช่นเดี่ยกับเมือง ทั้เงี้  นอกจาเทศบาลจะเป็นหน่วยย่อยทางการเมืองของรัฐ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในกาจัดลบริการแก่ท้องถิ่นบังคับใช้กฎหมายทั้งกฎหมายของประทเศและกฎหมายเกี่ยวกับกิจการของท้องถ่ิน และทำหน้าที่อื่นซึ่งรัฐบาลกลางหรือรัฐสภากำหนดเป็นกฎหมายให้ปฏิบัติลแ้ว เทศบาลยังมีสถานะเป็นจิติตบุคคล โดยสามารถดำเนินากรทำสัญญา และการติดต่อร่วมลทุนทางธุรกิจกับเอกชน รวมถึงหารายได้จากากรจัดเก็บภาษีท้องถ่ิน
                เทศบาลมีการแบ่งอำนาจการปกครองออกเป็นฝ่ยบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติ และมีการตวนจสอบถ่วงดุลซึ่งกันและกันซึ่งใีควาชัดเจนกว่าการถ่วงดูลกันระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ยนิติบัญญัติในระดับชาติ ส่วนอำนาจทางฝ่ายตุลากรนั้นอยุ่ที่อำนาจของศาลในระดับประทเศ
                เทศบาลมีนายกเทศมนตรี ที่มาจาการเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน ทำหน้าที่เป็ฯหัวหน้าฝ่ายบริหารส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเทศบาล ก็มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชนเช่นกัน มีรองนายกเทศมนตรีที่ทำหน้าที่เป้นประธนสภาเทศบาล
               เมื่อเทศบาลมีขนาดใหญ่ขึ้นก็สามารถขยับฐานะขึ้นไปเป็ฯเมืองได้ โดยสภาคองเกรศออกเ็นกฎหมายเสอนไปยังประธานาธิบดี หลังจากนั้นจึงให้ประชาชนลงประชามติว่าจะยอมรับความเป้นเมืองหรือไม่ ข้อดีประการหนึ่งของการเป็นเมืองก็คือจะทำให้ได้รับวลประมาณเพ่ิทขึ้น แต่ท้งนี้ประชาชนก็ต้องเสียภาษีมากขึ้นเช่นกัน และเช่นเดียวกัน ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของเทศบาล ดดยพิจารณาจากรายได้ต่อปีของเทศบาล
              - หมู่บ้านหรือบารังไก ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้บารังไกเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอถ่ินในระดับที่เล็กที่สุดซึ่งปัจจุบับยประเทศฟิลิปปินส์มีหน่วยการปกครองระดับนี้อยู่ทั้งสิ้น 42,028 แห่งทั่วประเทศ ทั้งนี้ปรธานาธิบดีแมกไซไซเคยกล่าวไว้ว่า "บารังไกเปรียบเสมือนรากหญ้าของการปกครองระบอบประชาธิปไตยของฟิลิปปินส์ เพราะเป็นหน่วยการปกครองระดับย่อยที่มีความผุกพันและใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด"
                บารังไกเป็นหน่วยกาปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการปกครองตนเอง โดอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของเมืองหรือเทศบาลบารังไกเกิดขึ้นโดยรัฐสภาออกเป็นกฎหมาในกาจัดตัเ้งหรือพระราชบัญญัติที่ออกโดยสภาจัวหวัดหนือสภาเมือง และด้วยความเห็ฯชอบจากสภาเทศบาล ดดยบารังไกจะต้องอยู่ในเขตเมืองหรือเทศบาล และภายในบารังไกโดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทยังได้มีการแบ่งพื้นที่ออกเป็หน่วยย่อยๆ เรียกว่า บูร้อก และซิติโอ แต่ภายในหน่ยย่อยเหล่านี้ไม่มีผุ้นำที่มาจากากรเลอตั้งอย่งเป็นหทางการ ทั้งนั้ บารังไกหนึ่งๆ จะจ้องมีจำนวนประชกรตั้งแต่ 500 ครัวเรือนขึ้นไป กต่ไม่เกิด 1,000 ครัวเรือน จึงจะตั้งขึ้นเป็นบารัไกได้
            ส่วนรูปแบบการบริาหรงานของบรังำกนั้นประกอบด้วยฝ่ยบริหารท่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงของประชาชน จะมีปูนง หรือหัวหน้าบารังไก ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริาหรของบารังไก ส่วยฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาบารังไก จะประกอบด้วย สมาชิกสภา หมู่บ้าน ที่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากปรชาชนจำนวน 7 คน และประธานสภาเยาวชน จำนวน 1 คน รวมเป็น 8 คน โดยมีบูนังหรอหัวหน้าบารังไกทำห้าที่เป็นประธาน ในส่วนของการแห้ปัญหาความขัแย้งภายในบารังไกนั้น ได้มีการจัดตั้งระบบยุติธรรมระดับบารังไก หรือมีที่ชื่อเรียกในภาษา ฟิลิปปินส์ว่า คาตารุงกัง ปัมบารังไก ขึ้นมาโดยเฉพาะ ซึ่ประกอบไปด้วย คณะบุคคลที่เรียกว่า ลูปอง ทากาปารมายาปา หรือ ลูปง ซึ่งอาจแปลง่ายๆ ว่า คณะกรรมการแสวงหาสันติภาพ มีจำนวน 10-20 คนทำน้าที่เป็นกรรมการ และมีประะานคณะกรรมการอีก 1 คน คาตารุงกัง พัมบารังไก คือ ระบบการแก้ปัญหาข้อพิพาท ณ หน่วยที่เป้ฯพื้นฐญานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของรัฐ นั่นคือระดับบารังไกหรือปมู่้าน ระบบนี้เป็นระบบยุติธรรมที่ยึดแนวทางของการปรึกษาหารือการสานเสวนา การเจรจาไกล่เหลี่ย หรือการประนีประนอม ทั้งน้ มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะบรรลุข้อตกลงอย่างแันท์มิตร แทนการนำคดีความและข้อพิพาทต่างๆ เข้าสู่กระบวนกาพิจารณาของศาล
           เนื่องจากบารังไกเป็นหน่วยการปกครองที่อยุ่ใกล้ชิดกับประชาชมากที่สุ บารังไกจึงถูกออกแบบให้เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่พึ่งตนเอง กระทำหน้าที่ในการพัฒนาชุมชน สภาบารังไกมีอำนาจในการหารายได้เพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน เช่น อำนาจในการเรียกเก็บภาษี เป็นต้น
            โครงสร้างภายในหน่วยการปกครองท้องถิ่น การจัดโครงสร้างภายในของหน่วยการปกครองท้ถงิ่นของประเทศฟิลิปปินส์ทั้ง 4 รูปแบบจะมีการแยกกันอย่างชัดเจนระหว่างฝ่ายนิติรบัญญัติ(ซึ่งจะมีสภของท้องถ่ินโดยที่สามาชิกสภาจะมาจากการเลือกตั้งและฝ่วบริาหรจะมีผุ้ว่าราชการจังหวดสำหรับการปกครองท้องถ่ินในระดับจังหวัด ส่วนเมืองและทเศลบาลจะมีนายกเทศมนตรีเมืองและนายกเทศมนตรีเทศบาล ขณะที่ในระัดบบารังไกจะมีบูนังหรือ หัวหน้าบารังำก โดยปกติแล้วการจัดโครงสร้างภานในของหน่วยการปกครองท้องถิ่นของฟิลิปปินส์จะมีระบบการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจซึ่งกับและกันระหว่างฝ่ายบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเห็นได้ชัดซึ่งอาจถือได้ว่ามีควมชัดเจินมากกว่าในระดับชาติเสียอีก
             - ฝ่ายบริหารท้องถิ่น ในการดำเนินงานและการบริหารจัดการต่างๆ เกี่ยวกบกิจการในท้องถิ่นเป็นภารกิจหลักของทางฝ่ายบริาหร ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกกำหนดให้เป็นห้าที่ของผุ้นำของฝ่ายบริหาร หรือหัวหน้าฝ่ายบริหารของหการปกครองท้องถ่ินในแต่ละระดับ ได้แก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัดนายกเทศมนตรีเมือง นายกเทศมนตรีเทศบาล และบูนังหรือหัวหน้า บารังำก ทั้งนี้ ตามประมวลกฎมหายการปกครองท้องถิ่นปี ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้หัวหน้าฝ่ายบริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาล มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบคล้ายคลึงกัน ดังนี้
                    - ควบคุมดุแลการดำเนินงานและการให้บริการต่างๆ ภายในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
                    - บังคับใช้กฎหมายและพระราชกำหนดที่เกี่ยวข้องกบกิจการของท้องถิ่นในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบและการนำนโยบายต่างๆ ออกไปปฏิบัติบรรลุผล
                     - การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
                     - การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
                     - การจัดบริการขึ้นพี้นฐานและจัดให้มีสาธารณูปโภคที่เพียงพอ
                     - ทำหน้าที่หรือให้บริการอย่างอื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
                  ในส่วนของอำนาจหน้าที่ของหัวหน้าฝ่ายบริหารในระดับบารังไกหรือบูนังนั้น ตามประมาบกฎมหายการปกครองท้องถ่ินได้กำหนดให้บูนังหรือผุ้นำในระดับบารังไกมีอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ดังนี้
                      - บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการของบารังไก
                      - เจรจาและลงนามในสัญญาในนามของบารังไกโดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
                      - เป็นประธานในที่ประชุมสภาปมู่บ้าน
                      - แต่งตั้งหรือถอดถอนเจ้าหน้าที่เหรัญญิกซึ่งเป็นผุ้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของบารังไก ตลอดจนเจ้าหน้าที่อื่นๆ ในบารังไก โดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
                      - เป็นผุ้อนุมัติใบสำคัญที่เกี่ยวกับการใช้จ่ายของบารังไก
                      - บังคับใช้กฎหมายหรือข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวกับการควบคุมมลภาวะและการปกป้องคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
                       - การจัดให้มีบริการขั้นพื้นฐานและส่งเสริมสวัสดิการทั่วไปของประชาชนในบารังไก
                       - เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมกับสภาเทศบาลในเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการของบารังไก
                       - ทำหน้าที่อื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
                     ฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่น โดยทั่วไปสภาท้องถิ่นไม่ว่าจะเป้น สภาสังหวัดสภาเมือง สภาเทศบาล และสภาบารังไก จะกระทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัติและอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นตามปกติแล้วสภาท้องถิ่นของหน่วยการปกครองท้ถงอถ่นิตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาลจะประกอบด้วย ประธานสภาซึ่งมีรองผุ้ว่าราชการจังหวัด หรือรองนายกเทศมนตรีเมือง หรือรองนายกเทศมนตรีเทศบาลเป็นประธาน และสมาชิกสภาของท้ถงอ่ินที่มาจาการเลือตั้งของประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน นอกจากนั้นสมาชิกของสภาท้องถ่ินแต่ละระดับยังประกอบด้วยตัวแทนที่เป็นประทธานสมาคมบารังไก ประธานสภาเยาวชน ประธานสหพันธ์สมาชิกสภาเมืองและเทศบาล (เฉพาะในกรณีของจัวหวัดเท่านั้นป รวมทั้งตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ 3 ภาคส่วน จำนวนรวม 3 คน ได้แก่ ตัวแทนจากกลุ่มผุ้หญิง 1 คน ตวแทนจากกลุ่มผุ้ใช้แรงงานในภาคเกษตรกรรรมและอุตสาหกรรม 1 คน และตัวแทนจากกลุ่มคนชายขอบ 1 คน ในส่วนของสภาบารังไกจะประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความแตกต่างจากสภาจัวหวัด สภาเมืองปละสภาเทศบาล โดวสภาบารังไกจะมีบูนังหนือหัวหน้าบารังไกทำหน้าที่เป็นประธาน และยังประกอบด้วยสมาชิกสภาบารังไกที่มาจากการเลือกตั้งจำนวนส 7 คน และประธานสภาเยาวชน
                    อำนาจหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่นโดยทั่วไปมีดังนี้
                     - ออกและบังคับใชข้อบัญญัติและมติเกี่ยวกับกิจการของท้องถิ่น
                     - ส่งเสริมแนวทางในการแสวงหารายได้เพื่อนำปพัฒนาท้องถิ่น
                     - ส่งเสริมสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นผ่านการออกข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่นๆ
                     - ออกข้อบัญญัติที่ส่งเสริมในเรื่องบริการและส่ิงอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานของประชาชนในท้องถิ่น
                  องค์ประกอบของระบบการปกครองท้องถิ่น 
                  เกณฑ์การจัดตั้งและการยกฐานะ การจัดตั้ง การแบ่งแยก การรวมเข้าด้วยกน การยุบเลิกหรือการเปลี่ยนแปลงเขตของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือบารังไก จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขสำคัญ 3 ประการ คือ
                   - จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น
                   - จะต้องได้รับความเห็นชอบจาเสียงส่วนใหญ่ของประชาชนผุ้ซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงในการลงประชามติ
                   - จะต้องไม่ทำให้จำนวนประชากร เขตพื้นที่ หรือรายได้ของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือ บารังไกเดิมลดลงต่ำกว่าที่กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์
                 ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ 3 ประการ ในการใช้เป็นหลักเกณฑ์สำหรับการจัดตั้งและการยกฐานะหน่วยการปกครองท้องถิ่นจากระดับหนึ่งสู่อีกระดับหนึ่ง ได้แก่ รายได้ จำนวนประชากร เขตพื้นที่ อย่างไรก็ดี ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดตั้งหน่วยการปกครองท้องถิ่นแต่ละรูปแบบเอาไว้ในประมวลกฎหมายปกครองท้องถิ่น
                ภารกิจและอำนาจหน้าที่ 
                ภารกิจและหน้าที่ของจังหวัด
                  - การส่งเสริมการเกษตรและการบริการวิจัยในพื้นที่ซึ่งรวมถึงการป้องกันและควบคุมโรคพืชและสัตว์ ฟาร์มนมตลาดสัตว์ สถานรีผสมพันธุ์สัตว์ และการช่วยเหลือในการจัดตั้งสหกรณ์สำหรับเกษตรกรและชาวประมง หรือองค์กรอื่น รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                  - บริการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม รวมทั้งการถ่อยทอดเทคโนโลยี
                  - ภายในกรอบนโยบายของชาติและการกำกับดูแลของกระทรวงสิ่งเวแดล้อมและทรัพยากรธรรมชาิต จังหวัดมีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายป่าไม้ที่เกี่ยวกับป่าชุมชน กฎหมายควบคุมมลภาวะกฎหมายเหืองแร่ขนาดย่อม และกฎหมายอื่นๆ ที่ใช้ปกป้องสภาพแวดบล้อม และโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดย่อมในเขตพื้นที่
                 - บริการสนับสนุนการลงทุน ซึ่งรวมถึงการเข้าถึงแหล่งเงินกู้, ปรับปรุงบริการข้อมูลภาษีอากรและการเก็บภาษีโดยใช้คอมพิวเตอร์
                 - บริการโทรคมนาคมระวห่างเทศบลาลภายในกรอบนโยบายของรัฐ,โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
                ภารกิจของเมือง
                 - บลริการที่เทศบาลและจังหวัดดำเนินการทั้งหมดและการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารและคมนาคมที่เพียงพอ,สนับสนุนการศึกษ การตำรวจ และการดับเพลิง
                ภารกิจของเทศบาล
                - บริการและการอำนวยความสะดวกเรื่องการส่งเสริมการเกษตรและการวิจัยในพื้นที่ที่เกี่ยวกับงานเกษตรกรรมแลการประมง ซึงรวมถปถึงการแจกจ่ายพันธุ์และพันธ์ุพืช สวยสมุนไพร สวนเพาะพันธุ์พืช หาร์มสาธิต การควบคุมคุณภาพผลผลิต ระบบชลประทานระหว่างหมู่บ้าน โครงการใช้ทรัพยากรและอนุรักษ์ดินและน้ำการบังคับใช้กฎหมายประมงในน่านน้ำเทศบาล รวมทั้งการอนุรักษ์ป่าชรายเลน
                - เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติและขึ้นกับกระทรวงสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เทศบาลดำเนินการโครงการป่าชุมชน จัดการและควบคุมป่า ซึ่งมีพื้นที่ไม่เกิน 50 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งสวนเขตพื้นที่สีเขียว และดครงการพัฒนาป่าไม้อื่นๆ
                - ภายใต้กรอบระมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น จัดลริการสุขภาพซึ่งวมถึงโครงการสาธารณสูขมูลฐานการดูแลแม่และเด็ก การควบคุมโรคติดต่อ การจัดบริการอนามัย
                - การจัดสวัสดิการสังคม ซึ่งรวมถึงโครงการสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน ครอบครัว สตรี ผุู้งอายุ คนพิการ โครงการฟื้นฟูชุมชน สำหรับบุคคลเร่ร่อน ขอทาน เด็กกลางถนน เด็กเหลือขอ ผุ้ติยา และโครงการสำหรับผุ้ยากไร้อื่น บริการโภชนาการและวางแผนครอบครัว
                - บริการข่าวสารข้อมูลซึ่งรวมถึงข้อมูลเร่องการลงทุนและหางานข้อมูลเกี่ยวกบระบบภาษีอากรและการตลาด และห้วอสมุดสาธารณะ
                - ระบบกำจัดขยะและการจัดการสภาพแวดล้อมรวมทั้งระบบและสิ่งทำนวยความสะดวกด้านสุขภาพอนามัย
                - อาคารเทศบาล ศูนย์วัฒนธรรม สวนสาธารณะรวมถึงสรามเด็กเล่น อุปกรณืและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการกีฬาและอื่นๆ โครงสร้างพื้นฐานซึ่งตอบสนองความต้องการของผุ้อยู่อาศัยในเทศบาล เช่นถนนและสะพาน ชุมชน โครงการแหล่งน้อขนาดย่อมบ่อน้ำ
                - ระบบการเก็บน้ำผนและการประปา การระบายน้ำการควบคุมน้ำท่วม สัญญาจราจรและถนน และอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน, ตลาดสาธารณะ โรงฆ่าสัตรว์ และกิจการเทศบาลอื่น, สุสานสาธารณะ, สิ่งอำนวยควาสะดวกด้านการท่องถิที่ยว ซึ่งรวมถึงการอกกฎระเบียบและกำกับดูแลกรดพเนินธุรกิจและบริการรักษาความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง, สถานีตำรวจและดับเพลิง สถานีย่อย และที่คุมขัวของเทศบาล
                ภารกจิของปมู่บ้านหรือบารังไก
                - บริการสนับสนุนการเกษตร ซึงรวมถึงระบบแจกจ่ายวัสดุเืพ่อการเพาะปลูก และการจัดารสถานีผลิตรวบรวมแลซื้อผลิตผลการเกษตร, บริหการสุขภาพและสวัสดิการสังคมซึ่งรวมถึงการรักษาดูแลศูนย์อนามยและศูนย์ดูแลเด็กของหมู่บ้าน, บริการและการอำนวยความสะดวกซึ่งเงกี่ยวกบสุขอนามัย การสร้างความสวยงาม แฃะการเก็บขยะ
              - การบำรุงรักษาถนน สะพาน และระบบส่งน้ำ, โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ศาลอเนกประสงค์ทางเดิน ศูนย์กีฬาและอื่นๆ , ศูนย์ข้อมูลและที่อ่านหนังสือและตลาด
                ระบบภาษีและกาีคลังของ้องถ่ิน
                ภาษีและรายได้ของ้องถิ่น ตามประมวลกฎหมายการปกครองทอ้งถ่ินได้กำหนดให้หน่วยการปกครองท้องถ่ินแต่ละระดับมีอำนาจที่จะกำหนดแหล่งที่มาของรายได้ อัตราภาษีค ค่าธรรมเนียม และค่าบริการของท้องถ่ินได้เอง ทั้งนี้ ภาษีอากร ค่าะรรมเนียม และค่าบริการที่ท้องถ่ินจัดเก็บได้ดังหลาว ให้ถือเป็นรายได้ของแต่ละหน่วยการปกครอง ท้องถ่ิน โดยมีหลัการพื้นฐานในการจัดเก็บดังต่อไปนี้
              - การจัดเก็บภาษีของหน่วยการปกครอง้ถงอถ่ินในแต่ละระดับ จะต้องเป็นไปในรูปแบบเดี่ยวกัน
              - ภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และรายได้อื่นๆ จะต้องมีลักาณะดังนี้ เป็นธรรมและสอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายภาษีของผุ้เสียภาษี ต้องเป้นการจัดเก็บไปเพื่อสาธารณะประโยชน์เท่านั้น, ไม่ปรับเปลี่ยนง่าย ไม่มาเกินไป ไม่เป็นการกดขี หรือไม่เป็นการบังคับ, ไม่ขัดต่อกฎหมาย นโยบายสาธารณะ นโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือเป้นการกีอกันทางการค้า
              - การจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการและรายได้อื่นๆ ของท้องถ่ิน จะต้องไม่อยู่ในอำนาจของเอกชน
              - รายได้ซึ่งได้จากภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และอื่นๆ ต้องเป็นไเพื่อประโยชน์ของหน่วยการปกครองท้องถ่ินวึ่งเป็นผุ้จัดเก็บและหากเป็นไปได้ให้ใช้อัตราภาษีก้าวหน้า...
                 การบริหารการคลังท้องถิ่น การบริหารด้านการคลังของท้องถิ่นเป็นไปตามหลัการพื้นฐานภายใต้ประมวบกฎมหายการปกครองท้องถิ่น ดังนี้
              - ห้ามจ่ายเงินท้องถ่ินเว้นแต่ที่กำหนดโดยกฎหมาย ,การใช้จ่ายของท้องถ่ินต้องเป็นไแเพื่อประโยชน์สาธารณะเท่านั้น, รายได้ท้องถิ่นต้องมาจากแหล่งเงินที่กำหนดไว้ชัดเจนตามกฎมหาย และต้องมีการรับรู้การเก็บภาษีอย่างเหมาะสม, เงินทุกประเภทที่พนักงานท้องถ่ินได้รับมาอย่างเป็นทางการทั้งจากฐานะตำแหน่งหรือในโอกาศที่เป็นทางการ ต้องถือว่าเป็นเงินทุนท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่กำหนดไว้ตากฎหมาย, ห้ามใช้จ่ายเงินจากกองทุนของท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนดังกล่าว, พนักงานทุกคนของหน่ยการปกครองท้องถิ่นซึ่งมีหน้าที่เก็บรักษาหรือดูแลกองทุนให้ปลดอภัยและสอดคล้องกับกฎหมาย, รัฐบาลท้องถิ่นจะมีแผนการคลังที่ดีและวงประมาณท้องถิ่นต้องเป้นไปตามหน้าที่ กิจกรรมและโครงการให้สอดค้องกับผลที่คาดหวัง, เป้ามหายและแผนท้องถ่นต้องสอดคล้งกับแผนเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติเืพ่อให้หใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้มากที่สุดและหักเลี่ยงความซ้ำซ้อนในการใช้ทรัยากรการเงินและวัตถุ, งบประมาณท้องถิ่นจะต้องสับสนุนแผนกพัฒนาท้องถิ่น หน่วยการปกครองท้องถิ่นจะต้องประกันว่างวบประมาณของตนเป็นไปตามเงื่อนไขความต้องการของหน่วยย่อยของตน และมีการกรจายพทรัพยากรระหว่างหน่ยย่อยอย่งเท่าเที่ยมกัน, การวางแผนระดับชาติต้องพิจารณรจากากรวางแผนท้องถ่ินเพื่อประกันว่ากความต้องการและความปรารถนาของประชาชนซึ่งหน่วยการปกครองท้องถ่ินระบุไว้ไดรับกาพิจารณในการกำหนดวบประมาณสำหรับส่วนราชการของรัฐ, ต้องมีความรับผิดชอบร่วมกันทางการเงินระหว่งผุ้ที่มีอำนาจในการเงิน การถ่ายโอน และการดำเนินการของหน่วยการปกครองท้องถิ่น, หน่วยการปกครองท้องถ่ินจะต้องใช้ความพยายามเพื่อให้เกิดงบประมาณสมดุลในแต่ละปีงบประมาณ
             การบริหารงานบุคคลของการปกครอง หน่วยการปกครองท้องถ่ินทุกระดับจะต้องมีการจัดวางโครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ของตนเอง โดยคำนึงถึงความจำเป้ฯในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน รวมทั้งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานขึ้นต่ำและแนวทางที่คณะกรรมการข้ารตาชการพลเรือนกำหนด การบริหารงานบุคคลท้องถ่ินของประเทศฟิลิปปินส์อาจมีความแตกต่างกันออกไปตามแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่ินบางแห่งนายกเทศมนตรีตั้งคณะกรรมการบริาหรงานบุคคลดูแลบางแห่งนายกเทศมนตรีดุแลเอง และเนื่องจากมีการบริหารงานบุคคลแยกจากกัน การโอนย้ายระหว่างทองถ่ินจึงทำได้ยาก เงินเดือนค่าตอบแทน ก็ต่างกันออกไป ถึงแม้จะมีโครงสร้างระดับเงินเดือนกลางแต่ท้องถ่ินก็เลือกใช้ได้ภายในกรอบ ผลคื อท้องถ่ินที่มีฐานะดีก็สามารถจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานของตนได้ดี  ส่วนท้องถ่ินที่มีานะดีก็สาารจ่ายค่าตอบแทนใหแก่พนังกานของนไดด้ดี สวนท้องถ่ินยากจนำ็มไ่สามรถจ่ายค่าตอบแทนได้สูง การขึ้นเงินเดือนขึ้นกับความสามารถในการจ่ายเงินของท้องถ่ินแต่ละแห่ง
            การบริหารงานบุคคลที่เป็นอยู่ไม่ส่งเสริมให้มีการเปลี่ยนขันเลือนตำแหน่ง เพราะเป็นระบบที่แต่ละหน่วยการปครองท้องถิ่นดำเนินการเองเป็ฯเอกเทศ มิใช่ระบบบริหารงานบุคคลระดบชาติอย่างเช่นประเทศไทย การโยกย้ายระหว่างหน่วยการปกคอรงท้องถ่ินจึมไม่มากนัก หากจะเป้นการยืมตัวก็ไปในระยะสั้น เช่น ไม่เกิน 3 เดือน ดังนั้น แม้มีกฎหมายกำหนดว่าข้าราชการที่ถูกส่งไปเป็นพนักงานท้องถ่ินจะได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าเดิม แต่ก็ไม่มีแรงจูงใจ เพราะการเปลื่นตำแหนงในแต่ละท้องถ่ินที่จำกัดมากจึงมีความพยายามให้มีการรวมอำนาจการบริหารบุคคลไปอยู่ที่ส่วนกลาง
             เจ้าหน้าที่ของหน่วยการปกครองท้องถิ่น จะประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ 2 ประเภท คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเมืองหรือเจ้าหน้าที่มี่มาจากากรเลือกตั้ง และเจ้าหน้าที่ฝ่ายประจำหรือเจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง ดังนี้
              - เจ้าหน้าที่ที่ทมาจากการเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งของหนวยการปกครองท้องถิ่นทุกแห่ง จะประกอบด้วย ตำแหน่งต่างๆ ทั้งในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติัญญัติ ฝ่ายบริหาร ได้แก่ ตำแหน่งต่างๆ ได้แ่ก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัด และรองผุ้ว่าราชการจังหวัด, นายกเทศมนตรีเมือง และรองนายกเทศมนตรีเมือง, นายกเทศมนตรีเทศบาล และรองนายกเทศมนตรีเทศบาล บูนัง หรือหัวหน้าหมู่บ้านตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าว จะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตของแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่น โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสมารถดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิดน 3 วาระ
                     ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ ตำแหน่งต่าง ดังนี้ สมาชิกสภาจัวหวัด, สมาชิกสภาเมือง,สมาชิกสภาเทศบาล, สมาชิกสภาบารังไก,สมาชิกสภาเยาวชนบารังไก ตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าวจะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสามาระดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิน 3 วาระ เช่นเดียวกบฝ่ายบริหาร
                      การดำเนินการทางวินัย เจ้าหน้าที่ที่มาจกากรเลือกต้งอาจถูกดำเนินการทางวินัย ถูกพักงาน หรือให้พ้นจากตำแหน่งในการณ๊ใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ ไม่จงรักภักดีต่อประทเศาสะารณรัฐฟิลิปปินส์ ไม่ซื่อสัตย์ กดขี ประพฤติตัวไม่เหมาสม ไม่สนใจในการปฎิบัติงานหรือการทอดทิ้งหน้าที่ กระทำความผิดทางศีลธรรมอย่างร้ายแรง หรือกระทำความผิดที่มีโทษถึงจำคุก ใช้อำนาจในทางที่ผิด การขาดงานโดยไม่รับอนุญาตเป็นเวลาเกินกว่า 15 วั ยกเว้น สำหรับกรณีของสมาชิกสภา จังหวัด สมาชิกของสภาเมือง สมาชิกของสภาเทศบาล และสมาชิกสภาบารังไก การรับสมัครหรือการได้รับสัญชาติ หรือมีที่อยู่อาศัย หรือมีสภาพเป็นผู้อพยพของประเทศอื่น เจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งที่กระทำความผิดในดรณีต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น อาจถูกให้พ้นจากดำแหน่งก็โดยคำสั่งของศาล
                     การถอดถอนออกาจากตำแหน่ง อำนาจในการถภอดถอนออกจากตำแหน่งอันเนื่องมาจากขาดความไว้วางใจ จะเป็นอำนาจของประชาชนผุ้มีสิทธิออกเสยงเลือกตั้งขององค์กรปคกรองสส่วนท้องถิ่นที่เลือกตั้งจากเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งในตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งอาจกระทำได้โดย จัดใไ้มีการประชุมในที่สาธารณะ เพื่อพิจารณาเสนอให้มีการถอดถอนเจ้าหน้าท่คนใดคนหนึ่งออกจาตำแน่ง รห ผุ้มีสิทธิออกเสียไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของผุ้มีสทิธิออกเสียงเลือกตั้งในเขตของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นๆ เสนอให้มีการถอดถอนออกจาตำแหน่ง คณะกรรมการเลือกตัั้งหรือผุ้แทจะพิจารณาตรวจสอบคำร้องหากเห็นว่าถูกต้องก็จะรับไว้พิจารณาต่อไป ในระหว่างนั้นคณะกรรมการการเลือกั้งหรือผุ้แทน จะประกาศรับมัครผุ้ที่มาดำรงตำแหน่งแทน โดยผุ้ที่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนจากตำแหน่ง ก้จะเป็หนึ่งในรายชื่อผุ้มีสิทธิที่จะได้รับเลือกตังใหม่ด้วย หลังจากนั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งจะดำเนินการเลือกตั้งผุ้ที่จะมาดำรงตำแน่งอทนผุ้ที่ถูกเสนอให้ถอดถอน
              การถอดถอนเจ้าหน้าที่ที่ทมาจาการเลือกตั้ง จะมีผลก็ต่อเมือได้มีการเลอกตั้งและประกาศผลการเลือกตั้งแล้ว โดดยผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งที่มีคะแนนสูงสุดเท่านั้นที่จะได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน ถ้าหากผุ้ที่เสนอให้ถอดถอนได้คะแนนสูงสุด ก็จะสามารถดำรงตำแหน่งต่อไป และจะไม่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนอีกไปจนครบวาระการดำรงตำแหนงของเจ้าหน้าที่นั้นๆ
              - เจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือตำแหน่งที่หน่วยการปกครองท้องถิ่นทุกประเภทต้องมีเหมือนๆ กัน และตำแหน่งที่จะมีเพ่ิมเติมตามความจำเป็นในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแตละหน่ยการปกครองท้องถิ่น นอกจากตำแหน่งที่จำเป็นหรืออาจจะต้องมีประจำตามหน่วยการปกครองท้องถิ่นแล้ว ตำแหน่งอื่นๆ หัวหน้าฝ่ายบริหารของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ินจะเป็นผุ้พิจารณาแต่งตั้งตามดครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลัเจาหน้าที่ของตนเอง ซึงจะพิจารณากำหนดโดยคำนึงถึงความจำเป้นในการให้บริการและควมสามรถทางการเงินของแต่ละหย่ายการปกครองท้องถ่ิน ส่วนการบรรุจุแต่งตั้งและการดำเนินการทางวินัยนัน จะต้องเป็นไปตามมาตฐานขึ้นต่ำและแนวทางทีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนกำหนด ยกเว้น การบรรจุแต่งตังลูกจ้างในกรณีฉุกเฉินหรือลูกจ้างชั่วคราว ไม่ต้องดำเนินการตามแนวทางที่คณะกรรมการข้าราชการพลเรือกำหนด



                                           - "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณะรัฐฟิลิปปินส์", ณัฐธิดา บุญธรรม, วิยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาับพระปกเกล้า, 2556.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)