วันเสาร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Austro-Asiatic languages

            ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดีย และบังกลาเทศ ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีกาแพร่กระจายตั้แต่อินเดีย บังคลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พุโภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกุลนี้เปนภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเแียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบรเวณนี้ได้แก่กระกูลอินโด-ยูโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและ จีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออกสโตรเอเชียติกอยุ่ในตะกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปสล ตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เพี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก
           
 นักภาษาศสตร์โดยทั่วไปจัดภาษานี้เป็นสองกลุ่มหญ่คือภาษากลุ่มมุนดาที่พบในอินเดียตะวันออกและอินเดียกลางบางส่วนของบังกลาเทศและภาษากลุ่มมอญ-เขร ที่พบในเอเชียตตะวันออกเแียงใต้ อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือและหมู่เกาะนิดโคบาร์จากภาษาในตระกุลน้ทั้งหมด 168 ภาษาอยู่ในกลุ่มมอญ-เขมร 147 ภาษาและอยู่ในกลุ่มมุนดา 21 ภาษาการแบ่งย่อยลงไปอีกมีความแตกต่างดังนี้
             - มุนดา มุนดาเหนือ( กอร์กู, เคอร์วาเรียน), มุนดาใต้ (คาเรีย-จวา, โกราปุต มุนดา)
             - มอญ-เขมร ภาษาเขมร, เปียริก, ภาษาในกลุ่มบะห์นาริก, ภาษากลุ่มกะตู, ภาษากลุ่มเวียตติก(รวมภาษาเวียดนาม)
             - มอญ-เขมรเหนือ ภาษากาสี(รัฐเมฆาลัย, อินเดีย), ประหม่อง, ขมุ,
             - มอญ-เขมรใต้ ภาษามอญ, อัสเลียน, นิโคบาร์  และยังมีการแบ่งดดยใช้ข้อมูลจากการใช้คำศัพท์ร่วมกัน...
             กลุ่มชติพันธุ์ในภาษาออสโตรเอเชียติก ประกอบด้วย
             - ส่วย ปลายพุทธศตวรรษที่ 19 ชาวกุยในแค้วนอัสสัมถูกรุกรานโดยชนเผ่าอนารยะจนบางส่วน
ต้องละทิ้งถ่ินฐานอพยพข้ามลงมาตามลำน้ำโขง เคยเป็นอาณาจักรหนึ่ง ถิ่นฐานเดิมอยู่างตอนเหนือของเมืองกัมปงธม ประเทศกัมพูชา ในราวพุทธศตวรรษที่ 20 เคยส่งทูตมาต้าขายกับอยุธยา เคยช่วยกษัตริ์เขมรปราบกบฎต่อมาเขมรได้ใช้อำนาจทางการทหารปราบชาวกูยและผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่งกับเขมร ด้วยความชอบความอิสระและชอบกาผจญภัย ได้อพยพขึ้นเหนือ เข้าสู่เมืองอัตตะบือแสนปแ แค้วนจำปาศักดิ์ และสารวัน ทางตอนใต้ของลาว แต่ก็ถูกเจ้าเมืองศรีสัตนาคนหุต (เมืองเวียงจันทน์) ประาบปรามและขับไล่จึงพากันอพยพตามแม่น้ำโขงมาตั้งรกรากอยู่แถบอิสานทางด้านแก่งสะพือ อำเภอโขงเจียม ได้แยกย้ายตั้งรกรากปลูกบ้านเรือนอยู่แถบนี้
           ชาวส่วยเรียกตัวเองว่า กูย, โกย หรือสวย แปลว่า "คน" ใช้ภาษา "กูย" เป็นเอกลักษณ์ในการสื่อสาร ชาวกุยนับถือศาสนาพุทธผสมและเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ เจ้สที่ ในชุมชนจะมีศาลผี,เจ้าที่ประจำหมู่บ้น ทุกหมู่บ้นเรียกวา่ "ผละโจ๊ะ" จะมีการบวงสรวงเจ้าที่เรียกว่า "แซนผละโจ๊"" (เซ่นผีหรือเจ้า)..การตั้งหลักแหล่งโดยส่วนมากจะพบ ตามลุ่มแม่น้ำโขงทุกๆ สายน้ำที่แตกสายน้ำออกไป เช่น อุบล ท่าตูม โพธิ์ศรีสุวรรณ เมืองจันทร์ ห้วยทับทัน ...
         
-ขมุ แปลว่า "คน" เป็นคำที่ชาวชมุใช้เรียกตนเอง คำว่าขมุ จึงเป็นทั้งชื่อของเผ่าและภาษาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึงเป็นแหล่งใหญ่ของชาวขมุมีคำที่เรียกว่าชาวขมุ อยู่ 2 คำคือ "ข่า" หมายถึง ข้า ทาส ผุ้รับใช้ เป็นคำที่คนลาวทัวไปใช้เรียกชาวขมุและชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษากลุมมอญ-เขมร แต่เป็นคำที่ชาวขมุไม่ยอมรับ มีอกีคำหนึ่งซ่งเป็นคำที่ทางรัฐบาลลาวใช้เรียกชนกลุ่มน้อยเชื้อสายมอญ-เขมร คือคำว่า ลาวเทิง "ลาวบนที่สุง" ซึ่งเป็นคำที่รวกลุ่มชนต่างไ ให้เป็นประชาชนลาว ดดยใช้คำว่าลาวเทิง เพื่อแยกให้ต่างจากคนที่พูดภาษาลาวแลตระกูลไทยอืนไ ที่นิยมอยู่ใจเขตที่ราบลุ่ม ซึงเรียกว่า ลาวลุ่ม และชาวม้งซึ่งเรียกว่า ลาวสุง นดยบายรวมพวกนี้เกิดจากการที่รัฐลบาลลาวเห็นความสำคัญของชนกลุ่มน้อยในประเทศซึ่งมีเป็ฯจำนวนมากและเป็นกำลังสำคัญของชาติในด้านต่างๆ ด้วยเหตุนี้ชาวขมุในลาวรวมทั้งชาวขมุที่อพยพเข้ามาใเมืองไทย บางรั้งจึงเรียกตนเองวาเป็น ลาวเทิงและภาษาลาวเทิง
             ชาวขมุ ตั้งถ่ิกระจายอยุ่ในพื้นที่กว้างในริเวณตอนเหนือของอาเซียนตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่ บริเวณทางเหนือของประเทไทย ทงเหนือของประเทศเวียดนาม ภาคเหนือของสาะารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และทางต้ของประเทศจีน  ชาวขมุแบ่งได้เป็นหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีลักษณะการใช้ภาษาและวัฒนธรรมความเป็นอยุ่ การปฏิบัติตน แตกต่างกันออกไปมากบ้งน้อยบ้างคำที่ใช้เรียกชาวขมุด้วยกันเองแต่ต่างกลุ่มกัน คือคำว่า ตม้อย และถ้าหากต้องการเจาะกลุ่ม ก็จะใช้ลักษณะเฉพาะของลุ่มนั้นๆ ต่อท้าย เช่น ตม้อยปูลว (ชาวขมุขากหมู่บ้านปูลวง), ตม้อยดอย(ชาวขมุจากเขตภูเขา)
             - ข่าพร้าว กล่มข่าพร้าวอพยพมาจากฝังซื้อยแม่น้ำโขง ในเขตจังหวัดดัตตะปือขอวลาว เข้ามาอยุ่ในเขตอำเภอชานุมานและเขมราฐ จ.อุบลราชธานี นอกจานี้ยังได้อพยพไปตั้งถ่ินฐานอยู่ในเขต จ.นครราชสีมาด้วย มักเรียกันว่า "ข่าตองออง"
            - ญัฮกุร หรือ เนียะกุล ชาวบนเรียกตนเองว่า "เนียะกุล" หรือ "ญัฮกุล" มีความหมายว่าคนภูเขา เป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ตามไหล่เขาหรือเนินเตี้ๆ แถบบริเวณด้านในของริมที่ราบสูงโคราช จ.นครราชสีมา จ.ชัยภุมิ และเพชรบุรณ์ ที่มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดชัยภุมิ อย่างน้อยสามชั่วอายุคนนอดีตมักมีการย้ายถิ่นที่อยู่ในบริเวณดังกล่าว แม้ปัจจุบันจะตั้งหลักแหลงที่แน่นอนแต่การไปมาหาสู่เยี่ยม
เียนและการนับเครือญาติในหมุ่ชาวบน ในบริเวณสามจังหวัด ยังคงมีอยู่ปัจจุบันชวบนอาศัยอยุ่หนาแน่นที่สุดที่บ้านน้ำลาด หมุ่ที่ 4 ต.นายางกลัก อ.เทพสถิตย์ จ.ชัยภูมินอกจากนี้บังมีที่บ้านวังกำแพง ในอ.บ้ายเขว้า บ้านท่าโป่ง บ้านห้วยแย้ อ.หนองวัวละเหว บ้านสะพานหิน บานสะพานยง อ.เทพสถิตย์ ..อ.ปักธงชัย จ.นคราราชสีมาแงะบ้านห้วยไคร้ อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
              ลักษณะชาวบน มีผิวค่อนข้างดำตาโตกว่าคนไทย แต่ไม่ต่างจากคนไทยมากนักรูปร่างสูงปานกลาง ผุ้หญิงจะหน้าตาดี การดำรงชีวิตของชาวบน ตั้งบ้านเรือนอยู่กันเป็นกลุ่ มีบางพวกอพยพหนีเข้าไปอยู่ในป่าลึกหรือบนภูเขาสูงขึ้นไป ชาวบ้านใช้แสงไฟจากตะเกียงเป็นส่วนใหญ่ อาศยแหล่งน้ำตามะรรมชาติอยู่ในบริเวณหมู่บ้าน ฤดูแล้งจะใช้น้ำซับซึ่งมีตลอดปี ชาวบนมีอาชีพทำไร่ปลูกข้าตามไหล่เขา...
  - ชอง คนชอง เป็นคนดั้งเดิมกลุ่มหนึ่งของดินแดจภาคตะวันออกของประเทศไทย อาศัยอยู่ในจ.ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตรด คนชองมีภาษาพุดที่เป็นเอกลักษณ์ คือ ภาษาชอง ซึ่งเป็นภาษาในตะรกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาเปียริก ปัจจุบันพบภาษาชองพูดกันมากที่สุดในเขตกิ่งอำเภอคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี ซึ่งแต่เดิมมีคนพูภาษาชองมาในอ.โป่งน้ำร้อน และอ.มะขาม จ.จันทบุรี..ชาวชองมีภาษาและวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว แต่ทว่าในปจจุบัน ภาษาและวัฒนธรรมชาวชองกำลังอยุ่ในภาวะวิกฤตเนื่องจากมีคนพุดภาษาชองเพียง 4-5 พันคนเท่านั้นรวมทั้งการขาดการสืบทอดจากคนรุ่นหลัง
             - ลัวะ เป็นกลุ่มชาติพันธ์หนึ่งที่อาศัียอยุ่ตามเชิงเขา ถูกจัดให้อบู่ในกลุ่มชาวไทยภูเขา ลัวะมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น ชาวม่านเรียกชนเผ่าถ่ินว่า ลัวะ ซึ่งเป็นคนละเผ่าพันธุ์กับลัวะในจ. เชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน นักมานุษยวิทยาได้จัดให้ชนเผ่าลัวะ อยุ่ในกลุ่่มภาษาออสโตรเอเชียติกสาขาย่อย มอญ-เขมร  ซึ่งอยุ่ในกลุ่มตระกูลภาษาเดรียกับชาวิ่ินชาวชมุ และมระบรี(ผีตองเหลือง)แต่ชาวลัวะเรียกตนเองว่า ละว้าหรือว้า ซึ่งเป็นชนชาติที่มีพื้นเพเดิมอยุ่ในแหลมอินโดจีน ดดยเฉพาะทงตอนกลางแหลมอินโดจีน โดยเแฑาะที่ละว้าปุระ คือ เมืองลพบุรีปัจจุบัน แล้วอพยพขึ้นไปทางเหนือโดยยึดลำน้ำปิงเป็น
แนวทางการเดินทาง พวกแรกๆ ได้อพยพขึ้น ไปตั้งถ่ินฐานอยุ่ตามฝั่งแม่น้ำคง(สาละวิน) ในรัฐไทยใหญ่  (รัฐฉาน)ของพม่า ส่วนพวกที่ตามมาที่หลังก็พากันตั้งถ่ินฐานกระจัด กระจายอยุ่ตามลุ่มแม่น้ำปิงในประเทศไทยเรียกพวา ว้าเชิ้ด ไทยเราเกรียกพวกนี้ว่า ลัวะ พวกลัวะส่วนใหญ่ตั้ง ภูมิลำเนา ที่บ้านเวียงหนองล่อง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน บ้านแม่เหียะ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่..คนลัวะผิวคล้ำกว่าคนไทยทั่วไป ผุ้ชายสูงประมาณ 160 เซนติเมตร ผู้หญิงสุงประมาณ 150 เซนติเมตร ใบหน้ากว้างแบนริมฝีปากหนา เส้นผมสีดำเป็นคลื่นแนบหนังศรีษะ ชอบเจาะหูเพื่อใส่ลานหู ผุ้ชายตัดมสั้น ผู้หญิงไว้ผมยาวเหล้ารวบเป็นมวยไว้ที่่ท้ายทอย ส่วนเด็กๆ โกรศรีษะหมด
              - ปะหล่อง เป็นชนกลุ่มน้อยพวกหนึ่ง นับเป็นหนึ่งใน 56 กลุ่มชาติพันธ์ในประเทศจีนนอกจานี้ยังีชาวปะหล่องอาศัยอยุ่ในประเทศพม่า และมีบางส่วนที่อพยพเข้ามาประเทศไทยบริเวณชายแดน ใกล้คอยอ่างชาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ชาวปะหล่องพูดภาาาตระกุลมอญ-เขมรเรียกว่า ภาษาปะหล่อง
             
ในปี ค.ศ. 1949 ชาวปะหล่องในประเทศจีน มีชื่อเรียกว่า Benglong ครั้นในปี ค.ศ. 1985 มีชื่อเรียกใหม่ว่า เต๋อะ อ๋าง ตามคำเรียกร้องของสมาชิกในกลุ่มชิตพันธ์ุ บ้านเรื่อนส่วนหใญ่ของชาวปะหล่องทำจากไม่ไผ่ แต่โครงเป็นไม้จริง ประตูหันหนาไปทางทิศตะวันออก แต่ละครอบครัวมีบ้านของตนเอง มักเป็นบ้านสองชั้น ผุ้หญิงปะหล่องแต่งกายแตกต่างกันไปตามท้องถิ่นปกติจะมีเสื้อกั๊กสีดำ หรือขาวทับด้านนอก ตกแต่งด้วยแถบกำมะหยี่หลากสี และนิยมนุ่งผ้าถุง ผู้ชายปะหล่องสวมเสื้อกั๊กสีชขาวหรือกรมท่า กางเกงขายาว ขาบานๆ นอกจากนี้ยังโพกศรีษะด้วยผ้าขาวหรือดำ ในบางท้องถิ่น ชาวปะหล่องยังนิยมสักบนร่างกายเป็นรูปเสือ นก หรือ ดอกไม้...(to be contineus)

วันศุกร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2560

The Languages

             ภาษาสวนใหญ่สามารถจะจำแนกให้อยู่ในตระกูลของภาษา ซึ่งจะเรียกว่า "กลุ่มภาษา" กลุ่ม
ภาษาที่มีการจักกลุ่มอย่างชัดเจน จะเป็นหน่วยทางวิวัฒนาการ กล่าวคือ ทุกสมาชิกจะสืบทอดมาจากบรรพบุรุษเดี่ยวกันส่วนใหญ่แล้ว ภาษาบรรพบุรุษมักจะไม่เป็นที่รู้จักโดยตรง เนื่องจากภาษาส่วนใหญ่จะมีระวัติของการเชียนสั้นมาก อย่างไรก็ดี เป็นไปได้ที่จะค้นพบคุณสมบัติต่างๆ ของภาษาบรรพบุรุษ โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบ เป็นวิธีการสร้างใหม่ที่คิดโดย นักภาษาศาสตร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 คือ เอากุสต์ ชไลเกอร์ ซึ่งสามารถแสดงถึงสถานภาพของกลุ่มภาษาของกลุ่มจำนวนมากที่จะได้กล่าวถึงต่อไป
            ตระกูลของภาษาสามารถแบ่งย่อยเป็นหน่วยที่เล็กลงไปอีก ซึ่งมักจะเรียกหน่วยย่อยว่า "สาขา" (เนื่องจากประวัติของกลุ่มภาษามักจะเขียนเปนแผนผังต้นไม้)
            บรรพบุรุาของกลุ่มภาษา (หรือสาขาของภาษา) เรียกวา "protolanguage" ได้เป็นภาษาที่รู้จักในสมัยประวัติศาสตร์ ด้วยเหตุนี้ ภาษาย่อยตามมณฑลชนบทต่างๆ ของภาษาละตินทำให้เกิดตระกูลภาษาโรมานซ์ปัจจุบัน ฉะนั้น ภาษาโปรโต-โรมานซ์จะค่อนข้างเหมือนกับภาษาละติน (ถ้าไม่ใช้ภาษาละตินที่นักเขียนคลาสสิกใช้เขียน) และภาษาย่อยของภาษานอร์สโบราณ เป็นบรรพบุรุษของภาษานอร์เวย์,ภาษสวีเดน, ภาษาเดนมาร์กและภาษาไอซ์แลนด์ ภาษาที่ไม่สามารถจัดได้อย่างแน่นอนลงไปในกลุ่มภาษาใดๆ เรียกว่า ภาษาโดดเดี่ยว language isolate
            กลุ่มภาษาในเอเชียตะวันออก, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบแปซิฟิก ประกอบด้วย
            ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของอินเดียและบังคลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินี่แปลว่า "ใต๋" และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีกดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมาถึงเอเชียใต้ ใบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอบ เป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็ฯภาษาทางการภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย
         
 ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังคลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผุ้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบต เป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระำูลออสดตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื้อว่า ภาษานี้
เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก
            นักภาษาศาสตร์โดยทั่วไปจัดภาษานี้เป็นสองกลุ่มใหญ่คือ ภาษากลุ่มมุนดา ที่พบในอินเดียตะวันออกและอินเดียกลางกับบางสวนของบังกลาเทศและภาษากลุ่มมอญ-เขมร ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือและหมู่เกาะนิโคบาร์ จากภาษาในตระกูลนี้ทั้งหมด 168 ภาษา อยู่ในกลุ่มมอญ-เขมร 147 ภาษาและอยู่ในกลุ่มมุนดา 21ภาษา
            ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผุ้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเแียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยุ่ใระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรป และตระกูลภาษายูราลิก คือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกุลได้
           คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกุลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจาม ที่ใช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือ ประมาณ 1 ใน 5 ของภาษที่รุจักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้
          ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็ฯสาขาหลักของภาษาในตระกุลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซ่าทั้งหมดอยุ่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซา
           ภาษาในตระกูลนี้มีผู้พูดมากกว่า 4 ล้านคนได้แก่ ภาษาชวา ภาษามลายู ภาษาซุนดา ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวโน ภาษามาลากาซี ภาษามาดูรา ภาษาอีโลกาโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาษานิมังกาเบา ภาษาบาตัก ภาษาบิโกล ภาษาบันจาร์ ภาษาบาหลี
           ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นภาษาราชการได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก ภาษามลายู ภาษามาลากาซี(มาดกัสการ์)  ภาษาเตตุม (ติมอร์-เลสเต), ภาษาฟิจิ (ฟิจิ), ภาษาซามัว (ซามัว), ภาษาตาฮี
ดี(เฟรนซ์โปลินีเซีย), ภาษาตองกา(ตองกา), ภาษากิลเบิร์ต (คิริบาส), ภาษามาวรี (นิวซีแลนด์), ภาษาชามอร์โร(กวมและหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา) ภาษามาร์แชลล์(หมู่เกาะมาร์แชลล์), ภาษานาอูฐ (นาอูฐ) ภาษาฮาวาย (รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา)
           ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่ามีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาเอเชียตะวันออก มีจำนวนผุ้พูดเป็นอันดับสองของโลกรองจากภาษากลุ่ม อินโด-ยูโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
            สมมติฐานจีน-ทิเบต ที่จัดภาษาจีนเข้าเป็นกลุ่มย่อยของกระกูลภาายาย่อยทิเบต-พม่า เพราะมีความสัมพันธ์ระหวางภาษาจขนกับภาษาทิเบต เช่นลักษณะคู่ขนานระหว่างภาษาจนโบราณกับภาษาทิเบตสมัยใหม่ และมีรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตามสมมติฐานนี้มี้อโต้แย้งคือความชัดเจนของรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกันระหว่างภาษาจีนกับภาษากลุ่มทิเบตยังไม่ชัดเจนพอและจากการสร้างภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมโดยใช้ข้อมุลจากวรรณคดีภาษาทิเบตและพม่า และข้อมุูลจากภาษาจิ่งโปและภาษาไมโซ พบว่าภาษาจีนมีลักษณะที่จะเป็นภาษาลุกหลานของภาษาทิเชต-พม่าดั้งเดิมน้อย สมมติฐานนี้จึงยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย
             ตระกูลภาษาไท-กะได หรือที่รู้จักกันในนาม กะได ขร้าไท หรือ ขร้า-ไท เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกุลภาษาไทกะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจะบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่งและยังมีผุ้เห็นว่าตระกูลภาษาไทกะไดนี้มีความสัมพันธืกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไทย" หรือ จัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก
           โรเจอร์ เลลนช์ ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทยมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทัี้งสองตระกุลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็ฯพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะได อาจเป็นสาขาของภษาตระกุลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหฒ่โดยได้รับอิทธพลจากกลุ่มภาษม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน
              โลร็อง ซาการ์ ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะได ดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับมาจากตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวัน ไปยังชายฟั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกุลออสโตรนีเซียนบนเากะนี้ ความสัมพันตธ์ระหว่างภาษาตระกูลออกสดตรนีเซียนและไทกะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่นๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับระกูลภาษาจีน-ทิเบตซึ่งมีจุดเร่ิมต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก
            ความหมากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทงตอนใต้ของประเทศจีนบ่บอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผุ้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนไต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผุ้พูดภาษาในตระกุลภาาาออสโตเอเซียติก
            ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกุลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยุ่ด้วยในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำน้ำให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขชร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของกรุกูลภาษานี้
            ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน เป็นตระกูลภาษเล็กๆที่ใช้กัทางตอนใต้ของประเทศจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้พูกดันในแถบภูเขาสูงตอนใต้ของจีน เชนในมณฑล กุ้ยโจว หูหนาน ยูนนาน เสฉวน กวางสี และมณฑลหูเป่ย ที่เรียกกันว่า ชาวเขาในขณะที่ชาวจีนฮั่นตั้งถ่ินฐานอยู่ตามลุ่มแม่น้ำ เมื่อ 300-400 ปีที่ผ่านมา ชาวม้งและเมียนจำนวนมากได้อพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐานในประเทศไทย ลาว เวียดนาม และพม่า และเนื่องจาสกสงครามอินโดจีน ชาวม้งบางส่วนได้ลี้ภัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ
          กลุ่มภาษาปาปัว เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูด่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกที่มไ่ใช่ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนและกลุ่มภาษาออสเตรเลีย ซึ่งเป็นการจัดกลุ่มที่ไม่ได้เน้นถึงความสัมพัธ์ทางด้านพันธุกรรมหรือภาษาศาสตร์
           ลักษณะของภาษา ส่วนใหญ่ใช้พูดในบริเวณเกาะนิวกินี (ซึ่งถูกแบ่งเป็นประเทศปาปัวนิวกีนีและจังหวัดปาปัวกับจังหวัดอิเรียนจายาตะวันตกของอินโดนีเซีย) นอกจากนั้น ยังมีผุ้พูดในหมู่เกาะบิสมาร์ก เกาะบังเกนวิเล และหมู่เกาะโซโลมอน ทางตะวันออก และในอัลมาเฮรา เกาะติมอร์ และหมู่เกาะฮาลอร์ ทางตะวันตก ภาษาเมเรียม มิร มีผุ้พูพดตามแนวชายแดนของออสเตรเลีย ทางตะวันออกของช่องแคบทอร์เรส เป็นหลุ่มภาษาปาปัวเพียงภาษาเรียวที่ได้รับการยอมรับห้เป็นภาษาราชการในติมอร์-เลสเต
เกาะนิวกีนีี ถือว่าเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของภาษามากแห่งหนึ่งของโลก นอกจากกลุ่มภาาาออสดตนนีเซียนแล้ว ังมีภาษาเอกเทศอีกเกือบ 800 ภาษา ที่แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้เกือบ 60 กลุ่ม ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องที่ชัดเจนกับกลุ่มภาษาอื่น กลุ่มของภาาาที่ใหญ่ที่สุดนบริเวณนี้คือ กลุ่มภาษาทรานส์-นิวกีนี ที่ประกอบดวยกลุ่มภาษาปาปัส ซึ่งพบในบริเวณที่สูงของเกาะนิวกีนี การศึกษากลุ่มภาาาปาปัวทำได้ไม่เกินหนึ่งในสี่และต้องมีการความสัมพันธ์กับกลุ่มภาษานี้ต่อไป
           หลายภาษาใหมุ่เกาะฟลอเรส และเกาะใหลเคียงโดยเฉพาะเกาะซาวู เคยถูกจัดเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียน แต่มีคำศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกุลออสเตรนีเซียนจำนวนมาก ซึ่งอาจเป็นจุดเเริ่มต้นของการยืมคำระหว่างกัน..th.wikipedia.org.."ตระกูลภาษา

วันพฤหัสบดีที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2560

LifeStyle ASEAN (Thailand)

          คนไทยคือกลุ่มชาติพันธ์ุซึ่งพูดภาษาไทยกฃลาง หรือมี เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่ ส่วนใหญ่อาหสัญอยุ่ในประเทศไทย และอาศัยอกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วยใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาอิสลาม และศาสนาคริสต์ ในความหมายทางชาติพันธ์ุ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหายมุมกว้าง สามารถหมายคึถงามครอบคลุมถึงกลุ่มชาติพันธ์ุไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น ไทยโคราช ไทยอีสาน ไทยโยเดีย หรือไทยเกาะกง เช่นกัน
             ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไทยเป็นพุทธศาสนิกชน นิกายเถรวาท ซึ่งในปัจจุบันศาสนาพุทธในประเทศไทยได้ผสมผสานเข้ากับความเชื้อพื้นบ้าน อย่างเช่น การตั้งศาลพระภูมิเจาที่ กรถือฤกษ์ นอกจากนี้จำนวนประชากรชาวไทย-จีน ขนาดใหญ่ที่อพยพเข้ามาในประเทศก็นับถือทั้งศานนาพุทธและประเพณีตั้งเดิม วัดพุทธในประเทศเอกลักาณ์ที่เจดีย์สัทองสุง แลบะสถาปัตยกรรมพุทธในประเทศไทยคล้ายคลึงกับในประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดดยเฉฑาะอย่างยิ่ง กัมพูชาและลาว ึ่งมีภุมิหลังทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ร่วมกัน อิสลามมีผุ้นับถือทางภาคใจ้ของประเทศคิดเป็นประชากรร้อยละ 30.4 ของประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปทั่วประเทศ และคริสต์ศาสนาเป็นลำดับต่อมา..(th.wikipedia.org..ไทยสยาม,ศาสนาในประเทศไทย)
             เมืองไทยมีความอุดมสมบูรณืในด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นอุ่ข้าวอู่น้ำ อีกทั้งคนไทยสมัยก่อนรู้จักนำพืชผักสมุนไพรที่หาได้ง่ายมาประงแต่งเป็นเมนูอาหารรับประทานภายในครอบครัว ส่งผลให้วิถีการใช้ชีวิตของคนไทยสอดคล้องกับวิถีความเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ ซึ่งคนในสมัยก่อนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยง่ายเพราะรู้จักนำสมุนไพรในท้องถ่ิน ที่มีสรรพคุณในการรักษาโรคและใช้บำรุงร่างกายมาปรุงอาหารอีกด้วย..(https://infothaifood.wordpress.com..วัฒนธรรมการรับประทานอาหารของคนไทย)
             อาหารไทยที่เป็นที่รุ้จักของคนต่างชาติ อาทิ ต้มยำกุ้ง เป็นอาหารที่ครบเครื่องมาก ไม่ว่าจะเป็นเครื่องปรุงหรือเครื่องเทศก็มรเต็มในเมนูนี้ยิ่งใส่เนื้อสัตว์ลงไปทานได้อร่อยมาขึ้น เป็นเมนูที่หาทานได้ง่ายมีรสชาติครบรส เปรียว หวาน เค็ม เผ็ด ได้อย่างลงตัว บางครั้งก็ทำเป็นน้ำข้น
            ผัดไทย เป็นอาหารที่ทานได้ง่ายมีเครื่องเทศมากมาย ย่ิงเป็นผัดไทยกุ้งสด เป็นอะไรที่เข้ากันเป็นอย่างมาก เป็นอาหารที่ไม่เผ็ดร้อยจนเกินไปจึงเป็นเมนูที่ชาวต่างชาติชอบทานเป็นอย่างมาก
         

 ส้มตำ เป็นอาหารยอดนิยมของคนไทยและยังดังไกลถึงต่างแตน ส้มตำจะมีหลากหลายชนิดมีทั้ง ตำไทย ตำปู ตำโคราช ตำถั่งว ตำแดง เป็นต้น
             ต้มข่าไก่ เป็นเมนูคล้ายกับต้มยำไก่และต้มยำกุ้ง โดยที่ต้มข่าไก่จะมีกะทิมาเกี่ยวข้องในส่วนของน้ำให้รสชาติที่อร่อยหอมหวาน มัน กลมกล่อมเป็นอย่างมาก
              แกงเขียวหวานไก่ เป็นอาหารที่นิยมในหมู่คนไทยและต่างชาติ เป็นเมนูที่หาทานได้ง่ายและตัวขอแกงเขียวหวานสามารถทานคุ่กับข้าวและขนมจีนได้เป็นอย่างดี ด้วยรสชาติของเครื่องเทศที่มีสวนผสมของน้ำกะทิจึงทำให้เมนูนี้มีรสชาติที่อร่อยลงตัว พร้อมกับความเผ็ดที่พอดี เพราะชาวต่างชาติส่วนใหญ่จะไม่ชอบทานเผ็ดมากนักจึงเป็นเมนู่ที่ตอบโจทก์..(http://www.ietr.org/10-อันดับ-อาหารไทยที่ชาวต่างชาติชื่นชอบ)
            ทางด้านการกีฬาของไทยนั้น กีฬาที่เป็นที่นิยมของคนไทยอาทิ ชกมวย แบตมินตัน ตะกร้อ วอลเลย์บอล ฟุตซอล ฟุตบอล เป็นต้น
           
 มวยไทย เป็นกีฬาประจำชาติของไทยและเป็นที่รุ้จักกันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ กีฬามวยไทย เป็นศิลปะการต่อสุ้ป้องกันตัวที่สามารถนำไปใช้ได้ทังในเชิงกีฬาและการต่อสุ้จริงๆ ศิลปะประเภทนี้มีมาตั้งแต่โบลราณกาลบรรพบุรุษของชาติไทยไได้ฝึกฝนอบรมสั่งสอนกุลบุตรไว้เพื่อป้องกันตัวและป้องกันชาติ ชายฉกรรจ์ของไทยได้รับกาฝึกฝนวิชามวยไทยแทบทุกคน นักรบจะไดัรับการฝึกฝนอบรมศิลปะประเภทนี้อย่างชัดเจน เพราะการใช้อาวุธรบในสมัยดบราณ เชน กระบี พลอง ดาบฯลฯ ถ้ามีความรุ้วิชามวย ประกอบด้วยแล้วจะทำให้เกิดประโยชน์ แต่เดิมศิลปะมวยไทยมีมีชั้นเชิงสุงมักจะฝึกสอนกันในบรรดาเจ้านายชั้นผุ้ใหญ่ หรือเฉพาะพระมหากษัตรยิ์และขุนนางฝ่ายทหารเท่านั้น ต่อมาจึงได้แพร่หลายไปถึงสามัญชน..(project532.wordpress.com/..กีฬาประจำประเทศไทย)
          การแต่งกายประจำชาติไทย สำหรับชุมประจำชาติอย่างเป็นทางการของไทย รุ้จักกันในนาม่
ว่า"ชุดไทยพระราชนิยม" โดยชุดประจำชาติสำหรับบุรุษจะเรียกว่า "เสื้อพระราชทาน"สำหรับสุภาพสตรีจะเป็นชุดไทยที่ประกอบด้วยสไบเฉียง ใช้ผ้ายกมีเชิงหรือยกทั้งตัว ซิ่นมีจีบยกข้งหน้า มีชายพกใช้เข็มขัดไทยคาดส่วนท่อนบนเป็นสไบ จะเย็บให้ติดกับซ่ินเป็นท่อนเดี่ยวกันหรือ จะมีผ้าสไบห่มต่างหากก็ได้ เปิดบ่าข้างหนึ่ง ชายสไบคลุมไหล่ ท้ิงชายด้านหลังยาวตามที่เห็นสมควรความสวยงานอยู่ที่เนื้อผ้าการเย็บและรูปทรงของผุ้สวมใส่..(sites.google.com..การแต่งการประจำชาติไทย)
         
ชีวิตยามค่ำคืนที่กรุงเทพนอกจากถนนข้าวสารที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดีของชาวต่างชาติแล้ว หรืออาร์ซีเอ ที่เป็นผับทีเป็นแหล่งชุมนุมมีวัยรุ่นวัยโจ๋ หรือถนนรัชดาที่มีผับ และสภานที่บัญเทิงสำหรับผุ้ใหญ่และกิจกรรมอีกมากมายแล้ว จะขอนำผับกลางใจเมืองที่จัดเต็ทั้งควสามสนภ และเครื่องดื่มหลากหลายชนิดเริ่มต้นด้วย
          Muse มิวส์ แหล่งแฮงค์เอ้าท์สุดฮอตในย่านทองหล่อที่นักท่องราตรีรุ้จักกันเป็นอย่างดี ร้านนี้นอกจากมีโซนผับในแดนซืกระจายแบบสนุกสุึดเหวี่ยงกันด้านล่างแล้ว บนดาดฟ้าชั้นสามยังมีบาร์ให้นั่งดินเนอร์ฟังเพลงเบาๆ ตลอดทั้งคืนอีกด้วย
          Lizm ลิซึ่ม ผับแนวสบายๆ ที่ชวนให้คุณสนุกสนานไปกับเสียงเพลง ทั้งแบบเล่นสด สลับเปิดแผ่นด้านในร้านแบ้งพื้นที่เป็น 2 โซน คือ โซนดนตรีสด และโซนฮิปฮอป แถมบางวันบังมีเพลงสกามาเล่นให้ฟังแบบสนุกสนานด้วย ร้านนี้ถ้าใครชอบความสนุึกสนานแนะนำให้จองโต๊ะด้านล่าง แต่ถ้านั่งฟังเพลงแบบชิลล์ๆ เลือกนั่งข้างบนจะเพลินกว่า
          Funky Villa ฟังกี้ วิลล่า ที่นี่ครบสุตรด้วยความสนุกสและบรรยากาศ นอกจากออกแบบตัวร้านเป็นสไตล์บ้านพักสุดชิคแล้ว ฟังกี้ วิลล่า ยังเป็ฯแหล่งชุมนุมทางแฟชันที่ทุกคนมาร้านนี้ต้องแต่งตัวประชันกันแบบสุดฤทธิ์สุดเดช เหมาะสำหรับนักดื่มที่ขอบความทันสมัย และสีสันความสนุกแบบเต็มๆ
       
 Escobar เอสโคบาร์ เป็นผับสุชิคที่มีลูกค้ามาอุดหนุนความสนุกันแน่นร้านเกือบทุกวัน อยู่ในโซนเดี่ยวกับร้านนั่งเล่น วันจันทร์ถึงพฤหัสบดี ทางร้านจเน้นดนตรีฟังแบบสบายๆ ส่วนช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์จะเน้นเพลงสนุกสนานคึกคัก ทั้งฮิปฮอป อาร์แอนด์บี ฯลฯ ให้แดนซ์ักนแบบกระจาย
        Route 66 รูท 66 ผับดังในตำนานย่าน RCA ที่ได้รับการขนานนามว่าเป็น ผับที่ป๊อปฯที่สุดในประทเศไทย รูท 66 แบ่งโซนตามความชอบของนักท่องเที่ยวไม่ว่าจะเป็น .โซนไม่สูบบุหรี่ สำหรับคนไม่ชอบควันบุหรี่ โซน สำหรับสาวกฮิปฮอป โซน สำหรับคนชอบฟังเพลงสบายๆ โซน สำหรับขาเเด็นซ์สุดฤทธิ์ และโซนสำหรับชาวโซเซียนเน็คเวิร์ค เพราะมี ไว-ฟาย บริการฟรีตลอดทั้งคืน..(http://travel.sanook.com..5 ผับสุดชิคในกรุงเทพฯ)
         
           

วันพุธที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560

LifeStyle ASEAN (Filippine)

         
            ชาวฟิลิปปินส์มีระบบคิดและวัฒนธรรมคล้ายชาวตะวัตรตก เพราะเปิดรับวัฒนธรรมตะวันตกมานานมักไม่ค่อยหลงไปกับกระแสสินค้าแบรนด์เนมราคาแพงแต่มีความซื้อสัตย์ต่อแบรนด์สินค้าที่เลือกแล้วสุง มีรสนิยมค่อนข้างหลากหลาย เน้นความเรียบง่าย สะดวก เหมาะสมกับรายได้ ใส่ใจการดูแลสุชภาพ การดูแลความสวยงามแลผิวพรรณ ชาวฟิลิปปินส์นิยมรับประทานอาหารนอกบ้านเ็นหลักแนวโน้มนิยมซื้อสินค้าเพื่ออำนวยความสะดวกสบายมากขึ้นโดยเฉพาะรถยนต์และอุปกรณืเทคโนโลยี เช่น ดทรศัพท์มือถือ หรือคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ
           คนไทยน่าจะเข้าใจลักษณะนิสัยของคนฟิลิปปินส์ได้ไม่ยากเพราะมีอุปนิสับยคล้ายคนไๆทยมากนเรืองการเป้นคนร่าเริง รักความสนุกสนาน ชอบเข้าสังคม บุคลิกสบายๆ แต่มีความต่างคือ คนฟิลิปปินส์มีความพร้อมที่จะเข้าใจความเข้าใจความเป็นสากลมากกว่ามความเป็นประชากรโลกสูงมาก บุคลิกและระบบคิดเหมือนฝรั่งที่หน้าตาเป็นเอเชีย คนฟิลิปปินส์ไม่นิยมซื้อสินค้าออนไลน์ ชอบไปเลือกซื้อสินค้าด้วยตนเอง..(http://www.rd.go.th.."ไลฟ์สไตล์ รสนิยม และวัฒนธรรมของคนประเทศต่างๆ ในเอเชีย")
           ชาวพื้นเมืองฟิลิปปินส์ มีความเชื่อถือในพระเจ้าที่เรียกว่า Bathalang  Majkapall เชื่อว่าพรเจ้าเป็นผู้สร้างโลก นอกจากนี้ยังมีเทพเจ้าอื่นๆ อีกมาก ที่มีอำนาจรองลงมา
           คนพื้นเมือง จะมพิธีทางศาสนาด้วการสวนดมนต์ และบูชายัญต่อเทพเจ้า และส่ิงศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย โดยมีนักบวชนิกายนั้นๆ เป็นผู้ทำพิธี
           นอกจากเทพเจ้าแล้ว ชาวพื้นเมืองยังนับถือสิ่งที่เป็ฯธรรมชาิ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว ดาวตก ผีพุ่งใต้ และรวมไปถึงการนับถือบุชาสัตว์บางชนิด เช่น นก และจรเข้ เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีต้นไม้ใหญ่ ที่มีอายุมาก แม้น้ำ ก้อนหิน ที่ถูกธรรมชาติตกแต่งไว้อย่างสวยงาน และแปลก
           นอกจากนั้น ยังเชื่อว่าเมื่อตายไปแล้ว วิญญาณก็จะต้องท่องเที่ยว จะได้ขึ้นสวรรค์ ถ้าคนนันมีพฤติกรรมดี สวนผุ้ที่กระทำชั่ว ดุร้าย โหดเหี้ยม ไม่ยุตธรรมต่้อเพื่อมนุษย์ ก็จะถูกพระเจ้าลงโทษ  และนำไปสู่นรก ความเชื่อในยุคโบราณดังกล่าวยังคงมีอยุ่ เป็นมรดกสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันสังเกตเห็นได้จากงานเทศกาล และะิธีการต่างๆ ของชาวฟิลิปปินส์
          ศาสนาอิสลาม เร่ิมเข้ามาสู่คนเพ้เมืองฟิลิปปินส์ เมื่อคริสตศตวรรษที่ 14 ดดยชนชาวอาหารับได้เ้ามาระหว่างที่มีการติดต่อค้าขายกับฟิลิปปินส์ ปัจจุบันศาสนอาสลามเริ่มมีบทบาทและอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของชาวฟิลิปปินส์เป็นอย่างมาก พวกนี้จะเรียกตนเองวา ดมโรซึ่งอยุ่ทางตอนใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งอยู่เกาะมินดาเนา และเกาะซูลู เป็นส่วนมาก
          ศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาะอลิค เป็นนิกายที่สเปญนำเข้าเผยแพร่ในฟิลิปปินส์ ในระหวางที่สเปญปกครองฟิลิปปินส์ คนฟิลิปปินส์ ให้การรยอมรับนับถือนิกายนี้มากและศาสนาคริสต์มีอิทธิพลในวิถีชีวิต และความเป็นอยู่ของชาวฟิลิปปินส์มาก นอกจากนี้การนับถือศาสาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิค ยังสาสามารถมีสิทธิในการยกเว้นภาษี และได้รับผลประโยชน์อื่นๆ อีกด้วยเพราะบาทหลวงจะเป็นผุ้คอยปกป้องบุคคลเหล่านั้นตลอดเวลา ด้วยสาเหตุดังกล่าว คริสตศาสนา จึงเป้ฯศาสนาประจำชาติ ของฟิลิปปินส์ในปัจจุบัน นิกายโรมันคาธอลิค มีผุ้นับถือประมาณร้อยละ 83 นิกายโปรเตสแตนท์ประมาณร้อยละ 3 รวมเป็นประมาณร้อยละ 86
       
  หลังจากที่สหรัฐฯ เข้ามามีบทบาทในการปกครองฟิลิปปินส์แล้ว สหรัฐฯ ได้ให้สิทธิและเสรีภาพแก่ชาวฟิลิปปินส์อย่างมาก และเปิดโอกาสให้ประชาชน มีเสรีภาพในการนับถือศาสนา และได้นำเอานิกายดปรเตสเตนท์เข้ามาเผยแพร่ในฟิลิปปินส์ด้วย
             จากสถิติของประชกรที่นับถือศาสนาต่างๆ นอกจากศานาคริสต์ แล้ว มีผุ้นับถือศาสนาอิสลามประมาณร้อยละ 4 ไม่นับถือศาสนาใดประมาณร้อยละ 2..(https://sites.google.com..ประเทศฟิลิปปินส์ ศาสนา)
              อาหารฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยอหาร วิธีการเตรียมและประเพณีการรับประทานอหารที่เป็นเอกลักษณ์ของประเทศฟิลิปปินส์ รูปแบบของการทำอาหารและอาหารที่เกี่ยวข้องมีการพัฒนาตลาดระยะหลายศตวรรษจากวัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่มชนที่พูดภาษาในตะกูลออสโตรนีเซียนผสมกับอาหารสเปนและโปรตุเกส จีน อเมริกัน และอาหารอื่นๆ ในเอเชียที่ปรัีบให้เข้ากับส่วนผสมพื้นเมืองและความนิยมในท้องถิ่น
             คนฟิลิปปินส์รับประทานอาหารวันละ 5 รอบ คือ เช้า เที่ยง ค่ำ และอาหารว่างระหว่างวันช่วงสายและบ่ายที่เรียกว่า เมอร์เยียนดา อหารจานหลักของชาวฟิลิปปินส์คือข้าวเช่นเดี่ยวกัยชาวไทย จาน
กับข้าวของฟิลิปปินส์มัมีรสอ่อนไม่เผ็ดร้อนเหมือนกับประเทสอื่นๆ ในเขตเพื่อนบ้าน และเน้นรับประทานอาหารที่ทำจากเนื้อมากกว่าผักทั้งเนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก่ และเนื้อปลา โดยชาวฟิลิปปินส์นิยมบริโภคหมูหัน หรือและปลานวลจันทร์ และผักที่ได้รับความนิยมในการบริโภคได้แก่ แครอท มะเขือเทศ ใบมะรุม ใบมันเทศผักบุ้งคนฟิลิปปินส์สมัยหม่นอยมรับประทานอาหารฟาสท์ฟู้ดจานด่วน เช่น ข้าวไก่ทอด สปาเกตตี้ พิซซ่า เบเกอรี่จากกลุ่มเครือร้านอาหารอเมริกัน เชน แมคโดนัลด์ เคเอฟซีสตาร์บัค ดดยระยะหลังมีการสร้างแบรนด์ร้านอาหารท้องถ่ินซึ่งมีเจ้าของเป็นชาวฟิลิปปินส์ที่มัเปดให้บริการ 24 ชัวโมง เช่น ร้านฟาสท์ฟู้ดไก่ทอด ร้านอาหารฟิลิปปินส์ ที่มีสาขาอยุ่ทั่วประเทศ
           อาหารเช้าแบบพื้นเมืองในฟิลิปปินส์ได้แก่ ปันเดซิล ขนมปังม้วนขนาดเล็ก เกซอง ปูตี ชีสขาว , ซัมโปราโด โจ๊กข้าว, ซีนางัก ข้าวผัดกระเทียม, และเนื้อสัตว์ ปลา และไข่เค็ม กาแฟ เป็นที่นิยมดื่มเช่นกัน
           เมเรียนดา เป็นคำที่มาจากสเปน ใช้เรียกอาหารว่างที่นิยมรับประทานตอนบ่าย ซึ่งมีตัวเลือกมากมาย เช่น การแฟ ขนมปัง และเพสตรีหลายชนิด (ขนมที่ทำจากข้าวเหนี่ยว) อาหารบางชนิดวช้รับประทานในช่วงเมเายนดา เช่น ก๋วยเตี่ยวผัด ปูลาบอก (เส้นก๋วยเตี๋ยวจากข้าวผัดกับซอสกุ่ง) ..
         
 ปุลูตันเป็นอหารประเภทใช้มือหยิบรับประทาน เป็นของว่างที่รับประทานคู่กับเหล้าหรือเบียร์ ปูลูตันที่ปรุงดดยการทอด เช่น ชิชาร์โรน เป็นหมูที่ทอดจนกรอบ บางส่วนเป็นอาหารย่าง เช่น อีซอว์เป็นไส้หมูหรือไก่นำไปต้มแล้วย่าง
           ขนมปังและเพสตรี สำหรับเบเการีท้องถ่ินของฟิลิปปินส์ ปันเดซัล โมบาย และเอ็นซายมาดาเป็นขนมที่มีขายทั่วไป บันเดซัลมาจากภาษาสเปน นิยมรับประทานกับกาแฟ ทำเป็นรูปขนมปังม้วนโรยด้วยเหล้ขนมปังก่อนอบ แต่ไม่ได้มีรสเค็ม โมนายเป็นขนมปังที่แน่น เอนชายมาดา มาจากภาษาสเปน..(th.wikipedia.org/wiki/อาหารฟิลิปปินส์)
          อโดโบ้า Adobo เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยม ของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจาก ภาคเหนือของฟิลิปปินส์ และเป็นที่นิยมของนักเดินทางหรือ นักเดินเขา อโดโบ้ทำจากหมูหรือไก่ที่ผ่านกรรมวิธีหมักและปรุงรสโดยจะใส่ซีอิ๊วขาว น้ำส้มสายชู กระเที่ยมสับ ใบกระวาน  พริกไทยดำ นำไปทำให้สุกโดยใส่ในเตาอบ หรือทอด และรับประทานกับข้าว
           sinigang ซึ่งเป็นจานซุปรสเปรี้ยว จานสามารถปรุงสุกกับทุกชนิดของปลาและเน้อแม้ปรุงสุกแล้วกับมะขามและผัก นอกจากนี้ยังพบทั่วไปในฟิลิปปินส์รับประทานอาหารร่วมกับ อโดโบ
         
 Sisig คือ หัวหมุนำไปต้นกับเครื่องเทศจนเปื่อยแล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก นำมาผัดอีกครั้ง จัดเป็นอาหารยอดนิยมอีกจานของชาวฟิลิปปินส์
           ในด้านกีฬาจะเห็นได้จากกีฬาบาสเก็ตชอบ ซึ่งจัดเป็นกีฬายอดนิยมของชาติ กีฬาทำชื่อเสียงให้กับฟิลิปปินส์อื่นๆ ได้แก่ ชกมวย ว่ายน้ำศิลปะการต่อสู้ นักมวยที่ทำชือเสียงในระดับนานาชาติ เช่น แมนนี่ ปาเกียว, เเชมป์เปี้ยนบิลเลียด ได้แก่ เอฟเฟรน เรเยส, เเชมป์เปี้ยนหมากรุกได้แก่ เออกีส เทอเร่, กีฬาบาสกตบอลฟิลิปปินส์มีทีมอาชีพและมีการจัดการแข่งขันที่มีบริษัทและองค์กรสนับสนุนอย่างดีและมีผุ้ชมหนาตา
            ชีวิตยามค่ำคืนในเมืองหลวงของฟิลิปปินส์หรือมะนิลานั้น เป็นเมืองที่มีความเคลื่อนไหวมากที่สุดในเอเซีย ไนท์คลับ บาร์ ที่ฟังเพลง ผับ หรือจะดื่มหร้อมกับฮัมเพลงคลอไปกับวงดนตรีและนักร้องฟิลิปปินส์ที่แสดงสดตามโรงแรมหรู สำหรัฐผู้ที่ชอบเสียงโชคบริเวณใกล้ๆ เดอะเบย์ หรือที่ NAIA TERMINAL 3 มีคาสิโน คอมเพล็กอยู่ นกเขตมะนิลาคาสิโนมีอยู่ที่แองเจลลิส โอลองกาโป ทาเกเต เซบู ฯลฯ..(http://www.philippinetourism.in.th..ฟิลิปปินส์)

วันอังคารที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2560

LifeStyle ASEAN (Malaysia)

         
เนื่องจากประเทศมาเลเซียมีเศรษฐกิจที่พัฒนาไปในระดับค่อนข้างสูงแล้ว ทำให้ชาวมาเลเซียมีกำลังซื้อสุง มีแนวโน้มเลือกซื้อสินค้าที่อำนวยความสะดวกสบายในชีวิตประจำวันมากขึ้น กลุ่มวัยรุ่นให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ มีการใช้จ่ายสินค้าไอทีสูงกว่าด้านอาหารและการพักผ่อนอื่นๆ คนมาเลเซียมีคความโดดเด่นด้านเทคโนโลยีและสนใจเรื่องข้อมูลข่าวสาร 
          มาเลเซียมีความหลฃากหลายทางเชื้อาติ กลุ่มหลักๆ คือ ชาวมาเลย์ ชาวจีนและชาวอินเดีย รสนยมจึงแบ่งย่อยตามกลุ่มเชื้อชาติด้วย แต่กลุ่มผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาสูงและรายได้สูงมักสนใจและชืนชอบวัฒนธรรมตะวันตก นิยมสินค้าฟุ่มเฟือยเพ่ิมขึ้น ด้านอาหารนิยมบริโภคอาหารสด แต่ด้วยความเป็นสังคมเมืองมากขึ้น อาหารแปรรูปก็เริ่มแนวโน้มได้รับความนิยม ระหว่างวันมักพักดื่มน้ำชาพร้อมอาหารว่างเป็นขนมต่างๆ เช่น บิสกิต ประชนกลุ่มวัยทำงานิยมบริโภคอาหารและเครื่องดือมเพื่อสุขภาพ..(http://www.rd.go.th/.."ไลฟ์สไตล์ รสนิยม และวัฒนธรรมของคนประเทศต่างๆ ในอาเซียน)
ชาวมาเลเซียสามารถนับถือและประกอบพิธีทางศาสนาได้อย่างอิสระ ด้วยเหตุนี้ มาเลเซียจึงเป้นประเทศที่มีความหลากหลายทางจิตวิญญาณ ทุกศาสนาอยุ่ร่วมกันอย่างสันติ หากคุณไปเยือนมาเลเซีย ย่อยครั้งจะเห็นสุเหร่า โบสถ์คริสต์ วัดพุทธ และวัดฮินดู ตั้งเรียงรายกันอยุบนถนนเส้นเดียวกัน ในขณะที่สมาชิกในครอบครัวใหญ่ของมาเลเซียอาจนับถือศาสนาที่แตกต่างกัน ไม่วว่าจะเป็นอิสลามหรือคริสต์                  เนื่องจากชาวมาเลเซียส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม ตังนั้น วัฒนะรรมมาเลบย์ดั้งเดิมจึงไได้รับอิทธิพลของศาสนาอิสลามอย่างแยกไม่ออก เมือคุณเดินไปตามถนนที่พลุพล่านในเมืองกัวลาลัมเปอร์ คุณอาจได้ยินเสียงประกาศให้ชาวมุสลิมทำกรละหมาดจากเครื่องขยายเสียงของสุเหร่าที่อยุ่ใกล้ ๆ บ่ายวันศุกร์ คุณจะเห็นกลุ่มชายมุสลิมกลุ่มใหญนุงโสร่งและสวมหมวกซอเกาห์ (หมวกไม่มีปีกของชาวมุสลิม) เดินมุ่งหน้าไปทกการละหมาดที่สุเหร่า...(http://www.nuks.nu.ac.th/..ศาสนาของชาวมาเลเซีย)
            อาหารมาเลเซีย มีจุดเด่นอยู่ที่การใช้สมุนไพร เครื่องเทศ พริก มีรสเผ็ด และมักจะใช้ผงกะหรี่ คนในปีนังไม่ว่าจะเป็นคนอินเดีย คนจีนหรือคนมาเลเซียเองชอบทานอาหารที่มีผลกระหรี่ปละไม่มีใครปฏิเสธิอาหารที่มีผลการหรี่ สมุนไพรที่นำมาประกอบอาหารนอกจากสมุนไพรท้องถ่ินซึ่งมีอยู่มากมายย บางครั้งบยังมีการวมสมุนไพรหลายชนิดเข้าด้วยกัน เพื่อให้มีเกลุ่นหอม มัใช้ในการผัดข้าว อาหารมาเลเซียส่วนใหญ่อาจจะเรียกได้ว่าเป็นอาหารมุสลิม เพราะไม่ใช้เนื้อหมู และไม่ใส่ไวน์ เนื้อสัตว์ที่นิยมรับประทานกันจึงเป็ฯ เนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อแพะ เนื้อเเกะ และอาหารทะเล และภูมิภาคของมาเลเซีย
            อาหารจะมีลักษระเฉพาะต่างกัน ในปีนังจะใช้ผงกระหรี่ในการประกอบอาหารมาก เพราะคนส่วนใหญ่ชอบผงกะหรี่ ขณะที่ทางตอนใต้ของประทเศจะนิยมใช้กะทิ คล้ายกับอาหารไทย โดยจะใช้กะทิกับอาหารเกือบทุกอยาง ข้าว เป็นอาหารจานหลักในทุกมอของอาหารมาเลเซียเหมือนอาหารไทย ต่างกับอาหารยุโรปที่บางมื้อเป็นขนมปัง บางม้อเป็นเนื้อหลายคนเห็นหน้าตาอาหารมาเลเซียคล้ายกับอาหารอินเดีย แต่ อาหารอินเดียจะใช้กะทิเป็นส่วนผสมน้อยมาก ในอาหารมาเลเซียยังมีเครื่องจ้ิมคล้ายน้ำพริกกะปิ เรียกว่า ซัมบัล ทำจากพริกป่น หัวหอมและน้ำมะขาม เป็นส่วนหนึ่งของสำรับอาหารของชาวมาเลเซีย นอกจากนี้ยังนิยมใช้ กะปิ ในการปรุงอาหารแทบทุกชนิดไม่ว่าจะผัดหรือแกง
           
อาหารมเลเซียมีการสั่งสมและถ่ายทอดมาอย่างต่อเนื่องตั้งอดีตจนเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติอย่างหนึ่งที่ชวนให้ไปสัมผัส..(th.answers.yahoo.com..ประวัติอาหารมาเลเซีย) เมนูอาหารที่ขึ้นชื่อของมาเลเซียอาทิ
            Mee Goeng Mamak อาหารที่ขึ้นชื่อของประเทศมาเลเซียที่ถ่ายทอดวัฒนธรรมของชาวอินเดียมุสลิมที่ย้ายมาอยู่ในประเทศแห่งนี้ไว้อย่างจัดจ้าน เมนูที่เป็ฯการผสมผสานอาหารจีนและเครื่องเทศของอินเดียไว้อย่างลงตัว ดดยจะทำจากบะหมี่ไข่เส้นเหนียวนุ่ม ผัดกับเนื้อสัตว์ต่างๆ ตามชอบไม่ว่าจะเป็นเนื้อไก่ กุ้งหรือเนื้อวัน พร้อมกับเติมไข่และผักเพิ่มความเข้มข้น ก่อนจะปรุงรสด้วยซีอิ๊ว บางท้องถ่ินอาจจะเติมพริกและเครื่องเทศลงไปให้รสเผ็ดนิดๆ พอกลมกล่อม เมนูนี้สามารถหารับประทานได้ทั่วไป โดยเฉพาะที่ปีนังตามตลาดชาวอินเดียจะมีให้เห็นอยู่หลายร้าน
            Fried Beehoon หรือหมีข้าวผัดกับผักต่างๆ อาหารจีนแต้จิ่วหน้าตาบ้านๆ ที่รสชติไม่บ้านตาม เป็นอาหารที่หาไ้ตามร้านอาหารจีนทั่วไปในกรุงกัวลาลัมเปอร์ แต่ร้านที่คุณไม่ควรพลาดคือ เรสเตอแรน เซตาแพก เทียเชียว ที่ยืนหยัดมากกว่า ร้อยปี ภายในร้านมีอาหารจีนสำตล์แต้จิ๋วแบบดั้งเดิมให้เลือกมากมาย 
          Asam Laksa ชื่อเมนูนี้คงคุ้นหูใครหลายคนด้วยเปนอีกหนึ่งเมนูที่ติดอันดับที่ 26 อาหารที่อร่อยที่สุดในโลกปี 2011 จากการจัดอันอับโดย CNN GO ทั้งยังเป็นเมนูเอาใจคนชอบกินรสจัดเพราะ ลัดซา เป็นอาหารลักษณะคล้ายขนมจีนที่น้ำราดจะแตกต่างกันไปตามภูมิภาค มีทั้งน้ำราดจากกะทิผสมเครื่องเทศรศเผ็ดร้อน หรือจะเป็นลักซาที่ขึ้นชื่อที่สุดคือ ปีนังลักซา ที่เลือกใช้ปลาทูเป็นส่วนผสมหลักให้ได้กลิ่นอายทะเลอยางลงตัว เข้ากันดีกับน้ำราดรสเปรียวจากมะขามหรือส้มแขก อีกทั้งยังได้กล่ินหอมๆ จาก คอนเคซุป (ผักแพว) และ บุหงากันตัน (ดอกขิงป่า) จากนั้นตัดด้วยรสหวานจากสับปะรด เป็นอีกหนึ่งเมนูรสเข้มข้น ที่หากใครไปเยือนปีนังแล้วไม่ได้ลองกินก็เหมือนกับไปไม่ถึง
           
Nasi Lemak เป็นอาหารประจำชาติของประเทศมาเลเซียที่คุณสามารถเห็นได้ทั่วทุกภูมิภ-าคดดยจะห่อในใบตองให้รบประทานได้สะดวก ข้าวนาซิเลอมัก มีปรากฎให้เห็นเป็นหลักฐานในปี 1909 คำว่า นาซิเลอมักในภาษามลายูแปลว่าข้าวมัน โดยนำข้าวไปแช่กับกะทิแล้วนึ่งให้สุกจนได้ความหอมมันเป็นเอกลักษณ์แล้วกินคู่กับซอสซัมบัลรสเผ็ด แตงกว่าหั่นหรือไก่ทอดทำให้ไม่เลี่ยนจนเกินไป โดยเครื่องเคียงนี้จะแตกต่างกันไปตามแต่ละภุมิภ-าคและวัมนธรรม เช่นที่เกาะรีเยาะจะรับประทานคู่กับอีกันดัมบันซึ่งเป็นปลาชิ้นเล็กๆ ทอดให้กรอบ คนมาเซียเชื้อสายจีนจะกินคู่กับเนื้อหมุ หรือคนมาเลเซียเชื้อสายอินเดียจะรับประทานกับแกงรสนจัดต่างๆ จึงทำให้นาซิเลอมักเป้นทั้งอาหารประจำชาติและมรกดทางสวัฒนธรรมของประเทศมาเลซียอยางแท้จริง
           Steamboat เป็นเมนูที่กลายมเป็นคู่ของพื้นที่ราบสูง ในรัฐอิโปห์ไปแล้ว ด้วยสภาพภูมิอากาศที่ค่อนข้องชื้นด้วยฝนตกชุกตลอดปี ทั้งยังเป็นแหลงทอลองปลูกพืชหลากหลายชนิดจึงทำให้เป็ฯอาหารช่วยคลายหนาวได้อย่างลงตัว โดยจะมีลักษระเป็นหม้อน้ำซุปร้อนๆ บางร้านจะเสิร์ฟแบบดั้งเดิมด้วยเตาถ่านทำให้ได้กลิ่นหอมควันไฟเป็นเอกลักษณ์ และคุณสามารถนำเอาเครื่อง เชื่อ เนื้อสัตว์ และผักลงไปลวกจนสุกก่อนจะซดน้ำซุปที่ได้รสหวานธรรมชาิจากเนื้อและผัก สถานที่ที่ขึ้นชื่อที่สุด คือเมือง บริงชาง ที่มีกลากหลายแบบให้เลือไม่ว่าตจะเป็นร้านที่เต็มไปด้วยผักออร์แกนนิคหรือร้านที่คัดเลือกเนื้อชั้นดีให้ได้ลิ้มลอง อีกทั้งยังมีคลาดนัดกลางคือซึ่งคุณสามารถเดินเลือกซื้อของได้มากมายอีกด้วย
       
 Nasi Kerabu อาหารประจำรัฐกลันตัน ที่มีข้าวเป็นส่วนผสมหลักหุงกับอกอัญชันจนได้สีฟ้าใสสวยงาน แล้วกินคู่กับผักและสมุนไพรหลากชนิด บางที่อาจจะเสิร์ฟมาพร้อมเนื้อสัตว์เช่นไก่ทอด ทั้งยังรดหน้าด้วยน้ำบูดุ และมะพร้าวคั่วให้เนื้อสัมผัสกรุลปรอบ ทั้งยังได้กลิ่นหอมๆ จากสมุนไพรหลกชนิดทไใ้ นาซิเกอราบู กลายเป็นอีกหนึงอาหารที่เหล่านักเดินทงไม่ควรพลาด 
            ด้วยผุ้คนหลากหลายเชื้อชาติ และวัฒนธรรมที่ปสมปสานรวมอยุ่ในประเทศมาเลเซียอยางกลมกล่อม ก่อให้เกิดอาหารหลากหลายชนิดที่ไม่เพียงแต่จะดึงดูดนักเดินทางจากทั่วดลกให้มาล้ิมลองแต่ยังอเป็นการบอกเล่าประวัจติและวัฒนธรรมอย่าลงตัวอีกด้วย
             กีฬาที่ได้รับความนิยมในมาเลเซียได้แก่ silat โดยศิลปะกอรป้องกันตัวชนินี้มีมาเป็นเวลานานแล้ว ลักษระของศิลปะการป้องกันตัวที่เรียกว่า Silat นั้นมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ
             Silat คื อการเคลื่อนไหวของร่างกายในการป้องกันตัวจากการโจมตีของศัตรูหรือคุ่ต่อสุ้
              Silap คือช่วงจังหวะลีลาที่จะใช้ในศิลปะการป้องกันตัว
              Silau คือการตอบดต้ทใช้จากการป้องกันตัวที่ศัตรุหรือคุ่ต่อสู้ดจมตีตัวเรา
              ดังนั้น ศิลปะการป้องกันตัว นี้จึงสามารถที่จะหล่าวได้ว่าเป็นการเคลื่อนไหวช่วงจังหวะและลีลา การตอบโต้ที่ถูกมนุษย์สร้างขึ้นดดยเป็นระบบ เป็นระเบียบและละเอียดอ่หนในการป้องกันตัวจากการดจมตีของศัตรูและคู่ต่อสู้ในการเรียนเกี่ยวกับศิลปะการ้องปันตัว Silat นั้น คนหนึ่งๆ มีการเียนรู้ที่อยุ่ในระดับที่แตกต่างกนตามความสามารถและประสิทธิภาพของแต่ละคน ดดยปกติแล้วระดับความสามารถของศิลปะการป้องกันตัว Silat มีอยุ่ 5 ระดับ คือ ระดับที่รู้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ช่วงลีลา ศิลปะการตอบโต้ ระดับการเรียนรุ้วิถีชีวิตและคำสั่งการ พร้อมการเผยแพร่ศิลปะการป้องกันตัว, ระดับการศึกษาเชิงลักของศิลปะการป้องกันตัว และภูมิหลังของศิลปะการป้องกันตัว, ระดับการเรียนรุ้ เขาใจกฎระเบียบ และหลักเกณฑ์ของศิลปะการป้องกันตัว, ระดับสร้างจิตสำนึกในศิลปะการป้องกันตัว และศึกษาความเร้นลับของศิลปะการป้องกันตัว, ระดับการเผยแพร่ศิลปะการป้องกันตัว และสร้างหรือรักษากฎเกณฑ์ของศิลปะการป้องกันตัว ให้อยุ่ในจิตวิญญาณของนักศิปละการป้องกันตัว
             
 ศิลปะการป้องกันตัว Silat มีกาีเคลื่อไหว ช่วงลีลาการก้าว ลูกไม้ การหลีก การตอบโต้ การต่อย การถบ การโจมตี ที่แตกต่างกันตามที่ครุศิลปะการป้องกันตัวต่างๆ เป็นผุ้คิดลูกไม้ของศิลปะการป้องกันตัว ดังนั้น ศิลปะการป้องกันตัวจึงมีหลากหลายชื่อ..(
http://sportasean2012.blogspot.com/..กีฬาประจำชาติของประเทศในอาเซียน)
              การแต่งกายของชาวมาเลเซีย เนื่องจากศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชติของมาเลเซียน ซึ่งเคร่งครัดในระเบียบปฏิบัติตามบทบัญญัติของศาสนา ดดยฌแาพะการแต่งกายที่สภาพมิดชิดทั้งหญิงและชาย ในอดีต ผุ้ชายชาวมาเลเซียมักนุ่งดสร่งไม่สวมเส้อ หรือถ้าจะสวมใส่ก็เป็นเสื้อแขนสั้นหรือกางเกงขาสั้นแทนโสร่งแทน ส่วนผุ้หยิงนิยมนุ่งผ้ากระโจมอก บางคนอาจมีผ้าบางๆ ไว้คลุ่มไหล่ องค์สุลต่านอาบูกาการ์แห่งรัฐยะโฮร์ ทรงเห็นว่การแต่งกายของชาวมาเลเซียไม่เรียบร้อย อีกทั้งไม่มีชุดประจำชาติที่ดูสภาพพระองค์จึบทรงคิดให้ชุด บาจู กูทรง ซึ่งเป็นภาษามลายู แปลว่าปกปิด มิดชิด
              ลักษณะเด่นของชุดบาจู กูทรงไม่วาของผุ้ชายหรือผุ้หญิง มักจะตัดเย็บด้วยผ้าผืนเดี่ยวกัน เพาระฉะนั้นทั้งสีแลดลวดลายบนผืนผ้า จึงป็นแบบเดี่ยวกันทั้งชุด แต่ชุดของผุชายกลับมีเครื่องเครามากว่าของผุ้หญิงชุดผุ้ชาย ทั้งเสื้อและกางเกงลวดลายสีสันเดียวกันทั้งชุด
ไม่นิยมลวดลายสัตว์หรือผิดหลักศาสนาอิสลาม เสื้อผุ้ชายเป็นแขนยาว ทั้งแบบคอลมแและคอจีน ซึ่งรังดุมราว 2-5 เม็ด ผ่าจากคอเสื้อลงมาถึงกลางอก ส่วนท่อนล่างจะเลือกใส่กางเกงหรือผ้าโสร่งก็ได้ ถ้าใส่กางเกงต้องมีผ้าพัน หรือมองดุคล้ายดสร่งสั้น จากสะดือถึงเข่า ภาษามลายูเรียกผ้าพันนี้ว่า ซัมปิ่น ซึ่งสัไม่ฉูดฉาด แต่ก็สวยงามบางที่เป็นผ้าไหม ดิ้นทาง ซัมปินทำให้ชุดผู้ชายดุสภาพเรียบร้อย ทั้งยังสามารถกันเปื้อนได้อีกด้วย ที่ศรีษะผุ้ชายจะสวมหมวกแขกกำมะหยี่สีดำ ภาษามลายูเรียก่า ซองโก๊ะ แต่ถ้าจะให้เต็มยสก็จะสวมผ้าพันเป็นรูปมงกุฎสวมทับไปบนหมวกอีกชั้นหนึ่ง การพับผ้าเป็นรูปมงกุฎมีแบบต่างๆ เช่น รูปนกอินทรีปีกหัก รูปช้างรบ รุปสู้ลม ถือเป็นศิลปะทีต้องใช้เวลาประดิดประดอย จึงไม่เป็นที่นิยม ในอดีตการสวมผ้าพับรูปมงกุฎนี้เป็นเครื่องบอกชนชั้นในสังคมมาเลเซียน ส่วนใหญ่เป็นเครื่องทรงขององค์สุลต่านและราชขวงศื ส่วนสามัญชน จะสวมใส่ผ้าพันมงกุฎนี้ในวันสำคัญเช่นในวันแต่างงาน ซึ่งหมายถึงเจ้าบ่ายเป็นเจ้าชายในวันั้นสิ่งสำคญอีกอย่่างหน่งของชาวมาเลเซีย คือ กริซ ซึงเยเป็นอาวุธประจำกายของผู้ชายที่ต้องติดตัวอยุ่ตลอดเวลา แต่ปัจจุบันกรซ ใช้เป็นเครืองประดับในชุดบาจุ กูทรง โดยเหร็บข้างเอวให้เห็นเท่านั้น การแต่งการแบบนี้สำหรับชาวมาเลเซียถือว่าสุภาพมาก  มักแต่งไปในงานพิธีเช่นงานแต่างงาน
             ที่กล่ามานี้ค่อนข้างเป็ฯการแต่างกายที่เป็นางการ แต่ถ้าต้องการความสะดวกเรียบว่าย เพื่อไปประกอบพิธีกรรมที่มัสยิด ก็เพรียงโสร่ง สวมเสื้อปล่อยชายยาวคลุมทับดสร่ง สวมหมวกกำมะหยี่สีดำบางครั้งผุ้ชายก็แต่งตัวอย่างสกล ใส่เสื้อแขนยาวสีขาวหรือสีอ่อน ดุสุภาพ กับกางเกงสีเข้ม และที่ขาดไม่ได้คือใส่หมวกกะปิเยะห์ชุดผุ้หญิง มีเครื่องแต่งการน้อยิ้นกว่าชาย ทั้งสื้อและกระโปรงตัดด้วยผ้าบางเบา เนื่องจากภูมิอากาศที่ร้อนอบอ้าว ผ้าเป็นลวดลายและสีเดียวกันทั้งชุด หรือสีที่เข้ากัดีระหว่างเสื้อกับผ้านุ่ง นิยมลวดลายดอกไม้สีสันสดใส เสื้อผุ้หยชญิงเป็นปบบปขนยาว ชายเส้ื้อยาวลงมาถึงเข่า บางคนิยมตัดเย็บเสื้อเข้ารูป แต่บางคนปล่อยให้หลวมๆ ไม่เน้นรูปร่างส่วนท่อนล่างเป้ฯกระฏปรงยวคบุมตาตุ่ม ไม่ผ่าข้า เมื่อออกนอกบ้าน ผุ้หญิงมาเลเซียนิยมคลุมศรีษะด้วยผ้าบางเบา มีสีสันลวดลายดุกลมกลืนหรือเป็นลายเดียวกับเสื้อและกระโปรง ผ้านี้บางที่ก็นำมาคลุมไหล่เป็นเครืองประดับได้ดวยสตรีมุสลิมที่เคี่งคัดก็มักคลุมฮิญาบ หรือที่ชาวมลายูเรียกว่า ตุดล ซึ่งปัจจุบัเป็นที่นิยมมากขึ้น..(amoreiiz.wordpress.com/..การแต่งกายของชาวมาเลเซีย)
             
ไนท์ไลท์ที่ กัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของประเทศมาเลเซีย เป็นเมืองที่มีการผสมผสานกันระหว่างประวัติศาสตร์ และความโมเดิร์นอย่างลงตัว
             ตึกแฝดปิโตรนาส ตึกแฝดปิโตนาสคืออาคาร 88 ชั้น รุ้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อาคาร KLCC อาหารแห่งนี้เป็นตึกแผดที่สุงที่สุดในโลกความสูง 451.9 เมตร สร้างขึ้นนโดยได้รับแรงบันดาลใจจากรูปทรงเรขาคณิตของสถาปัตยกรรมอิสลาม อีกฝั่งหนึ่งของตกนี้ติดกับสวน KLCC ที่กินเนื้อที่กว้างขวางและตกแต่างอย่างสวยงาม สถานที่ที่น่าสนใจในอาคาร KLCC คือ ซูเรียชอปปิ้ง คอมเพล็กซ์, ปิโตรนาส ฟิลฮาร์โมนิก ฮอลล์, ศุนย์วิทยาศาสตร์ เปโตรซินและศุนย์ประชุมกัวลาลัมเปอร์ซึ่งเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ ลักษณะเด่นของตึกแผดนี้เมื่อเปรียบเทียบกับตึกระฟ้าอื่นๆ ของโลก คือการที่เป็นอาคารหอคอย 2 อาคาร เชื่อโดยสะพานลอยฟ้า สถาปัตยกรรมดดยเด่นูงตระหงานแห่งนี้หลายเป็นแลนด์มาร์ดใจกลางย่านฑุรกิจของกรุงกัวลาลัมเปอร์ จากกาลงวันเปลี่ยนสู่กลางคือนตึกแผดแห่งนี้จะถูกประดับประดาไปด้วยแสงไฟที่อลังการยิ่งทำให้ตึกที่สูงดูสูงขึ้นอีก ท่ามกลางท้องฟ้าสีดำ 
           ถนนฟู้ดทรัค กระแสเมนูติดล้อมาแรง ที่กัวลาลัมเปรอื เหล่า ฟู้ดทรัค จะยกทัพปิดทนน จาแลน สุลตาน อิสมาอิล บริเวณจตุรัสเมอร์ดิก้าเพื่อสร้างสีสันยามค่ำคือ พร้อมจัดเต็มเรื่องกินด้วยอาหารนานาชนิดหลากหลายเชื้อชาติ ให้ได้ลิ้มรสกันอย่างจุใจ โดยงานจะจัดทุกวันเสา 9.00-01.00น.(ค่ำ) และอาทิตย์ตั้งแต่ 6.30-9.30น.(เช้า) ในสัปดาห์ที่ 1 และ 3 ของทุกเดือน งานนี้ใครที่เป็นนักชิมตัวยงไม่ควรพลาด งานเดียวครบรส
         
ย่านบูกิตบินตัง คือสวรรค์ของนักช้อปที่ไม่ว่มองไปทางไหนก็เนืองแน่นไปด้วยห้าสรรพสินค้า และสถานที่สำหรับช้อปปิ้งแบบที่เลือกเดินกันไม่ถูกเลยที่เดียว นอกเหนือจากที่ช้อปปิ้งทังกลงวัน  ละกลางคืนแล้ว ที่นี้ยังมีตรอกซอยให้ได้เดินเล่น สัมผัสวัฒนะรรมท้องถ่ินยามค่ำคือน เช่น อาหรับ สตรีท ตามชื่อถนน ซึ่งเป็นแหล่งรวมอาหารสไตล์อาหรับซึ่งเป็นอีกหนึ่งที่ ที่ชาวต่างชาติและชาวมาเย์นิยม หรือหากชอปปิ้งแล้วหิว ก็แวะไปที่ จาราน อลอ ถนนสายสตรรีทฟู้ดชื่อดังที่ถนนทั้งถนนเต็มไปด้วยอหารแบบท้องถิ่นให้เหลือทานทั้ง จีน มาเลย์ อินเดีย 
          ไชน่าทาวด์ ไนท์ มาเก็ตติ้ง ที่นี่จะเปิดตั้งแต่กลางวันแต่จะคึกคักเป็นพิเศษช่วงกลางคืน เพราะอากาศไม่ร้อน และมีร้านค้ามาเปิดขายของเยอะกว่า สินค้าทั่วไปจะเป็นของฝากและอาหาร ของท้องถ่ินต่างๆ เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่เหมาะกับคนที่มีเวลาน้อยเพระสามารถเดินไปกินไปช้อปของฝากได้ในที่ที่ทเดียว
           กำปง บารู แม้กัวลาลัมเปอร์จะเป็นเมืองทันสมัย เป็นเมืองธุรกิจที่มีตคึกสูงตระหวาน แต่ในใจกลางกรุงนั้น ยังมีตรอกเล็กๆ ที่มีหมู่บ้านดบราณอย่าง กัมปง บารู ที่ยังคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมดั้งเดิม หลังจากเป็นเอกราชการการปกครองของอังกฤษ ชาวบ้านที่นี้ก็ลุกข้นต่อต้านการเป็น โมเดิร์น ซิตี้ ที่จะลุกล้ำเข้า ทำให้ กัมปง บารู กลายเป็นสัญลักษณ์ของหมู่บ้านดบราณจกลายกรุงจนถึงทุกวันนี้ อย่างไรก็ดีชาวบ้านที่นี้มีการปรับตัวได้ออย่างดีให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดการปสมปสานวิถีชิวิตแบบใหม่และดั้งเดิม แม้กลางวันจะดูเป็นหมู่บ้านอนุรักษ์ธรรมดา ที่นักท่องเที่ยมาเยี่ยมเยือน แต่เมื่ออาทิตย์ตกดินที่นี่จะกลายเป็นอีกตลาดสตรีทฟู้ดกลางคืนที่อยู่ท่ามกลางหมุ่บ้านดบราณ ในบรรยากาศย้อยุคแบบมาเลย์ มาเลย์ ดดยเฉพาะร้านขายข้าวแกงมาเลย์ที่โด่งดัง เมนูเด็ดคือ นาซิเลอมัก อาหารประจำชาติมาเลเซีย..(http://travel.trueid.net..5 แหล่ง ไนท์ไลฟ์ ในกัวลาลัมเปอร์ ย่ำเท้าเดินเลี้ยว เที่ยวชิมเพลินๆ)

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...