The Languages

             ภาษาสวนใหญ่สามารถจะจำแนกให้อยู่ในตระกูลของภาษา ซึ่งจะเรียกว่า "กลุ่มภาษา" กลุ่ม
ภาษาที่มีการจักกลุ่มอย่างชัดเจน จะเป็นหน่วยทางวิวัฒนาการ กล่าวคือ ทุกสมาชิกจะสืบทอดมาจากบรรพบุรุษเดี่ยวกันส่วนใหญ่แล้ว ภาษาบรรพบุรุษมักจะไม่เป็นที่รู้จักโดยตรง เนื่องจากภาษาส่วนใหญ่จะมีระวัติของการเชียนสั้นมาก อย่างไรก็ดี เป็นไปได้ที่จะค้นพบคุณสมบัติต่างๆ ของภาษาบรรพบุรุษ โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบ เป็นวิธีการสร้างใหม่ที่คิดโดย นักภาษาศาสตร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 คือ เอากุสต์ ชไลเกอร์ ซึ่งสามารถแสดงถึงสถานภาพของกลุ่มภาษาของกลุ่มจำนวนมากที่จะได้กล่าวถึงต่อไป
            ตระกูลของภาษาสามารถแบ่งย่อยเป็นหน่วยที่เล็กลงไปอีก ซึ่งมักจะเรียกหน่วยย่อยว่า "สาขา" (เนื่องจากประวัติของกลุ่มภาษามักจะเขียนเปนแผนผังต้นไม้)
            บรรพบุรุาของกลุ่มภาษา (หรือสาขาของภาษา) เรียกวา "protolanguage" ได้เป็นภาษาที่รู้จักในสมัยประวัติศาสตร์ ด้วยเหตุนี้ ภาษาย่อยตามมณฑลชนบทต่างๆ ของภาษาละตินทำให้เกิดตระกูลภาษาโรมานซ์ปัจจุบัน ฉะนั้น ภาษาโปรโต-โรมานซ์จะค่อนข้างเหมือนกับภาษาละติน (ถ้าไม่ใช้ภาษาละตินที่นักเขียนคลาสสิกใช้เขียน) และภาษาย่อยของภาษานอร์สโบราณ เป็นบรรพบุรุษของภาษานอร์เวย์,ภาษสวีเดน, ภาษาเดนมาร์กและภาษาไอซ์แลนด์ ภาษาที่ไม่สามารถจัดได้อย่างแน่นอนลงไปในกลุ่มภาษาใดๆ เรียกว่า ภาษาโดดเดี่ยว language isolate
            กลุ่มภาษาในเอเชียตะวันออก, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบแปซิฟิก ประกอบด้วย
            ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของอินเดียและบังคลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินี่แปลว่า "ใต๋" และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีกดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมาถึงเอเชียใต้ ใบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอบ เป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็ฯภาษาทางการภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย
         
 ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังคลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผุ้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบต เป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระำูลออสดตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื้อว่า ภาษานี้
เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก
            นักภาษาศาสตร์โดยทั่วไปจัดภาษานี้เป็นสองกลุ่มใหญ่คือ ภาษากลุ่มมุนดา ที่พบในอินเดียตะวันออกและอินเดียกลางกับบางสวนของบังกลาเทศและภาษากลุ่มมอญ-เขมร ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือและหมู่เกาะนิโคบาร์ จากภาษาในตระกูลนี้ทั้งหมด 168 ภาษา อยู่ในกลุ่มมอญ-เขมร 147 ภาษาและอยู่ในกลุ่มมุนดา 21ภาษา
            ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผุ้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเแียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยุ่ใระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรป และตระกูลภาษายูราลิก คือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกุลได้
           คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกุลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจาม ที่ใช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือ ประมาณ 1 ใน 5 ของภาษที่รุจักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้
          ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็ฯสาขาหลักของภาษาในตระกุลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซ่าทั้งหมดอยุ่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซา
           ภาษาในตระกูลนี้มีผู้พูดมากกว่า 4 ล้านคนได้แก่ ภาษาชวา ภาษามลายู ภาษาซุนดา ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวโน ภาษามาลากาซี ภาษามาดูรา ภาษาอีโลกาโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาษานิมังกาเบา ภาษาบาตัก ภาษาบิโกล ภาษาบันจาร์ ภาษาบาหลี
           ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นภาษาราชการได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก ภาษามลายู ภาษามาลากาซี(มาดกัสการ์)  ภาษาเตตุม (ติมอร์-เลสเต), ภาษาฟิจิ (ฟิจิ), ภาษาซามัว (ซามัว), ภาษาตาฮี
ดี(เฟรนซ์โปลินีเซีย), ภาษาตองกา(ตองกา), ภาษากิลเบิร์ต (คิริบาส), ภาษามาวรี (นิวซีแลนด์), ภาษาชามอร์โร(กวมและหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา) ภาษามาร์แชลล์(หมู่เกาะมาร์แชลล์), ภาษานาอูฐ (นาอูฐ) ภาษาฮาวาย (รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา)
           ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่ามีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาเอเชียตะวันออก มีจำนวนผุ้พูดเป็นอันดับสองของโลกรองจากภาษากลุ่ม อินโด-ยูโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
            สมมติฐานจีน-ทิเบต ที่จัดภาษาจีนเข้าเป็นกลุ่มย่อยของกระกูลภาายาย่อยทิเบต-พม่า เพราะมีความสัมพันธ์ระหวางภาษาจขนกับภาษาทิเบต เช่นลักษณะคู่ขนานระหว่างภาษาจนโบราณกับภาษาทิเบตสมัยใหม่ และมีรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตามสมมติฐานนี้มี้อโต้แย้งคือความชัดเจนของรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกันระหว่างภาษาจีนกับภาษากลุ่มทิเบตยังไม่ชัดเจนพอและจากการสร้างภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมโดยใช้ข้อมุลจากวรรณคดีภาษาทิเบตและพม่า และข้อมุูลจากภาษาจิ่งโปและภาษาไมโซ พบว่าภาษาจีนมีลักษณะที่จะเป็นภาษาลุกหลานของภาษาทิเชต-พม่าดั้งเดิมน้อย สมมติฐานนี้จึงยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย
             ตระกูลภาษาไท-กะได หรือที่รู้จักกันในนาม กะได ขร้าไท หรือ ขร้า-ไท เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกุลภาษาไทกะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจะบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่งและยังมีผุ้เห็นว่าตระกูลภาษาไทกะไดนี้มีความสัมพันธืกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไทย" หรือ จัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก
           โรเจอร์ เลลนช์ ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทยมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทัี้งสองตระกุลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็ฯพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะได อาจเป็นสาขาของภษาตระกุลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหฒ่โดยได้รับอิทธพลจากกลุ่มภาษม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน
              โลร็อง ซาการ์ ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะได ดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับมาจากตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวัน ไปยังชายฟั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกุลออสโตรนีเซียนบนเากะนี้ ความสัมพันตธ์ระหว่างภาษาตระกูลออกสดตรนีเซียนและไทกะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่นๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับระกูลภาษาจีน-ทิเบตซึ่งมีจุดเร่ิมต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก
            ความหมากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทงตอนใต้ของประเทศจีนบ่บอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผุ้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนไต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผุ้พูดภาษาในตระกุลภาาาออสโตเอเซียติก
            ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกุลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยุ่ด้วยในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำน้ำให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขชร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของกรุกูลภาษานี้
            ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน เป็นตระกูลภาษเล็กๆที่ใช้กัทางตอนใต้ของประเทศจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้พูกดันในแถบภูเขาสูงตอนใต้ของจีน เชนในมณฑล กุ้ยโจว หูหนาน ยูนนาน เสฉวน กวางสี และมณฑลหูเป่ย ที่เรียกกันว่า ชาวเขาในขณะที่ชาวจีนฮั่นตั้งถ่ินฐานอยู่ตามลุ่มแม่น้ำ เมื่อ 300-400 ปีที่ผ่านมา ชาวม้งและเมียนจำนวนมากได้อพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐานในประเทศไทย ลาว เวียดนาม และพม่า และเนื่องจาสกสงครามอินโดจีน ชาวม้งบางส่วนได้ลี้ภัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ
          กลุ่มภาษาปาปัว เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูด่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกที่มไ่ใช่ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนและกลุ่มภาษาออสเตรเลีย ซึ่งเป็นการจัดกลุ่มที่ไม่ได้เน้นถึงความสัมพัธ์ทางด้านพันธุกรรมหรือภาษาศาสตร์
           ลักษณะของภาษา ส่วนใหญ่ใช้พูดในบริเวณเกาะนิวกินี (ซึ่งถูกแบ่งเป็นประเทศปาปัวนิวกีนีและจังหวัดปาปัวกับจังหวัดอิเรียนจายาตะวันตกของอินโดนีเซีย) นอกจากนั้น ยังมีผุ้พูดในหมู่เกาะบิสมาร์ก เกาะบังเกนวิเล และหมู่เกาะโซโลมอน ทางตะวันออก และในอัลมาเฮรา เกาะติมอร์ และหมู่เกาะฮาลอร์ ทางตะวันตก ภาษาเมเรียม มิร มีผุ้พูพดตามแนวชายแดนของออสเตรเลีย ทางตะวันออกของช่องแคบทอร์เรส เป็นหลุ่มภาษาปาปัวเพียงภาษาเรียวที่ได้รับการยอมรับห้เป็นภาษาราชการในติมอร์-เลสเต
เกาะนิวกีนีี ถือว่าเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของภาษามากแห่งหนึ่งของโลก นอกจากกลุ่มภาาาออสดตนนีเซียนแล้ว ังมีภาษาเอกเทศอีกเกือบ 800 ภาษา ที่แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้เกือบ 60 กลุ่ม ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องที่ชัดเจนกับกลุ่มภาษาอื่น กลุ่มของภาาาที่ใหญ่ที่สุดนบริเวณนี้คือ กลุ่มภาษาทรานส์-นิวกีนี ที่ประกอบดวยกลุ่มภาษาปาปัส ซึ่งพบในบริเวณที่สูงของเกาะนิวกีนี การศึกษากลุ่มภาาาปาปัวทำได้ไม่เกินหนึ่งในสี่และต้องมีการความสัมพันธ์กับกลุ่มภาษานี้ต่อไป
           หลายภาษาใหมุ่เกาะฟลอเรส และเกาะใหลเคียงโดยเฉพาะเกาะซาวู เคยถูกจัดเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียน แต่มีคำศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกุลออสเตรนีเซียนจำนวนมาก ซึ่งอาจเป็นจุดเเริ่มต้นของการยืมคำระหว่างกัน..th.wikipedia.org.."ตระกูลภาษา

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)