ตระกุลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกุลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มี
สมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาในเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอันดับสองของโลกตองจากภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
การจำแนกของ เจมส์ มอทิซอฟฟ์ กลุ่มภาษาจีน ประกอบด้วย ภาษาจีนกลาง ภาษาหวู่ ภาษาเซี่ยงไฮ้ ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาผิง ภาษาหมิ่น ภาษาไต้หวัน ภาษาเซียง ภาษาฮากกา ภาษากั้น
กลุ่มทิเบต-พม่า กลุ่มภามารูปัน ได้แก่ กลุ่มกูกี-ฉิ่น-นาดา กลุ่มอเบอร์-มิรี-ดาปลา กลุ่มโบโร-กาโร, กลุ่มหิมาลัย ได้แก่ กลุ่มมหา-กิรันตรี (รวมภาษาเนวารี ภาษามาคัร และภาษาไร) กลุ่มทิเบต-กิเนารี (รวมภาษาทิเบต ภาษาเลปชาป, กลุ่มเกวียง, กลุ่มจิงโป-นุง-ลุย ได้แก่ภาาาจิงโป ภาษานุง ภาษาลัย, กลุ่มพม่า-โลโล-นาซี,ฅ กลุ่มภาษากะเหรี่ยง, กลุ่มบาอีก และยังมีการจำแนกในแบบอื่นอีก..
สมมติฐานจีน-ทิเบต เหตุผลที่จัดภาษาจีนเข้าเป็นกลุ่มย่อยของตระกุลภาาายอยทิเบต-พม่า เพราะมีความสัมพันธ์กันระหว่างภาษาจีนกบภาษาทิเบต เช่น ลักษณะคุ่ขนานระหว่างภาษาจีนโดบราณกับภาษาทิเชตสมัยใหม่ และมีรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกันอย่างไรก็ตามสมมติฐานนี้มีข้อโต้แย้งคือ ความชัดเจนของรากศัพท์คล้ายคลึงกันระหว่างภาษาจีนกับภาษากลุ่มทิเบตยังไม่ชัดเจนพอ และจากการสร้างภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมโดยใช้ข้อมูลจากวรรณคดีภาษาทิเบตและพม่า และข้อมูลจากภาษาจิ่งโปและภาษาไมโซ พบว่าภาาาจีนมีลักษณะที่จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมน้อย สมมติฐานนี้จึงยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย
กลุ่มภาษาจีน เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่างๆ ว่าเป็นภาษาเดียวโดยทั่วไปแล้วภาาาพุดในกลุ่มภาษาจีนเปนภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่อง เสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เที่ยบได้กับ ควมแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 -12 กลุ่มขึ้นอยุ่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป้ฯที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพุดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"
ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพุดเป็นภาาาแม่มากที่สุดสำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาาาฮั่น ซึ่งยุ่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดารินเป็นภาาาทางการของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางกาของประเทศสิงคโปร์ (ร่วกับ ภาาา อังกฤษ ภาษามาลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วกั ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนหลางตุ้งเป้ฯภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส)
นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ข้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และอักษรจีนตัวย่อ
ภาษาพูดของจีน ทั้งภาษาและสำเนียงภาษจีนต่างกันในประเทศจีน โดยพิ้นฐาน เราอาจแบ่งกลุ่มภาษาจีนออกเป็น 7 กลุ่มใหญ่ๆ ตามจำนวนประชากรที่พูดได้ ดังนี้
จีนกลาง หรือภาษาฮั่น หรือแมนดาริน หรือสำเนียงทางเหนือ, ง่อ ในมณฑลเจียงซู, กว้างตุ้ง, ฮกเกี่ยน ในมณฑลผูเจี้ยน หรือฮกเกี่้ยน, เชียง, แคะ หรือ ฮักกา, กั้น นอกจากนี้ นักภาษาศาสตร์ยังได้แบ่งกลุ่มภาาาจีนออกมาจากกลุ่มใหญ่ข้าบนอีก 3 ประเภท ได้แก่ จิ้น แยกมาจาก แมนดาริน, ฮุยแยกมาจาก อู๋ และผิง แยกมาจาก กวางตุ้ง
กลุ่มภาษาทิเบต เป็นกลุ่มของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกบเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสุงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียวในบัลติสถาน ลาตัก เนปาล สิกขิม และภูฎาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยฌแพาะศาสนาพุทธ
ด้วยเหตุผลทางกรเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษา ภาษาเศรปา และภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป้นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด
มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาามีผุ้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พุดโยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากกว่า ศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีนจัดให้เป็นชาวทิเบตแต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช้กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
ภาษาทิเบตคลาสสิก ไม่ใช้ภาษาที่ีมีวรรณยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาลบัลติไ่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปดำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก
การแบ่งตามวิธีของ Bradly ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเชตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและภาษาปูริก ไม่มีวรรณยุกต์, กลุ่มภาษาทิเบตกลาง มีวรรณยุกต์, ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง, ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล, ภาษาทิเบตเหนือ พบทางใต้ของมณฑลชิงไห่, ภาษาคาม มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในมณฑลชิงไห่ คามโด เสฉวนและยูนนาน, ภาษาอัมโด ไมมีวรรณยุกต์ ใช้พูดในชิงไห่ กันซู และเสฉวน..
ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งพม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฎาน อินเดีย และปากีสถาน
ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผุ้พูดภาษาทิเบตทุกสำเสียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น จอร์จ แวน เดรียม เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง... th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
วันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Languages and Cultures
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์อย่างยากที่จะแยกออกจากกัน ทั้งภาษาและวัฒนธรรมต่างก็มีทั้งลักษณะที่เป็นสากลและลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ นักวิชาการมีความเห็นตรงกันว่าลักษณะที่เป็นสากลของภาษาจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย ส่วนลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์จะเป็นเรื่องของทางวัฒนธรรม ปัญฐหาของสภาวะต่างภาษาในการเข้าใจข้ามภาษาที่มักพบนั้น จะมีมากเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับการมีสากลลักษณ์และเอกลักษณ์มากหรือน้อยเท่านั้น และสิ่งที่เป็นอุปสรรคอย่างยิ่งในการเข้าใจข้ามภาษาก็คือการปราศจากความรู้ในเรื่องประบททางวัฒนธรรม
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างยากที่จะกล่าวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไม่พาดพิงเกี่ยวข้องกับอีกอย่างหนึค่งได้ หลายท่านถึงกับมีความเชื่อว่า ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลัการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยัถึงความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลักการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยันถึงความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรมในศาสตร์จำนวนหนึ่ง อาทิ ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ ซึ้งมีความเช่อว่าภาษาเป้นสิ่งที่สะท้อนความนึกคิดและการมองโลกของเจ้าของภาษา หากมีการพิจารณาควรามหมายของศัพท์หวมดต่างๆ ในภาษาหนึ่งๆ แล้ว จะทำให้เรารู้และเข้าใจความนึกคิดและการมองโลกของชนที่พูดภาษานั้นได้ อาทิ คำเรียกญาติในภาษาต่างๆ จะทำให้เราเห็นค่านิยมหรือแนวความคิดที่แตกต่างกัน... อีกทั้งในแวดวงมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ก็มีความเชื่อว่ากิจกรรมต่างๆ ทางวัฒนธรรมจะสะท้อนออกมาทางภาษา และภาษาก็สามารถแสดงให้เห็นถึงคามคิดและวัฒนธรรมของมนุษย์ จึงเป็นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของภาาาและวัฒนธรรมนักวิชาการเหล่านี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโลกทัศน์และลักษณะไวยากรณ์วัฒนธรรมและอรรถศสตร์การเปลี่นแปลงของภาษาและวัฒนธรรม เป็นต้น
จากความเชื่อว่าภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อโครงสร้างและการใช้ภาษาและได้มีการศึกษาและพยายามแสดงให้เห็นถึงปรากฎการณ์ในด้านต่างๆ มีภาษาสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมหนึ่งๆ ซึ่งไม่ว่าจะเป้นการแสดงออกทางด้านไวยากรณ์ ความหาย หรือการใช้ภาาาก็ตามดังที่ได้กล่าวไปกล้วนั้น ยังมีอีกประเด็นหนึ่งในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมที่เป้นที่สนใจของนักภาษาศาสตร์ และนักมานุษยวิทยาคือ ประเด็นที่ว่าลักษณะที่ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมในด้านโครงสร้างต่างๆ ดังกล่าวนั้นเป็นเช่นเดียวกันในทุกภาษาหรือไม่และอย่างไร และหากมีความแตกต่างกันก็เชื่อได้ว่าประเด็นที่แตกต่างกันเอาจจะทำให้ป็นปัญหาในการติดต่อสื่อสารข้ามภาษาและวัฒนธรรม เนื่องจากการที่ภาาาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิดนั้น ทำให้การที่จะเข้าใจภาษาอื่นๆ จะพิจารณาเอาแต่ตัวภาษาอย่างเดียวไม่ได้จำต้องอาศัยความรู้ความมเข้าใจในวัฒนธรรมของผุ้ที่พุดภาษานั้นๆ ด้วย ดังจะได้กล่าวถึงภายใต้หัวข้อความเป็นสากลและเอกลัษณ์ของภาษาและวัฒนธรรม และการสัมผัสภาษาตามลำดับต่อไป
ภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นมีความเป็นสัมพันธภาพ ต่อกัน และเมื่อกฃ่วถึงสัมพันธภาพของภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นนักภาษาศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักวัฒนธรรมศึกษามีประเด็นปัญหาที่เป้นความสนใจร่วมกันอยู่สองประเด็นหลักคือ "อะไรคือสากลลักษณ์หรือประสบการณ์ร่วมของมนุษย์ไม่ว่าจะพุดภาษาใดหรืออยู่ในชุมชนวัฒนธรรมใดก็ตามไ และ "อะไรคือความเป็นเอกลักษณ์หรือประสบการณ์เฉพาะของมนุษย์แต่ละภาษาแต่ละวัฒนธรรม"...
ธรรมชาติทางชีวภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมของถ่ินที่อยุ่อาศัยที่คลายคลคึงกันดังที่ได้กล่าวานั้นเป็นสาเหตุของปรากฎการณืหนึ่งที่นักวิชการทางด้านวัฒนธรมศึกษาเรียกว่าการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ซึ่งเกิดขึ้นไม่มากก็นอย อีกรณีหนึ่งที่เป็นสาเหตุของการเหลือมซ้อนทางวัฒนธรรมคือการแพร่กระจายทางวัฒนะรรม ซึ่งจะไปทำให้ความเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมที่รับการแพร่กระจายเข้าไปจากภาษาและวัฒนธรรมอื่นลดลง เช่น การที่ภาาาและวัฒนธรรมของคนที่พุดภาษาอังกฤษได้แพร่กระจายเข้าแทรกวัฒนธรรมของชนชาติอื่นๆ อย่างต่อเนื่องมาตลอดตั้งแต่สมัยอาณานิบคมนั้น ทำให้เอกลักษณ์ของความเป็นชนชาตินั้นๆ ลดน้อยถอยลงไปเรื่อยๆ ในขณะที่ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมที่มีต่อชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษมีมากขึ้นเรื่อยๆ ดังน้นความสามารถในการเข้าใจข้ามภาษาจึงอาศัยปัจจัยทางสากลลัษณ์และความเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ส่วนปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาก็จะเป็นเรื่องของความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้นๆ ดังจะได้กล่วต่อไป
ปัญหาของสภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมเกิดจาการสัมผัสภาษา หมายถึงการที่ภาษาหนึ่งๆ เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากเจ้าของภาษารับเอาลักษณะบางอย่างในระบบขชองภาษาอื่นมาใช้ ซึ่งก็ย่อมต้องกรับเอาวัมนธรรมบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ด้วยเช่นกันการศึกษาเรื่องการสัมผัสภาษาอาจครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับ การแพร่กระจายภาษา, การแปลภาษา, การยืมภาษา, การพูดภาาาต่างประเทศ,การพูดสองภาษา, การแทรกแซงภาษา, การสับเปลี่ยนสัญญาณหรือภาษา, ตลอดจนการปลูกฝังภาษาใหม่
ปัญหาจการสัมผัสภาษาที่เรามักประสบอยู่บ่อยๆ ในการใช้ภาษาในสภานการ์ต่างๆ คือ การแปลและการเข้าใชข้ามภาษา การยืมภาษาและการพูดหรือใช้ภาษาต่าง ประเทศโดยทั่วไป ซึ่งปัญหาเหล่นนี้จะมีความสำคัญหรือเป็นปัญหาใหญ่ หรือไม่ขึ้นอยุ่กับความมากน้อยในการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรมและความแตกต่างทางด้านความหายของสองภาษา ดังนี้
- การแปลและการเข้าใจข้ามภาษา นำมาซึ่งความจำเป็นในการที่จะต้องเข้าใจข้ามภาษาและการแปล หล่าวคือ เมื่อภาษาตั้งแต่สองภาษามีการติดต่อและรับเอาลัาระบางอย่างของอีกระบบภาษาหนึ่งเข้ามา จะมีการเปลี่ยนแปลงในภาษานั้นๆ เกิดขึ้น ในบางครั้งการรับเอาระบบบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารเนื่องจากมีวัฒนธรรมต่างกัน การรับคำหรือไวยากรณ์ของภาษาอื่นมาใช้ไม่สามารถทำได้โดยการแปลจากความหายของคำและความสัมพันะ์ของคำในประโยคเท่านั้น ยังต้องมีความรู้ในเรื่องของปริบทเชิงวัมนธรรมอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว...
กรอบความคิดที่องวัฒนธรรม ในเรื่องของการแปลในระดับคำนั้น ความคิดหรือคำศัพท์ท่จัดว่าเป็นสากลหรืออยู่ในสวนที่เหลื่อมซ้อนกันทางวัฒนธรรมและเป็นรูปธรรม เช่น ในภาษาไทยคำว่า พ่อ แม่ ต้นไม่ ฯลฯ จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการแปลมากนักหรือไม่เป็นปัญหาต่อการแปลเลยในขณะที่คำที่บ่งวัฒนธรรม เช่น รำวง เกรงใจ ขันหมาก ฯลฯ ที่ไม่มีคำใช้ในวัฒนะรรมภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ ก็จะเป็นต้องแปลเป็นข้อความที่ยาวจึงจะได้ความหมายที่ใกล้เคียงกับความหมายเดิม..
ยิ่งไปกว่านั้นคำที่เป็นปัญหาในการแปลบางคำยังเป็นคำที่ยากสไรับเจ้าของภาษาที่จะอธิบาย และกำหนดความหมายที่แน่นอนได้ด้วยภาษาเพียงอย่างเดียว จะต้องอาศยมโนทัศน์และการลงมือปฏิบัติด้วย เช่นในการอธิบายคำว่า นิพพาน จะต้องมีความเข้าใจความหมายของพทุชธศาสนาดดยตลอด ซึ่งก็ได้มีการตีควมของคำว่า นิพพาน ต่างๆ กันไปในแต่ละพุทธนิกายและนักปราชญ์ทางศาสนาพุทธแต่ละท่านและมีข้อถกเถียงที่มไม่สามารถยุติได้ ซึ่งได้มีผู้กล่าวถึงปัญหาในการตีความของคำว่า นิพพาน ว่าเป็ฯปัญหาเรื่องความสับสนระหว่างมดนทัศน์กับการให้คึำนิยามด้วยภาษา ซึ่งมดนทัศน์ไม่สามารถสื่อได้ด้วยคำอธิบายหรือนิยามทางภาษาอันจะเป็นการจำกัดความหมายของคำว่า นิพพานความหมายจะรวมถึงสิ่งที่อยู่นอกเหนือโลกแห่งประสบการณ์ของมนุษย์ "ถ้าเราพยายามจะใช้ถอ้ยคำเพื่ออธิบายสิ่งใดก็ตามที่อยู่นอกปรสบการณ์ เราก็จำต้องดัดแปลงสิ่งนั้ั้นให้เขามาอยู่ในขอบเขตที่มนุษย์จะเข้าใจได้เสียก่อน โดยไม่คำนึงถึงความที่แท้จริงของมัน"...
บทความนี้ได้เน้นให้เห็นว่าภาษาต่างๆ มีความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมของผุ้พุดาษานั้นๆ อย่าง ใกล้ชิด ในลักาณของการอ้างอิงซึ่งกันและกัน ภาาาเป็นเสมือกุยแจไขสู่วัฒนธรรมและในขณะเดียวกันภาษาจะเป็นที่เข้าใจอย่างแท้จริงลึกซึ้งมิได้ถ้าปราศจากความรุ้ในเรื่องปริบททางวัฒนธรรมดังนั้นภาษาและวัฒนธรรมควรมีการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน การสอนภาษาต่างประเทศในดรงเรียนจึงเป็นการสอนวันธรรมของภาษาต่างประเทศนั้นๆ ไปในตัวในรูปของการเป็น "ภาษาแห่งวัฒนธรรม" มากกว่าที่จะเป็นภาษาโดยเอกเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีคำกล่าวที่ว่าภาษาเป็นตัวบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของผุ้พูด ังที่ วิลเฮม วอน ฮัมโบลดท์ กล่าวไว้ว่า "A language veils the world for the its speakers" ในกรณีที่มีการสัมผัสภาษาเกิดขึ้นนั้น สภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมจะก่อให้เิดปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษา ซึ่งไม่ได้เกิดจากความรู้ในตัวของภาษาแต่เพียงอย่างเดียวต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้พุดภาษานั้นๆ ด้วย ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจะมีมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยุ่กับสากลลักษณ์แฃละเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้น ซึ่งหากภาษาและวัฒนธรรมมีความเป็นสากลลักษณ์มากหรือมีความเป็นเอกลักษณ์น้อยเพียงใด ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาและวัฒนธรรมก็มีมากน้อยเพียงนั้น..( บางส่วนจากบทความ "สากลลักษณ์และเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนธรรมสิ่งอำนวยและอุปสรรคในการสัมผัสภาษา". อัญชลี สิงห์น้อย)
หากคนทั้งโลกพูดภาษาเดียวกันสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลก มีวัฒนธรรมเดียวกันเหมือนกันทุกประเทศ โลกนี้คงไม่มีสีสัน เพราะไม่มีคึวามแปลกแตกต่างอันใดที่น่าค้นหา แต่เพราะคนในโลกพูดกันคนละภาษา มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกัน จึงทำให้โลกนี้น่าศึกษาน่าค้นหา ความแปลกแตกต่างกันนี้เองคือเสน่ห์อย่างหนึ่งของโลก หากคนพูดภาษาเดียวกัน ภาษานั้นควรจะเป็นภาษาอะไรหากทุกประเทศจะมีวัฒนธรรมร่วมกันวัฒนธรรมนั้นควรจะเป็นวัฒนธรรมอะไร
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ได้จัดโครงการ "ส่งเสริมการอยุ่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด" โดยเชิญคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต มาร่วมสมัมนา เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของบุคคลากรให้สามารถดำรงอยู่ได้ในเวทีอาเซียนอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ยอ่งเหมาะสม สถานที่จัดงานอยู่ที่อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
...การรวมตัวของประเทศที่มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกันนั้น จะหาความเป็นเอกภาพหรือความเป็นหนึ่งนั้นมิใช่เรื่องง่าย มีเพียงวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างเท่านั้นที่เหมือนกันเช่นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ซึ่งเปลี่ยนพร้อมกันทั่วโลก พอจะยึดถือวันขึ้นปีใหม่เป็นประเพณีประจำปีของอาเซียนได้ แต่บางประเพณีมีเพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ยังถือปฏิบัติเช่นในเดือนเมษายน ประเทศไทยและลาวมีประเพณีวันสงกรานต์ แต่ชาติอื่นในอาเซียนอาจจะไม่เน้นในประเพณีนี้ จะหลอมรวมความเป้นหนึ่งได้อย่างไร
ภาษาและวัฒนธรรม ในประเทศกลุ่มประชาคมอาเซียนมีวัฒนธรรมหลายกลุ่ม วิทยากรท่านหนึ่งได้จำแนกออกเป็นหกกกลุ่มคือ วัฒนธรรมพื้นบ้าน, วัฒนธรรมพราหมณ์-ฮินดู, วัฒนธรรมพุทธ, วัฒนธรรมอิสลาม, วัฒนธรรมคริสต์, วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วัฒนธรรมที่เป้นสากลในอาเซียนส่วนหนึ่งมาจากศาสนา แต่ละศาสนาต่างก็มีอัตลักษณของตนเอง การที่จะให้คนทั้งสิบประเทศเหลี่ยนมนับถือศาสนาเดียวกันหมดคงเป็นไปได้ยาก เรื่องของความเชื่อนั้นบังคับกันไม่ได้ ... ทางออกที่ดีที่สุดคือต้องยอมรับในวัฒนธรรมของแต่ละประเทส ยอมรับในความแตกต่าง ใครมีความเชื่ออย่างไรก็ปฏิบัติตามหลักการที่ตนเคยปฏิบัติ เหมือนป่าไม้ใหญ่ ไม่ได้มีต้นไม้ชนิดเดียว แต่มีต้นไม้ หลายพันธุ์อยู่ด้วยกัน จึงเรียกว่าป่า หากใครคิดที่จะนำต้นไม้มาผูกรวมกันให้เป็นไม้ต้นเดียวกัน ไม่นานต้นไม้ก็จะงอกงามตามธรรมชาติไม่ได้.. ปรียบดังภาษาและวัฒนธรรม อาเซียนก็มีหลายภาษาหลายวัฒนธรรม แต่ละประเทสไม่รุกล้ำล่วงเกินวัฒฯธรรมของแต่ละชาติพันธุ์ ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ มีวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่เป้นวัฒนธรรมร่วมกันได้คือวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่งเท่าเียมกัน เป็นวัฒนธรรมร่วมของคนทั้งโลก
ด้านภาาาในประชาคมอาเซียนก็มีภาษาหลายตระกูลเช่นภาษาตระกูลออสโตรเอเซียติก ภาษาตระกูลไท-กะได ภาษาตระกูลจีน-ทิเบตรวมถึง พม่า ภาษาตระกูลม้งเย้า ภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปี้น เป้ฯต้นแต่ละประเทศก็มีภาษาของตนเอง บางประเทศยังมีภาษาท้องถ่ินแยกย่อยออกไปอีกหลายสิบภาษา ดังนั้น ในการเข้าร่วมกลุ่มประชาคมอาเซียนจึงกำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสาร แต่ปัญหาก็เกิดขึ้นอีกว่าแล้วคนประเภทไหนที่จะใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารกันได้บ้าง
ในส่วนของนักธุรกิจตอ้องสือสารกันได้อยู่แล้ว นักวิชากการพอจะอนุมานได้ว่าคงพอคุยกันรู้เรื่อง แต่สำหรับชาวบ้านจะติดต่อสื่อสารกันอย่างไร คในชนบทจะสื่อสารกับคนในประเทศอื่นรู้เรีองหรือไม่ ปัญหาด้านภาษาคงพอจะปรับเปลี่ยนแก้ไขกันได้เพียงบางส่วน แต่จะให้คนไทยพูดภาษาอังกฤษได้คล่องเหมือนกับคนในประเทศฟิลิปปินส์และสิงคโปร์คงต้องใช้เวลาอีกหลายปี
แต่ทว่าภาษามิใช่สิ่งที่ปิดกั้นพรมแดนแห่งการติดต่อ เพราะภาษาเป็ฯส่วนหนึ่งของการสื่อสาร ผุ้ที่เรียนรู้ภาษาของอีกคนกลุ่มได้อาจจะได้เปรียบบ้าง แต่คงไม่มากนัก หากจะเรียนทุกภาษาในอาเซียนคงยาก ดังนั้นเรียนภาษาอังกฤษไว้บ้าง พอติดต่อสื่อสารกันได้บ้างก็น่าจะเพียงพอ
เป็นที่น่าสังเกตว่าปัจุบัแม้ว่าประชาคมอาเซียนจะไม่เปิดอย่างเป็นทางการ แต่ในทางปฏิบัติบางพื้นที่ในประเทศไทย มีประชาคมอาเซียนอยางไม่เป้ฯทางการมานานแล้ว มีการอยุ่ร่วมกัน ทำงานร่วมกันมานานหลายปีแล้วเช่นที่มหาชัย สถานที่บางแห่งถึงกับต้องมีภาษาของหลายประเทศไว้เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
หากใครผ่านไปที่มหาชัยเห้นภาษาเมียนมาร์ ภาษาลาว ภาษากัมพุชาติดประกาศตามสถานที่บางแห่งก็ไม่ต้องแปลกใจ เพราะที่เมืองนี้มีคนจากประเทศเพื่อนบ้านมาทำงานจำนวนมาก ดูเหมือนว่าเศราฐกิจของเมืองนี้ส่วนหนึ่งอยู่ที่คนงานจากต่างประเทศ หากคนงานเหล่านี้ประกาศอยุดงานพร้อมกัน เมื่องนี้ก็จะกลายเป้ฯอัมพาตไปทันที่ มหาชัยจึงน่าจะเป็นเมืองต้นแบบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้...
วันแรกของการสัมนาได้ฟังวิทยากรบรรยายสามเรื่องว่าด้วยภาษาและวัฒนธรมอาเซียน พระพุทธศาสนาในประชาคมอาเซียนกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 11 การสัมมนายังมีอีกหลายวัน วันนี้เป็นเหมือนการเตรียมความพร้อมในการเพ่ิมทักษะภาษาอังกฤษไปพลางก่อน
cybervanaram.net/2009-12-17-14-44-23-14/1230-2015-12-17-14-13-57
วัฒนธรรมและภาษาในอาเซียนเพียงสองเรื่องก็น่าจะทำงานวิจัยได้หลายเล่ม เพียงแค่ภาษาในตระกูฃไท-กะไดอย่างเดียวก็ยากที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจได้หมด แ้ชนเผ่าไทอย่งอเดียวก็มีไทหลายเผ่าเช่น ไทดำ ไทขาว ไทแดง เป็นต้นกระจายกันอยู่ในแต่ภูมิภาคของโลกบางกลุ่มพอคุยกันรู้เรื่องบ้างเช่นไทยในสิบสองปันนา จีน ไทในอัสสัม อินเดียว ไทในรัฐฉาน เมียนมาร์ เป็นต้น หากจะเรียนรู้ทุกภาษาแลุวัฒนธรรมในอาเว๊ยนอย่างจริงจัง คงต้องใช้เวลาอีกนาน ถึงแม้จะไม่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมของชาติอื่นก็ไม่เป็นไรนัก แต่หากไม่เข้าใจวัฒนธรรมของชาติตนแล้วก็ยากจะอยุ่ร่วมกับคนในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด...
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งในยุคสมัยต่างๆ ที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวัตน์ขึ้นในภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนตามกรอบแนคิดของอัปปาดูไร ที่ว่า "ความสลับซับซ้อนของโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันจึงจำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐาน ี่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ในระหว่างเรื่องของเศราฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ในลัษณะของการไหลเวียน ใน 5 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและมีผลกระทบต่อโลกอันได้แก่
- การไหลเวียนในมิติของมนุษย์หรือชาติพันธุ์นรูปของนักท่องเที่ยว ผู้อพบพลี้ภัย คนพลัดถิ่นและแรงงานข้ามชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเทคโนโลยีที่ตัดข้ามเส้นแบ่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นเเบ่ง รัฐ-ชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเวินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้าในระดับโลก
- การไหลเวียนในมิติของสื่อซึ่งกลายเป็นรากฐานสำคัญของการจินตนาการเกี่ยวกับตัวตนของคนในโลกปัจจุบัน
- การไหลเวียนนมิติของอุดมการณื เช่น อุดมการณืประชาธิปไตย
กระแสโลกาภิวัตน์ทั้ง 5 มิตินี้ได้ไหลเวียนข้ามพรมแดนรัฐ-ชาติในระดับต่างๆ อย่างทั่วถึง เป็นการไหลเคลื่อนย้ายต่างระดับความเร็ว ต่างแกน ต่างจุดเริ่มต้น และปลายทาง ดลกาภิวัตน์จึงไม่ใช่ดลกของความเป็นหนึ่งเดียวและกลมกลืน แต่ผนึกด้วยภาซะไม่เท่าเทียม สับสนวุนวายและสบลับซับซ้อนที่ทำให้เกตุการณ์ความร่วมมือ ความขัดแย้ง การสู้รบระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ระหว่างประเทศต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้วในประวัติศาสตร์ ส่งกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือทำให้เกดกระแสชาตินิยม ดดยเฉพาะประเทศที่มีพรมแดนติดกัน ขณะเดียวกันไ้นำไปสู่การไหลเวียนของผุ้คนที่เข้ามาพร้อมกับมิติอื่นๆ อีก 4 มิติ ที่อัปปาดูไรได้ให้คำนิยามไว้ ดดยในยุคแรกผุ้คนจากภุิภาคื่อนเคลื่อนย้าาย
เข้ามาสุ่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ หรือผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเดียวกันอพยยพพข้ามประเทศไปมา ไม่ว่าจะในฐานะนักท่องเที่ยว คนพลัดถิ่น ผุ้อพยพลี้ภัย หรือแรงงานชข้ามชาติก็ตามถือเป็นปรากฎการณืของกระแสโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ในภุมิภาคนี้ ดังกรณีตัวอย่่างต่อไปนี้
-แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยหลักการแรงงาน เกิดจากปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในบริบทของพื้นที่นั้นๆ ปัจจัยผลักดันจากประเทศต้นทางมีสาเหตุจาก อัตราว่างงานสูง ระดับค่าจ้างที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับต่างงประเทศ ขาดสิ่งจูงใจสำหรับความก้าวหน้าใอาชีพ นโยบายการพัฒนากำลังคนที่ไม่เหมาะสมค่านิยมทางสังคม นดยบายทางเศราฐกิจของประเทศ ความไม่มั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ่วนปัจจัยดึงดูดสุ่ประเทศปลายทาง มีสาเหตุจากระดับค่าจ้างและเงนิเดือนที่สูงกว่ามาก การขาดแคลนแรงงานในบางสาขา โอาสและความก้าวหน้าในอาชีพ การให้นักศึกษาต่างประเทศมีโอกาสเข้ารับการศึกษาอบรมได้ในประเทศปลายทาง และปัจจัยทางสังคมและการเมือง
ประเทศเมียนมาร์ ในฐานะประเทศหนึ่งในสมาชิกของประชาคมอาเซียเกิดปัจจัยผลักดันประการต่างๆ ขึ้นในประเทศ และประเทศไทยซึ่งเป้นหนึ่งในประเทศปลายทวที่มีปัจจัยดึงดูด เช่น มีความมั่นคงทางด้านเสณาฐิจสังคมมากกว่า มีอัตราค่าจ้างและเงินเดือนที่สูงกว่ามาก และการขาดแคลนแรงงานตามแนวคิดการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศตามเหตุปัจจัยที่ผลักดัน และดึงดูด ให้เกิดการอพบยยแรงงานข้ามชาติขึค้น ซึ่งนำไปสู่ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมที่หากปล่อยปละละเลยจะส่งผลกระทบด้านเสียหายต่อสังตสในประทเศจ้างงานเป็นอย่างยิ่งดังที่กำลัีงเกิดขึค้นในบางพื้นที่ของประเทศไทยในปัจจุบัน
- คนพลัดถิ่นในประเทศไทย คนพลัดถืิ่นตามนิยามที่โรบิน โคเฮ็น ให้ไว้หมายถึงกลุ่มคนหรือชุมชนข้ามพรมแดรรัฐ -ชาติ ที่มีคุณลักษะร่วมที่สำคัญเก้าประการคือ เป็นกลุ่มคนที่กระจายอยู่นอกมาตุภูิมต้งแต่สองแห่งหรือสองประเทศขึ้นไป, สาเหตุการกระจายในข้อแรกอาจมาจากการบังคับ การแสวงหางานทำ การค้าหรือนโยบายของเจ้าอาณานิคม, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความทรงจำร่วมเกี่ยวกัีบถิ่นกำเนิด, กลุ่มคนเหล่านั้นมีอุดมคติและพันธร่วมในการรักษา ฟื้นฟูสร้างความปลอดภัย ความมั่นคงแก่มาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกร่วมและกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อกลับมาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เข้มข้น และสำนึกดังกล่าวได้รับการธำรงไว้ข้ามกาลเวลา, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ุไม่ราบรื่นกับสังคมของประเทศที่ตนอาศัยอยุ่ในปัจจุบัน, กลุ่มคนเหล่านั้นมีควาเห้ฯอกเห็นใจและมีความเป็นปึกแผ่นหรือความสมานฉันท์กับคนพลัดถิ่นชาติพันู์เดียวกันในอีกประเทศฅ กลุ่มคนเหล่านั้นอาจจะมีชีวิตที่เฉพาะสร้างสรรค์ และมั่งคั่งในประเทศพักพิงที่มีขันติธรรมต่อความแตกต่างทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม
คุณลักษระร่วมตามนิยามดังกล่าวนี้โคเฮ็นเสนอว่าไม่จำเป้นต้องพบครบทุกประการในชุมชนคนพลัดถิ่นหนึ่งๆ คำว่า คนพลัพถิ่น จึงเป็นคำกลางๆ ที่ใช้เรียกกับคนที่อยุ่ข้ามพรมแดนประเทศแม่ของตน โดยนิยามดังกลาวนี้ทำให้เห็นกลุ่มคนพลัดถิ่นในประเทศไทยที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
- ชุมชนคนพลัดถืิ่นที่เกดจกการบีบบังคับหรือตกเป็นเหบยื่อ เช่น ชาวเขมรลี้ภัยสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในประเทศ กลุ่มกะเหรี่ยง ที่อยู่ในค่ายตมแนวชายแดนไทย- พท่ามากกว่า 30 ปี เป็นต้น
ชุมชนพลัดถ่ินที่เกิดจากกิจกรรมการต้า เช่น ชาวอินเดีย ชาวจีนในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่เดินทางมาหนีร้อนมาเพื่อแสวงหาดอกาสทางการต้าในดินแดนใหม่ๆ
- นักท่องเที่ยวในประเทศไทย สถิติสำนักงานตรวจคนเชข้าเมืองและกรมการท่องเทียวรายงานว่า ในปี 2555 มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวในประทเศไทยมากว่า 22 ล้านคน จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในไทย 10 อันดับแรกในต้นปี 2556 ได้แก่ จีน มาเลเซีย รัสเซีย ญี่ปุ่น เกาหบลี อินเดีย สหราชอาณาจักร อเมริกา ออสเตรเลียปละเยอรมนี ได้จำนวนนี้มีนัำท่องเที่ยวจาภูมิภาคอาเซียนมาเที่ยวประเทศไทยคิดเป็นร้อยละ 24 จัดเป็น 1 ใน 4 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด โดยมีมาเลเซย ลาว และสิงคโปร์มาเที่ยวมากที่สุดตามลำดับ จะเห็นว่านักท่องเที่ยวที่เข้ามาประเทศไทยมิใช้แต่ชาตอที่พูดภาษาอังกฤษอย่างเดียวเท่านั้น หากแต่มีความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมมากขึ้นนอกจากนี้ ยังมีผุ้ที่เกี่ยวข้องกับภาคบริการนักท่องเที่ยว เช่น ร้านขายของที่ระลึก ร้านตัดเสื้อ ร้านอาหาร ดรงแรม ที่พัก เป็นต้น ที่มีพนักงานต้อนรับเป็นชาวต่างชาติที่หน้าตาดูเหมือนมาจากเอเชียใต้ แต่เมื่อสอบถามไปจะได้คำตอบว่าส่วนใหญ่เป็นชาวพม่าเชื่อสายเนปาลีที่พูดภาษาอังกฤษได้คล่อง ซึ่งพบได้ทั่วไปตามสถานที่ท่องเทียวชายทะเลที่มีช่อเสียงของไทย จึงเกิดคำถามว่าแล้วคนไทยทำอะไรบ้างในภาคการท่องเที่ยว...
กระสแโลกาภิวัตน์ในภาษาและวัฒนธรรม กรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยดังกล่าวข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนที่จำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ระหว่างเรื่องของเศรษบกิจ ภาษา วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองในลักษณะของการไหลเวียน ในมิติชาติพันธุ์ในรูปของนักท่องเทียว ผุ้อพยพ คนพลัดถิ่น และแรงงานข้ามชาติ ในมิติของมนุษย์ ในมิติของเทคโนโลยี ในมิติของเงินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้า ในมิติตของสื่อ และในมิติตของอุดมการณ์ เช่น ประชาธิปไตย ที่ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทุกมิติ และมีผลกระทบต่ออาเซียนตามกรอบแนวคิดของอัปปาดูโร(1990) ดังกล่าว..(บทความ "ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนในยุคโลกาภิวัตน์ : ความท้าทายของประเทศไทย, โสภนา ศรีจำปา)
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างยากที่จะกล่าวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไม่พาดพิงเกี่ยวข้องกับอีกอย่างหนึค่งได้ หลายท่านถึงกับมีความเชื่อว่า ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลัการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยัถึงความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลักการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยันถึงความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรมในศาสตร์จำนวนหนึ่ง อาทิ ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ ซึ้งมีความเช่อว่าภาษาเป้นสิ่งที่สะท้อนความนึกคิดและการมองโลกของเจ้าของภาษา หากมีการพิจารณาควรามหมายของศัพท์หวมดต่างๆ ในภาษาหนึ่งๆ แล้ว จะทำให้เรารู้และเข้าใจความนึกคิดและการมองโลกของชนที่พูดภาษานั้นได้ อาทิ คำเรียกญาติในภาษาต่างๆ จะทำให้เราเห็นค่านิยมหรือแนวความคิดที่แตกต่างกัน... อีกทั้งในแวดวงมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ก็มีความเชื่อว่ากิจกรรมต่างๆ ทางวัฒนธรรมจะสะท้อนออกมาทางภาษา และภาษาก็สามารถแสดงให้เห็นถึงคามคิดและวัฒนธรรมของมนุษย์ จึงเป็นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของภาาาและวัฒนธรรมนักวิชาการเหล่านี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโลกทัศน์และลักษณะไวยากรณ์วัฒนธรรมและอรรถศสตร์การเปลี่นแปลงของภาษาและวัฒนธรรม เป็นต้น
จากความเชื่อว่าภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อโครงสร้างและการใช้ภาษาและได้มีการศึกษาและพยายามแสดงให้เห็นถึงปรากฎการณ์ในด้านต่างๆ มีภาษาสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมหนึ่งๆ ซึ่งไม่ว่าจะเป้นการแสดงออกทางด้านไวยากรณ์ ความหาย หรือการใช้ภาาาก็ตามดังที่ได้กล่าวไปกล้วนั้น ยังมีอีกประเด็นหนึ่งในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมที่เป้นที่สนใจของนักภาษาศาสตร์ และนักมานุษยวิทยาคือ ประเด็นที่ว่าลักษณะที่ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมในด้านโครงสร้างต่างๆ ดังกล่าวนั้นเป็นเช่นเดียวกันในทุกภาษาหรือไม่และอย่างไร และหากมีความแตกต่างกันก็เชื่อได้ว่าประเด็นที่แตกต่างกันเอาจจะทำให้ป็นปัญหาในการติดต่อสื่อสารข้ามภาษาและวัฒนธรรม เนื่องจากการที่ภาาาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิดนั้น ทำให้การที่จะเข้าใจภาษาอื่นๆ จะพิจารณาเอาแต่ตัวภาษาอย่างเดียวไม่ได้จำต้องอาศัยความรู้ความมเข้าใจในวัฒนธรรมของผุ้ที่พุดภาษานั้นๆ ด้วย ดังจะได้กล่าวถึงภายใต้หัวข้อความเป็นสากลและเอกลัษณ์ของภาษาและวัฒนธรรม และการสัมผัสภาษาตามลำดับต่อไป
ภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นมีความเป็นสัมพันธภาพ ต่อกัน และเมื่อกฃ่วถึงสัมพันธภาพของภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นนักภาษาศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักวัฒนธรรมศึกษามีประเด็นปัญหาที่เป้นความสนใจร่วมกันอยู่สองประเด็นหลักคือ "อะไรคือสากลลักษณ์หรือประสบการณ์ร่วมของมนุษย์ไม่ว่าจะพุดภาษาใดหรืออยู่ในชุมชนวัฒนธรรมใดก็ตามไ และ "อะไรคือความเป็นเอกลักษณ์หรือประสบการณ์เฉพาะของมนุษย์แต่ละภาษาแต่ละวัฒนธรรม"...
ธรรมชาติทางชีวภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมของถ่ินที่อยุ่อาศัยที่คลายคลคึงกันดังที่ได้กล่าวานั้นเป็นสาเหตุของปรากฎการณืหนึ่งที่นักวิชการทางด้านวัฒนธรมศึกษาเรียกว่าการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ซึ่งเกิดขึ้นไม่มากก็นอย อีกรณีหนึ่งที่เป็นสาเหตุของการเหลือมซ้อนทางวัฒนธรรมคือการแพร่กระจายทางวัฒนะรรม ซึ่งจะไปทำให้ความเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมที่รับการแพร่กระจายเข้าไปจากภาษาและวัฒนธรรมอื่นลดลง เช่น การที่ภาาาและวัฒนธรรมของคนที่พุดภาษาอังกฤษได้แพร่กระจายเข้าแทรกวัฒนธรรมของชนชาติอื่นๆ อย่างต่อเนื่องมาตลอดตั้งแต่สมัยอาณานิบคมนั้น ทำให้เอกลักษณ์ของความเป็นชนชาตินั้นๆ ลดน้อยถอยลงไปเรื่อยๆ ในขณะที่ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมที่มีต่อชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษมีมากขึ้นเรื่อยๆ ดังน้นความสามารถในการเข้าใจข้ามภาษาจึงอาศัยปัจจัยทางสากลลัษณ์และความเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ส่วนปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาก็จะเป็นเรื่องของความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้นๆ ดังจะได้กล่วต่อไป
ปัญหาของสภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมเกิดจาการสัมผัสภาษา หมายถึงการที่ภาษาหนึ่งๆ เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากเจ้าของภาษารับเอาลักษณะบางอย่างในระบบขชองภาษาอื่นมาใช้ ซึ่งก็ย่อมต้องกรับเอาวัมนธรรมบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ด้วยเช่นกันการศึกษาเรื่องการสัมผัสภาษาอาจครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับ การแพร่กระจายภาษา, การแปลภาษา, การยืมภาษา, การพูดภาาาต่างประเทศ,การพูดสองภาษา, การแทรกแซงภาษา, การสับเปลี่ยนสัญญาณหรือภาษา, ตลอดจนการปลูกฝังภาษาใหม่
ปัญหาจการสัมผัสภาษาที่เรามักประสบอยู่บ่อยๆ ในการใช้ภาษาในสภานการ์ต่างๆ คือ การแปลและการเข้าใชข้ามภาษา การยืมภาษาและการพูดหรือใช้ภาษาต่าง ประเทศโดยทั่วไป ซึ่งปัญหาเหล่นนี้จะมีความสำคัญหรือเป็นปัญหาใหญ่ หรือไม่ขึ้นอยุ่กับความมากน้อยในการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรมและความแตกต่างทางด้านความหายของสองภาษา ดังนี้
- การแปลและการเข้าใจข้ามภาษา นำมาซึ่งความจำเป็นในการที่จะต้องเข้าใจข้ามภาษาและการแปล หล่าวคือ เมื่อภาษาตั้งแต่สองภาษามีการติดต่อและรับเอาลัาระบางอย่างของอีกระบบภาษาหนึ่งเข้ามา จะมีการเปลี่ยนแปลงในภาษานั้นๆ เกิดขึ้น ในบางครั้งการรับเอาระบบบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารเนื่องจากมีวัฒนธรรมต่างกัน การรับคำหรือไวยากรณ์ของภาษาอื่นมาใช้ไม่สามารถทำได้โดยการแปลจากความหายของคำและความสัมพันะ์ของคำในประโยคเท่านั้น ยังต้องมีความรู้ในเรื่องของปริบทเชิงวัมนธรรมอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว...
กรอบความคิดที่องวัฒนธรรม ในเรื่องของการแปลในระดับคำนั้น ความคิดหรือคำศัพท์ท่จัดว่าเป็นสากลหรืออยู่ในสวนที่เหลื่อมซ้อนกันทางวัฒนธรรมและเป็นรูปธรรม เช่น ในภาษาไทยคำว่า พ่อ แม่ ต้นไม่ ฯลฯ จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการแปลมากนักหรือไม่เป็นปัญหาต่อการแปลเลยในขณะที่คำที่บ่งวัฒนธรรม เช่น รำวง เกรงใจ ขันหมาก ฯลฯ ที่ไม่มีคำใช้ในวัฒนะรรมภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ ก็จะเป็นต้องแปลเป็นข้อความที่ยาวจึงจะได้ความหมายที่ใกล้เคียงกับความหมายเดิม..
ยิ่งไปกว่านั้นคำที่เป็นปัญหาในการแปลบางคำยังเป็นคำที่ยากสไรับเจ้าของภาษาที่จะอธิบาย และกำหนดความหมายที่แน่นอนได้ด้วยภาษาเพียงอย่างเดียว จะต้องอาศยมโนทัศน์และการลงมือปฏิบัติด้วย เช่นในการอธิบายคำว่า นิพพาน จะต้องมีความเข้าใจความหมายของพทุชธศาสนาดดยตลอด ซึ่งก็ได้มีการตีควมของคำว่า นิพพาน ต่างๆ กันไปในแต่ละพุทธนิกายและนักปราชญ์ทางศาสนาพุทธแต่ละท่านและมีข้อถกเถียงที่มไม่สามารถยุติได้ ซึ่งได้มีผู้กล่าวถึงปัญหาในการตีความของคำว่า นิพพาน ว่าเป็ฯปัญหาเรื่องความสับสนระหว่างมดนทัศน์กับการให้คึำนิยามด้วยภาษา ซึ่งมดนทัศน์ไม่สามารถสื่อได้ด้วยคำอธิบายหรือนิยามทางภาษาอันจะเป็นการจำกัดความหมายของคำว่า นิพพานความหมายจะรวมถึงสิ่งที่อยู่นอกเหนือโลกแห่งประสบการณ์ของมนุษย์ "ถ้าเราพยายามจะใช้ถอ้ยคำเพื่ออธิบายสิ่งใดก็ตามที่อยู่นอกปรสบการณ์ เราก็จำต้องดัดแปลงสิ่งนั้ั้นให้เขามาอยู่ในขอบเขตที่มนุษย์จะเข้าใจได้เสียก่อน โดยไม่คำนึงถึงความที่แท้จริงของมัน"...
บทความนี้ได้เน้นให้เห็นว่าภาษาต่างๆ มีความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมของผุ้พุดาษานั้นๆ อย่าง ใกล้ชิด ในลักาณของการอ้างอิงซึ่งกันและกัน ภาาาเป็นเสมือกุยแจไขสู่วัฒนธรรมและในขณะเดียวกันภาษาจะเป็นที่เข้าใจอย่างแท้จริงลึกซึ้งมิได้ถ้าปราศจากความรุ้ในเรื่องปริบททางวัฒนธรรมดังนั้นภาษาและวัฒนธรรมควรมีการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน การสอนภาษาต่างประเทศในดรงเรียนจึงเป็นการสอนวันธรรมของภาษาต่างประเทศนั้นๆ ไปในตัวในรูปของการเป็น "ภาษาแห่งวัฒนธรรม" มากกว่าที่จะเป็นภาษาโดยเอกเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีคำกล่าวที่ว่าภาษาเป็นตัวบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของผุ้พูด ังที่ วิลเฮม วอน ฮัมโบลดท์ กล่าวไว้ว่า "A language veils the world for the its speakers" ในกรณีที่มีการสัมผัสภาษาเกิดขึ้นนั้น สภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมจะก่อให้เิดปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษา ซึ่งไม่ได้เกิดจากความรู้ในตัวของภาษาแต่เพียงอย่างเดียวต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้พุดภาษานั้นๆ ด้วย ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจะมีมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยุ่กับสากลลักษณ์แฃละเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้น ซึ่งหากภาษาและวัฒนธรรมมีความเป็นสากลลักษณ์มากหรือมีความเป็นเอกลักษณ์น้อยเพียงใด ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาและวัฒนธรรมก็มีมากน้อยเพียงนั้น..( บางส่วนจากบทความ "สากลลักษณ์และเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนธรรมสิ่งอำนวยและอุปสรรคในการสัมผัสภาษา". อัญชลี สิงห์น้อย)
หากคนทั้งโลกพูดภาษาเดียวกันสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลก มีวัฒนธรรมเดียวกันเหมือนกันทุกประเทศ โลกนี้คงไม่มีสีสัน เพราะไม่มีคึวามแปลกแตกต่างอันใดที่น่าค้นหา แต่เพราะคนในโลกพูดกันคนละภาษา มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกัน จึงทำให้โลกนี้น่าศึกษาน่าค้นหา ความแปลกแตกต่างกันนี้เองคือเสน่ห์อย่างหนึ่งของโลก หากคนพูดภาษาเดียวกัน ภาษานั้นควรจะเป็นภาษาอะไรหากทุกประเทศจะมีวัฒนธรรมร่วมกันวัฒนธรรมนั้นควรจะเป็นวัฒนธรรมอะไร
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ได้จัดโครงการ "ส่งเสริมการอยุ่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด" โดยเชิญคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต มาร่วมสมัมนา เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของบุคคลากรให้สามารถดำรงอยู่ได้ในเวทีอาเซียนอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ยอ่งเหมาะสม สถานที่จัดงานอยู่ที่อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
...การรวมตัวของประเทศที่มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกันนั้น จะหาความเป็นเอกภาพหรือความเป็นหนึ่งนั้นมิใช่เรื่องง่าย มีเพียงวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างเท่านั้นที่เหมือนกันเช่นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ซึ่งเปลี่ยนพร้อมกันทั่วโลก พอจะยึดถือวันขึ้นปีใหม่เป็นประเพณีประจำปีของอาเซียนได้ แต่บางประเพณีมีเพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ยังถือปฏิบัติเช่นในเดือนเมษายน ประเทศไทยและลาวมีประเพณีวันสงกรานต์ แต่ชาติอื่นในอาเซียนอาจจะไม่เน้นในประเพณีนี้ จะหลอมรวมความเป้นหนึ่งได้อย่างไร
ภาษาและวัฒนธรรม ในประเทศกลุ่มประชาคมอาเซียนมีวัฒนธรรมหลายกลุ่ม วิทยากรท่านหนึ่งได้จำแนกออกเป็นหกกกลุ่มคือ วัฒนธรรมพื้นบ้าน, วัฒนธรรมพราหมณ์-ฮินดู, วัฒนธรรมพุทธ, วัฒนธรรมอิสลาม, วัฒนธรรมคริสต์, วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วัฒนธรรมที่เป้นสากลในอาเซียนส่วนหนึ่งมาจากศาสนา แต่ละศาสนาต่างก็มีอัตลักษณของตนเอง การที่จะให้คนทั้งสิบประเทศเหลี่ยนมนับถือศาสนาเดียวกันหมดคงเป็นไปได้ยาก เรื่องของความเชื่อนั้นบังคับกันไม่ได้ ... ทางออกที่ดีที่สุดคือต้องยอมรับในวัฒนธรรมของแต่ละประเทส ยอมรับในความแตกต่าง ใครมีความเชื่ออย่างไรก็ปฏิบัติตามหลักการที่ตนเคยปฏิบัติ เหมือนป่าไม้ใหญ่ ไม่ได้มีต้นไม้ชนิดเดียว แต่มีต้นไม้ หลายพันธุ์อยู่ด้วยกัน จึงเรียกว่าป่า หากใครคิดที่จะนำต้นไม้มาผูกรวมกันให้เป็นไม้ต้นเดียวกัน ไม่นานต้นไม้ก็จะงอกงามตามธรรมชาติไม่ได้.. ปรียบดังภาษาและวัฒนธรรม อาเซียนก็มีหลายภาษาหลายวัฒนธรรม แต่ละประเทสไม่รุกล้ำล่วงเกินวัฒฯธรรมของแต่ละชาติพันธุ์ ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ มีวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่เป้นวัฒนธรรมร่วมกันได้คือวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่งเท่าเียมกัน เป็นวัฒนธรรมร่วมของคนทั้งโลก
ด้านภาาาในประชาคมอาเซียนก็มีภาษาหลายตระกูลเช่นภาษาตระกูลออสโตรเอเซียติก ภาษาตระกูลไท-กะได ภาษาตระกูลจีน-ทิเบตรวมถึง พม่า ภาษาตระกูลม้งเย้า ภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปี้น เป้ฯต้นแต่ละประเทศก็มีภาษาของตนเอง บางประเทศยังมีภาษาท้องถ่ินแยกย่อยออกไปอีกหลายสิบภาษา ดังนั้น ในการเข้าร่วมกลุ่มประชาคมอาเซียนจึงกำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสาร แต่ปัญหาก็เกิดขึ้นอีกว่าแล้วคนประเภทไหนที่จะใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารกันได้บ้าง
ในส่วนของนักธุรกิจตอ้องสือสารกันได้อยู่แล้ว นักวิชากการพอจะอนุมานได้ว่าคงพอคุยกันรู้เรื่อง แต่สำหรับชาวบ้านจะติดต่อสื่อสารกันอย่างไร คในชนบทจะสื่อสารกับคนในประเทศอื่นรู้เรีองหรือไม่ ปัญหาด้านภาษาคงพอจะปรับเปลี่ยนแก้ไขกันได้เพียงบางส่วน แต่จะให้คนไทยพูดภาษาอังกฤษได้คล่องเหมือนกับคนในประเทศฟิลิปปินส์และสิงคโปร์คงต้องใช้เวลาอีกหลายปี
แต่ทว่าภาษามิใช่สิ่งที่ปิดกั้นพรมแดนแห่งการติดต่อ เพราะภาษาเป็ฯส่วนหนึ่งของการสื่อสาร ผุ้ที่เรียนรู้ภาษาของอีกคนกลุ่มได้อาจจะได้เปรียบบ้าง แต่คงไม่มากนัก หากจะเรียนทุกภาษาในอาเซียนคงยาก ดังนั้นเรียนภาษาอังกฤษไว้บ้าง พอติดต่อสื่อสารกันได้บ้างก็น่าจะเพียงพอ
เป็นที่น่าสังเกตว่าปัจุบัแม้ว่าประชาคมอาเซียนจะไม่เปิดอย่างเป็นทางการ แต่ในทางปฏิบัติบางพื้นที่ในประเทศไทย มีประชาคมอาเซียนอยางไม่เป้ฯทางการมานานแล้ว มีการอยุ่ร่วมกัน ทำงานร่วมกันมานานหลายปีแล้วเช่นที่มหาชัย สถานที่บางแห่งถึงกับต้องมีภาษาของหลายประเทศไว้เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
หากใครผ่านไปที่มหาชัยเห้นภาษาเมียนมาร์ ภาษาลาว ภาษากัมพุชาติดประกาศตามสถานที่บางแห่งก็ไม่ต้องแปลกใจ เพราะที่เมืองนี้มีคนจากประเทศเพื่อนบ้านมาทำงานจำนวนมาก ดูเหมือนว่าเศราฐกิจของเมืองนี้ส่วนหนึ่งอยู่ที่คนงานจากต่างประเทศ หากคนงานเหล่านี้ประกาศอยุดงานพร้อมกัน เมื่องนี้ก็จะกลายเป้ฯอัมพาตไปทันที่ มหาชัยจึงน่าจะเป็นเมืองต้นแบบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้...
วันแรกของการสัมนาได้ฟังวิทยากรบรรยายสามเรื่องว่าด้วยภาษาและวัฒนธรมอาเซียน พระพุทธศาสนาในประชาคมอาเซียนกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 11 การสัมมนายังมีอีกหลายวัน วันนี้เป็นเหมือนการเตรียมความพร้อมในการเพ่ิมทักษะภาษาอังกฤษไปพลางก่อน
cybervanaram.net/2009-12-17-14-44-23-14/1230-2015-12-17-14-13-57
วัฒนธรรมและภาษาในอาเซียนเพียงสองเรื่องก็น่าจะทำงานวิจัยได้หลายเล่ม เพียงแค่ภาษาในตระกูฃไท-กะไดอย่างเดียวก็ยากที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจได้หมด แ้ชนเผ่าไทอย่งอเดียวก็มีไทหลายเผ่าเช่น ไทดำ ไทขาว ไทแดง เป็นต้นกระจายกันอยู่ในแต่ภูมิภาคของโลกบางกลุ่มพอคุยกันรู้เรื่องบ้างเช่นไทยในสิบสองปันนา จีน ไทในอัสสัม อินเดียว ไทในรัฐฉาน เมียนมาร์ เป็นต้น หากจะเรียนรู้ทุกภาษาแลุวัฒนธรรมในอาเว๊ยนอย่างจริงจัง คงต้องใช้เวลาอีกนาน ถึงแม้จะไม่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมของชาติอื่นก็ไม่เป็นไรนัก แต่หากไม่เข้าใจวัฒนธรรมของชาติตนแล้วก็ยากจะอยุ่ร่วมกับคนในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด...
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งในยุคสมัยต่างๆ ที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวัตน์ขึ้นในภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนตามกรอบแนคิดของอัปปาดูไร ที่ว่า "ความสลับซับซ้อนของโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันจึงจำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐาน ี่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ในระหว่างเรื่องของเศราฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ในลัษณะของการไหลเวียน ใน 5 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและมีผลกระทบต่อโลกอันได้แก่
- การไหลเวียนในมิติของมนุษย์หรือชาติพันธุ์นรูปของนักท่องเที่ยว ผู้อพบพลี้ภัย คนพลัดถิ่นและแรงงานข้ามชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเทคโนโลยีที่ตัดข้ามเส้นแบ่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นเเบ่ง รัฐ-ชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเวินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้าในระดับโลก
- การไหลเวียนในมิติของสื่อซึ่งกลายเป็นรากฐานสำคัญของการจินตนาการเกี่ยวกับตัวตนของคนในโลกปัจจุบัน
- การไหลเวียนนมิติของอุดมการณื เช่น อุดมการณืประชาธิปไตย
กระแสโลกาภิวัตน์ทั้ง 5 มิตินี้ได้ไหลเวียนข้ามพรมแดนรัฐ-ชาติในระดับต่างๆ อย่างทั่วถึง เป็นการไหลเคลื่อนย้ายต่างระดับความเร็ว ต่างแกน ต่างจุดเริ่มต้น และปลายทาง ดลกาภิวัตน์จึงไม่ใช่ดลกของความเป็นหนึ่งเดียวและกลมกลืน แต่ผนึกด้วยภาซะไม่เท่าเทียม สับสนวุนวายและสบลับซับซ้อนที่ทำให้เกตุการณ์ความร่วมมือ ความขัดแย้ง การสู้รบระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ระหว่างประเทศต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้วในประวัติศาสตร์ ส่งกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือทำให้เกดกระแสชาตินิยม ดดยเฉพาะประเทศที่มีพรมแดนติดกัน ขณะเดียวกันไ้นำไปสู่การไหลเวียนของผุ้คนที่เข้ามาพร้อมกับมิติอื่นๆ อีก 4 มิติ ที่อัปปาดูไรได้ให้คำนิยามไว้ ดดยในยุคแรกผุ้คนจากภุิภาคื่อนเคลื่อนย้าาย
เข้ามาสุ่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ หรือผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเดียวกันอพยยพพข้ามประเทศไปมา ไม่ว่าจะในฐานะนักท่องเที่ยว คนพลัดถิ่น ผุ้อพยพลี้ภัย หรือแรงงานชข้ามชาติก็ตามถือเป็นปรากฎการณืของกระแสโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ในภุมิภาคนี้ ดังกรณีตัวอย่่างต่อไปนี้
-แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยหลักการแรงงาน เกิดจากปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในบริบทของพื้นที่นั้นๆ ปัจจัยผลักดันจากประเทศต้นทางมีสาเหตุจาก อัตราว่างงานสูง ระดับค่าจ้างที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับต่างงประเทศ ขาดสิ่งจูงใจสำหรับความก้าวหน้าใอาชีพ นโยบายการพัฒนากำลังคนที่ไม่เหมาะสมค่านิยมทางสังคม นดยบายทางเศราฐกิจของประเทศ ความไม่มั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ่วนปัจจัยดึงดูดสุ่ประเทศปลายทาง มีสาเหตุจากระดับค่าจ้างและเงนิเดือนที่สูงกว่ามาก การขาดแคลนแรงงานในบางสาขา โอาสและความก้าวหน้าในอาชีพ การให้นักศึกษาต่างประเทศมีโอกาสเข้ารับการศึกษาอบรมได้ในประเทศปลายทาง และปัจจัยทางสังคมและการเมือง
ประเทศเมียนมาร์ ในฐานะประเทศหนึ่งในสมาชิกของประชาคมอาเซียเกิดปัจจัยผลักดันประการต่างๆ ขึ้นในประเทศ และประเทศไทยซึ่งเป้นหนึ่งในประเทศปลายทวที่มีปัจจัยดึงดูด เช่น มีความมั่นคงทางด้านเสณาฐิจสังคมมากกว่า มีอัตราค่าจ้างและเงินเดือนที่สูงกว่ามาก และการขาดแคลนแรงงานตามแนวคิดการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศตามเหตุปัจจัยที่ผลักดัน และดึงดูด ให้เกิดการอพบยยแรงงานข้ามชาติขึค้น ซึ่งนำไปสู่ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมที่หากปล่อยปละละเลยจะส่งผลกระทบด้านเสียหายต่อสังตสในประทเศจ้างงานเป็นอย่างยิ่งดังที่กำลัีงเกิดขึค้นในบางพื้นที่ของประเทศไทยในปัจจุบัน
- คนพลัดถิ่นในประเทศไทย คนพลัดถืิ่นตามนิยามที่โรบิน โคเฮ็น ให้ไว้หมายถึงกลุ่มคนหรือชุมชนข้ามพรมแดรรัฐ -ชาติ ที่มีคุณลักษะร่วมที่สำคัญเก้าประการคือ เป็นกลุ่มคนที่กระจายอยู่นอกมาตุภูิมต้งแต่สองแห่งหรือสองประเทศขึ้นไป, สาเหตุการกระจายในข้อแรกอาจมาจากการบังคับ การแสวงหางานทำ การค้าหรือนโยบายของเจ้าอาณานิคม, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความทรงจำร่วมเกี่ยวกัีบถิ่นกำเนิด, กลุ่มคนเหล่านั้นมีอุดมคติและพันธร่วมในการรักษา ฟื้นฟูสร้างความปลอดภัย ความมั่นคงแก่มาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกร่วมและกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อกลับมาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เข้มข้น และสำนึกดังกล่าวได้รับการธำรงไว้ข้ามกาลเวลา, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ุไม่ราบรื่นกับสังคมของประเทศที่ตนอาศัยอยุ่ในปัจจุบัน, กลุ่มคนเหล่านั้นมีควาเห้ฯอกเห็นใจและมีความเป็นปึกแผ่นหรือความสมานฉันท์กับคนพลัดถิ่นชาติพันู์เดียวกันในอีกประเทศฅ กลุ่มคนเหล่านั้นอาจจะมีชีวิตที่เฉพาะสร้างสรรค์ และมั่งคั่งในประเทศพักพิงที่มีขันติธรรมต่อความแตกต่างทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม
คุณลักษระร่วมตามนิยามดังกล่าวนี้โคเฮ็นเสนอว่าไม่จำเป้นต้องพบครบทุกประการในชุมชนคนพลัดถิ่นหนึ่งๆ คำว่า คนพลัพถิ่น จึงเป็นคำกลางๆ ที่ใช้เรียกกับคนที่อยุ่ข้ามพรมแดนประเทศแม่ของตน โดยนิยามดังกลาวนี้ทำให้เห็นกลุ่มคนพลัดถิ่นในประเทศไทยที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
- ชุมชนคนพลัดถืิ่นที่เกดจกการบีบบังคับหรือตกเป็นเหบยื่อ เช่น ชาวเขมรลี้ภัยสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในประเทศ กลุ่มกะเหรี่ยง ที่อยู่ในค่ายตมแนวชายแดนไทย- พท่ามากกว่า 30 ปี เป็นต้น
ชุมชนพลัดถ่ินที่เกิดจากกิจกรรมการต้า เช่น ชาวอินเดีย ชาวจีนในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่เดินทางมาหนีร้อนมาเพื่อแสวงหาดอกาสทางการต้าในดินแดนใหม่ๆ
- นักท่องเที่ยวในประเทศไทย สถิติสำนักงานตรวจคนเชข้าเมืองและกรมการท่องเทียวรายงานว่า ในปี 2555 มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวในประทเศไทยมากว่า 22 ล้านคน จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในไทย 10 อันดับแรกในต้นปี 2556 ได้แก่ จีน มาเลเซีย รัสเซีย ญี่ปุ่น เกาหบลี อินเดีย สหราชอาณาจักร อเมริกา ออสเตรเลียปละเยอรมนี ได้จำนวนนี้มีนัำท่องเที่ยวจาภูมิภาคอาเซียนมาเที่ยวประเทศไทยคิดเป็นร้อยละ 24 จัดเป็น 1 ใน 4 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด โดยมีมาเลเซย ลาว และสิงคโปร์มาเที่ยวมากที่สุดตามลำดับ จะเห็นว่านักท่องเที่ยวที่เข้ามาประเทศไทยมิใช้แต่ชาตอที่พูดภาษาอังกฤษอย่างเดียวเท่านั้น หากแต่มีความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมมากขึ้นนอกจากนี้ ยังมีผุ้ที่เกี่ยวข้องกับภาคบริการนักท่องเที่ยว เช่น ร้านขายของที่ระลึก ร้านตัดเสื้อ ร้านอาหาร ดรงแรม ที่พัก เป็นต้น ที่มีพนักงานต้อนรับเป็นชาวต่างชาติที่หน้าตาดูเหมือนมาจากเอเชียใต้ แต่เมื่อสอบถามไปจะได้คำตอบว่าส่วนใหญ่เป็นชาวพม่าเชื่อสายเนปาลีที่พูดภาษาอังกฤษได้คล่อง ซึ่งพบได้ทั่วไปตามสถานที่ท่องเทียวชายทะเลที่มีช่อเสียงของไทย จึงเกิดคำถามว่าแล้วคนไทยทำอะไรบ้างในภาคการท่องเที่ยว...
กระสแโลกาภิวัตน์ในภาษาและวัฒนธรรม กรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยดังกล่าวข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนที่จำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ระหว่างเรื่องของเศรษบกิจ ภาษา วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองในลักษณะของการไหลเวียน ในมิติชาติพันธุ์ในรูปของนักท่องเทียว ผุ้อพยพ คนพลัดถิ่น และแรงงานข้ามชาติ ในมิติของมนุษย์ ในมิติของเทคโนโลยี ในมิติของเงินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้า ในมิติตของสื่อ และในมิติตของอุดมการณ์ เช่น ประชาธิปไตย ที่ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทุกมิติ และมีผลกระทบต่ออาเซียนตามกรอบแนวคิดของอัปปาดูโร(1990) ดังกล่าว..(บทความ "ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนในยุคโลกาภิวัตน์ : ความท้าทายของประเทศไทย, โสภนา ศรีจำปา)
วันอังคารที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Austronesian languages IIII (central-Eastern malayo-polynesian languages)
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนูกแบ่งเป็นกลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง-ตะวันออก การแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบ่งโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจุบักลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาโย-โพลีเนเซียศุนย์กลาง กลุ่มนเรียกว่า กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ กลุ่มนอกเรียกว่า กลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือ กลุ่มภาษานิเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ซึ่งคาดวว่ามีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เกาะซูลาเวซี แยกเป็น 2 สาขา คือ กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี แรือกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตอนใน ซึ่งรวมภาษาในเกาะซูลาเวซีและหมู่เกาะซุนดาใหญ่และภาษานอกบริเวณนี้เช่น ภาษาชามอร์โ และภาษาปาเลา, กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันออกตอนกลาง เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันออกคือบริเวณเกาะซุนดาน้อย เกาะอัลมาเฮอรา หมู่เกาะโมลุกกะ นิวกีนีและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
กล่มุภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนกลาง-ตะวันออก เป็นสาขาของกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง ประกอบด้วยภาษาในกลุ่ม 700 ภาษา ประกอบด้วย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนกลาง อาทิ กลุ่มภาษาบีมา-ซุนบา, กลุ่มภาษาติมอร์-ฟลอเรส, กลุ่มภาษาดามรตะวันตก, กลุ่มภาษาบาบัร, กลุ่มภาษามาลูกูตะวันออกฌแียงใต้, ภาษาเตอร์-กูร์, กลุ่มภาษาอารู, ภาษาเคโกวีโอ, กลุ่มภาษาบอมเบอไรเหนือ, กลุ่มภาษามาลูกูกลาง
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง มีผู้พูดในหมุ่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลบันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกู และประเทศอินโดนีเซียและประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาษาบิมาที่แพร่กระจายในแบลแถบจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวาและกลุมภาาาซุลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลัของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวาเกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ภาษามัวหาไรของเกาะหลอเรสตะวันตกและภาษาเคตที่เป็ฯภาษาประจำชาติของติมอร์เลสเต การจัดแบ่งกลุ่มภาษานีมหลักฐานอ่อนโดยเฉพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษณะร่วมของภาษาใน
เขชตภูมิศาสตร์เดียกัน นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออกทีต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียตะวันออก ภาาาจำนวนมากทางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคียงโดยเฉพาะเกาะซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกุลออสโตรนีเซียนมาก และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่
หมู่เกาะโมลุกกะ หรือหมู่เกาะมาลูกู เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซี และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลื่อกโลกออสเตรเลียทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี(เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกเกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่นยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคูข้าว และเครื่องเทศต่างๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดมโดยเฉพาะบนเกาะบันดาแต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 มาลูกูเหนือและฮัลมเฮราลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น จังหวัด คือ มาลูกู และมาลูกูเหนือ ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความชัดแย้เงระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กีปีที่ผ่านมา
หลักฐานทางโบราณคดียุคแรกของโมลุกกะเกียวกับการครอบครองอินแดนของมนุษย์เก่าแก่ราว 32,000 ปี แต่หลักฐานเกี่ยวกับการตั้งรกรากที่เก่าแก่ว่าในออสเตรเลียบ่งชี้ว่ามาลูกูมีผู้มาเยือนก่อนหน้านั้น หลักฐานของควมสัมพันธ์ทางการค้าระยะไกลที่เพิ่มขึ้น และการครอบครองเกาะต่างๆ ที่มากครั้งขึ้นน้้นเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณหมื่นถึงหมื่นห้าพันปีหลังจากนั้น ลูกปัดหินออนิกซื และข้อปล้องที่ทำด้วยเงินซึ่งใช้แทนเงินตรา ในแถบอินเดียราว 200 ปีก่อนคริสตกาลถูกขุดพบนบางเกะนอกจากนี้ ภาษาท้องถ่ินที่รากของคำมาจากภาษามลายูในคำว่าแปลว่า "แร่เงิน" ขัดแย้งกับคำที่ใช้นสังคมชาวเมลานีเซียนซึ่งมีที่มาจากภาษาจีน การต้าท้องถ่ินกับจีจึงน่าจะเกิดขึ้นในช่วงคริสตวรรษที่ 5-6
โมลุกะเป็นสังคมที่เกิดจากหลากเชื่อช้าติ และภาษา ที่ซึ่งพ่อค้าเครื่องเทศจากหลายภูมิภาคเข้ามาอาศัยตั้งรกราก รวมทั้งพ่อค้าชาวอาหรับและจีนที่ม่เยือนและใช้ชีวิตในอินแดนแถบนี้
จังหวัดมาลูกู เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย โดยประกอบไปด้วยพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของหมู่เกาะโมลุุกกะ เมืองหลักของจังหวัดมาลูกูคืออัมบน บนเกาะอัมบนขนาดเล็ก จังหวัดที่ประชากร หนึ่งล้านห้าแสนคน ในปี 2010
ทะเลบันดา ตำแหน่งขอททะเลบัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทะเลบันดา ตั้งอยุ่ทางใต้อขงหมู่เกาะโมลุุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย วัดจากทิศตะวันตกมาทิศตะวันออก กว้างประมาณ 1,000 กิโลเมตร จากเหนือจรดใต้ยาวประมาณ 500 กิโลเมตร บันดา หมวดหมู่ทะเลในประเทศอินโดนีเซีย
หมู่เกาะบันดาเป็นกลุ่มเกาะภูเขาไฟสิบเกาะเล็กในทะเลบันดาที่ตั้องอยุ่ 140 กิโลเมตรทางตอนใต้ของเกาะเซอรัมและราว 2000 กิโลเมตรทางของเกาะชวา และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะโมลุกกะของออินโดนีเซียเมืองหลักและศูนย์บริหารของหมู่เกาะอยู่ที่บันดาไนราที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน หมู่เกาะบันดาผุดขึ้นจากมหาสมุทรที่ลึคกราว 4-6 กิโลเมตรและมีเหนื้อที่ราว 180 ตารางกิโลเมตรมีประชากรทั้งสิ้นราว 15,000 คนบันดาเป็นแหล่งผลิต ผลิตผลจากต้นจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสตวรรษที่ 19 นอกจะมีชื่อเสียงในการเป็นแหล่งผลิตเครื่องเทศแล้วยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำและนักดำน้ำลึกด้วย
ซุมบาวา เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซียตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์ซุนดาทางตะวันออกของเกาะลอมบอกและตะวันตกของเกาะฟลอเรส เกาะซุมบาวามีพื้นที่ 5,400ตารางกิโลเมตร (เป็น 3 เท่าของเกาะลอมบอก) มีประชากรรวม 1.33 ล้านคน เกาะเต็มไปด้วยภูเขา ยอดสูงสุดเป็นภูเขาไฟชื่อกุหนึงตัมโบรา อยุ่ที่ปลายสุดของคาบสมุทรทางตอนเหนือ มีดินอุดมสมบูรณ์สามารถปลูกพืชเมืองร้อนได้ดีหลายชนิด
เดิมเกาะนี้เป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมา แตกออกเป็นรัฐขนาดเล็หลายแห่ง เร่ิมติดต่อกับฮอลันด ในคริสต์สตวรรษที่ 17 เมื่อ ค.ศ. 1815 ภูเขาไฟกุหลังตัมโบราเกิดปะทุอยางรุนแรงทำให้ประชาชนเสียชีิวตและไร้ที่อยุ่อาศัยหลายหมื่นคน จึงมีการอพยพผู้คนจากเกาะใหช้เคียงเข้ามาอยุ่อาศัยแทน ในตอนต้นคริสตศตวรรษที่ 20 ฮอลันดาได้เข้ามาปกครอง ถูกญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างสงครามดลกครั้งที่ 2 และเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซียเมื่อได้รับเอกราชในค.ศ. 1950
ประเทศอินโดนีเซีย หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยุ่ระหว่างคาบสมุทรอินโดนีจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรออินเดียกับมหาสุมทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประทศมาเลเว๊ยบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน ประเทศปาปัวนิวกินิบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์
ประเทศติมอร์-เลสเต มีชื่เรียกอย่างเป็นทางการว่าสาะารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต เป็นประเทศที่ตั้องอยู่บนเหาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ประกอบด้วยเกาะติมอร์ด้านตะวันออก แเกาะอาเตารู และเกาฌากูที่อยู่ใหล้เคียง และเขตโอเอกูซี ซึ่งตั้งอยุ่บนฝั่งตะวันของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย
แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 และในปี พ.ศ. 2542 ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พ.ค. พ.ศ. 2545 เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ ในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียวกประเทศอย่างทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเกส
เกาุะติมอร์ เป็นเกาะที่อยุ่ใต้สุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยุ่ทางตอนเหนือของทะเลติมอร์พื้นที่บนเกาะแบ่งได้เป็นสองส่วน ได้แก่ติมอร์เลสเตร์ซึ่งเป็นรัฐอิสระและติมอร์ตะวันตก ซึ่งเป็นพื้นี่ส่วนหนึ่งของจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก
เกาะติมอร์มีพื้นที่ สามหมื่นกว่าตารางกิโลเมตรชื่อของเกาะมาจากคำว่าตีมูร์ ในภาษามลายู ซึ่งแปลว่า ตะวันออก เพราะเกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของหมู่เกาะซุนดาใหญ่
ภาษากัมเบอรา หรือภาษาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภาษาฮีลู ฮุมบา เป็นภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ใช้พูดในหมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซีย
ภาษาเตตุม เป็นภาษาประจำชาติของประเทศติมอร์-เลสเต เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ที่มีคำจำนวนมากมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
-http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีนีเซียศูนย์กลาง
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง มีผู้พูดในหมุ่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลบันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกู และประเทศอินโดนีเซียและประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาษาบิมาที่แพร่กระจายในแบลแถบจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวาและกลุมภาาาซุลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลัของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวาเกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ภาษามัวหาไรของเกาะหลอเรสตะวันตกและภาษาเคตที่เป็ฯภาษาประจำชาติของติมอร์เลสเต การจัดแบ่งกลุ่มภาษานีมหลักฐานอ่อนโดยเฉพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษณะร่วมของภาษาใน
เขชตภูมิศาสตร์เดียกัน นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออกทีต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียตะวันออก ภาาาจำนวนมากทางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคียงโดยเฉพาะเกาะซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกุลออสโตรนีเซียนมาก และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่
หมู่เกาะโมลุกกะ หรือหมู่เกาะมาลูกู เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซี และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลื่อกโลกออสเตรเลียทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี(เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกเกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่นยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคูข้าว และเครื่องเทศต่างๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดมโดยเฉพาะบนเกาะบันดาแต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 มาลูกูเหนือและฮัลมเฮราลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น จังหวัด คือ มาลูกู และมาลูกูเหนือ ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความชัดแย้เงระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กีปีที่ผ่านมา
หลักฐานทางโบราณคดียุคแรกของโมลุกกะเกียวกับการครอบครองอินแดนของมนุษย์เก่าแก่ราว 32,000 ปี แต่หลักฐานเกี่ยวกับการตั้งรกรากที่เก่าแก่ว่าในออสเตรเลียบ่งชี้ว่ามาลูกูมีผู้มาเยือนก่อนหน้านั้น หลักฐานของควมสัมพันธ์ทางการค้าระยะไกลที่เพิ่มขึ้น และการครอบครองเกาะต่างๆ ที่มากครั้งขึ้นน้้นเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณหมื่นถึงหมื่นห้าพันปีหลังจากนั้น ลูกปัดหินออนิกซื และข้อปล้องที่ทำด้วยเงินซึ่งใช้แทนเงินตรา ในแถบอินเดียราว 200 ปีก่อนคริสตกาลถูกขุดพบนบางเกะนอกจากนี้ ภาษาท้องถ่ินที่รากของคำมาจากภาษามลายูในคำว่าแปลว่า "แร่เงิน" ขัดแย้งกับคำที่ใช้นสังคมชาวเมลานีเซียนซึ่งมีที่มาจากภาษาจีน การต้าท้องถ่ินกับจีจึงน่าจะเกิดขึ้นในช่วงคริสตวรรษที่ 5-6
โมลุกะเป็นสังคมที่เกิดจากหลากเชื่อช้าติ และภาษา ที่ซึ่งพ่อค้าเครื่องเทศจากหลายภูมิภาคเข้ามาอาศัยตั้งรกราก รวมทั้งพ่อค้าชาวอาหรับและจีนที่ม่เยือนและใช้ชีวิตในอินแดนแถบนี้
จังหวัดมาลูกู เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย โดยประกอบไปด้วยพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของหมู่เกาะโมลุุกกะ เมืองหลักของจังหวัดมาลูกูคืออัมบน บนเกาะอัมบนขนาดเล็ก จังหวัดที่ประชากร หนึ่งล้านห้าแสนคน ในปี 2010
ทะเลบันดา ตำแหน่งขอททะเลบัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทะเลบันดา ตั้งอยุ่ทางใต้อขงหมู่เกาะโมลุุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย วัดจากทิศตะวันตกมาทิศตะวันออก กว้างประมาณ 1,000 กิโลเมตร จากเหนือจรดใต้ยาวประมาณ 500 กิโลเมตร บันดา หมวดหมู่ทะเลในประเทศอินโดนีเซีย
หมู่เกาะบันดาเป็นกลุ่มเกาะภูเขาไฟสิบเกาะเล็กในทะเลบันดาที่ตั้องอยุ่ 140 กิโลเมตรทางตอนใต้ของเกาะเซอรัมและราว 2000 กิโลเมตรทางของเกาะชวา และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะโมลุกกะของออินโดนีเซียเมืองหลักและศูนย์บริหารของหมู่เกาะอยู่ที่บันดาไนราที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน หมู่เกาะบันดาผุดขึ้นจากมหาสมุทรที่ลึคกราว 4-6 กิโลเมตรและมีเหนื้อที่ราว 180 ตารางกิโลเมตรมีประชากรทั้งสิ้นราว 15,000 คนบันดาเป็นแหล่งผลิต ผลิตผลจากต้นจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสตวรรษที่ 19 นอกจะมีชื่อเสียงในการเป็นแหล่งผลิตเครื่องเทศแล้วยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำและนักดำน้ำลึกด้วย
ซุมบาวา เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซียตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์ซุนดาทางตะวันออกของเกาะลอมบอกและตะวันตกของเกาะฟลอเรส เกาะซุมบาวามีพื้นที่ 5,400ตารางกิโลเมตร (เป็น 3 เท่าของเกาะลอมบอก) มีประชากรรวม 1.33 ล้านคน เกาะเต็มไปด้วยภูเขา ยอดสูงสุดเป็นภูเขาไฟชื่อกุหนึงตัมโบรา อยุ่ที่ปลายสุดของคาบสมุทรทางตอนเหนือ มีดินอุดมสมบูรณ์สามารถปลูกพืชเมืองร้อนได้ดีหลายชนิด
เดิมเกาะนี้เป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมา แตกออกเป็นรัฐขนาดเล็หลายแห่ง เร่ิมติดต่อกับฮอลันด ในคริสต์สตวรรษที่ 17 เมื่อ ค.ศ. 1815 ภูเขาไฟกุหลังตัมโบราเกิดปะทุอยางรุนแรงทำให้ประชาชนเสียชีิวตและไร้ที่อยุ่อาศัยหลายหมื่นคน จึงมีการอพยพผู้คนจากเกาะใหช้เคียงเข้ามาอยุ่อาศัยแทน ในตอนต้นคริสตศตวรรษที่ 20 ฮอลันดาได้เข้ามาปกครอง ถูกญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างสงครามดลกครั้งที่ 2 และเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซียเมื่อได้รับเอกราชในค.ศ. 1950
ประเทศอินโดนีเซีย หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยุ่ระหว่างคาบสมุทรอินโดนีจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรออินเดียกับมหาสุมทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประทศมาเลเว๊ยบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน ประเทศปาปัวนิวกินิบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์
ภาษาเตตุม |
แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 และในปี พ.ศ. 2542 ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พ.ค. พ.ศ. 2545 เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ ในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียวกประเทศอย่างทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเกส
เกาุะติมอร์ เป็นเกาะที่อยุ่ใต้สุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยุ่ทางตอนเหนือของทะเลติมอร์พื้นที่บนเกาะแบ่งได้เป็นสองส่วน ได้แก่ติมอร์เลสเตร์ซึ่งเป็นรัฐอิสระและติมอร์ตะวันตก ซึ่งเป็นพื้นี่ส่วนหนึ่งของจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก
เกาะติมอร์มีพื้นที่ สามหมื่นกว่าตารางกิโลเมตรชื่อของเกาะมาจากคำว่าตีมูร์ ในภาษามลายู ซึ่งแปลว่า ตะวันออก เพราะเกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของหมู่เกาะซุนดาใหญ่
ภาษากัมเบอรา หรือภาษาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภาษาฮีลู ฮุมบา เป็นภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ใช้พูดในหมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซีย
ภาษาเตตุม เป็นภาษาประจำชาติของประเทศติมอร์-เลสเต เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ที่มีคำจำนวนมากมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
-http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีนีเซียศูนย์กลาง
Austronesian languages III (Sunda-Sulawesi languages)
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี
เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซุลาซี และเกาะซุนดาใหญ่ เชน เดียวกับในชามอโรและปาเลา โดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเงวซี) ละกลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้หลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหวางกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษารวมทั้งภาษาในเกาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาฮาซัน และกลุ่มภาษาโมนโคนโคว-โคโรนตาโล) ไม่ได้อยุ่ในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี แต่อยุ่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป้นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนนีเซียน ได้แก่ ภาาาที่ใช้พูดในเกาะซุลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเปลาดดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบงเป้ฯสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกฃลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภูมิศาสตร์ของประชากรที่พูดภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี
- หมู่เกาะมาเรียนา แผนที่แสดงหมู่เกาสะมาเรียนา ทางตอนใต้แสดงดิจแดนเกาะกวมของสหรัฐ และทางตอนเหนือแสดงดินแดนหมู่เกาะมอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐ และเครื่องหมายสามเหลี่ยมสีแดงคือตำแหน่งภูเขาไฟที่ปะทุอยุ่ หมุ่เกาะมาเียนา เป็นหมู่เกาะที่เรียงตัวเป้นรูปพระจันทร์เสี้ยว ประกอบปด้วยเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟจำนวน 15 เกาะตั้งอยู่ทางตะวันตกเหนือเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างเส้นพาราเซลเหนือที่ 12 และ 21 ในคาบเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก หมู่เกาะแห่งนี้ถูกตั้งชื่อตามพระนามของพระนางมาเรียนาโดยชาวสเปน ซึ่งเป้นคนกลุ่มแรกที่ได้มาถึงยังหมุ่เกาะนี้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้เป็นอาณานิคมจากชนพื้นเมืองที่เรียกตัวเองว่าชาวจามาร์โร จากการค้นคว้าของนักโบราณคดีพบว่า ชนพื้นเมืองบนหมู่เกาะนี้ได้มาตั้งรกรากตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และอาศัยอยู่อย่างต่อเนือ่งอเป็นเวลากว่านับพันปี โดยสันนิฐานว่าเกาะแรกที่พวกเขาเข้รมาตั้งรกรากคือเกาะติเนียน หนึ่งในสามเกาะหลักของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งจะถือว่าเป็นการตั้งรกรากครั้งแรกของมนุษย์ในภูมิภาคโอเชียเนีย สแตมป์ของมาเรียนา ในยุคเปยรมันนปกครอง เดิมปหมู่เกาะนี้เป็นอาณานิคมของสเปน ภายใต้กำกับของรัฐบาลข้าหลวงใหญ่สเปนประจำฟิลิปปินส จนกระทั่งปีพ.ศ. 1898 สเปนก็สูญเสียเกาะกวมแก่สหรัฐอเมริกาจากผลของสงครามสเปน-อเมริกาหมู่เกาะนี้เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเข้าปกครองหมุ่เกาะนี้มาตั้งแต่สิ้นสุดสงครามดลกครั้งที่สอง และจากการพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนั้นทำให้ราชสำนักสเปนอ่อนแอลง และไม่มีกำลังทรัพย์มากพอจะดูแลเกาะน้อยใหญ่ไต้การปกครองกว่า 6,000 เกาะทั่วดลกได้อกี ราชสำนัก
สเปนจึงเจรจากับจักรวรรดิเยอรมันในปี 1899 โดยทำใัญญาขายหมุ่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาตลอดจนเกาะอื่นๆ ของสเปนในมหาสมุทรแปซิฟิกแก่เยอรมนี (รวม สีล้านดอลล่าร์สหรัฐในขณะนั้น) ภายหลังเยอมนีและฝ่ายมหาอำนาจกลางพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จักรวรรดิญี่ป่นุซึ่งเป็นสมาชิกไตรภาคีก็เข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้ต่อจากเยอรมนี ต่อมาในสงครามดลกครั้งที่สอง ญี่ป่นุก็เข้าโจมรีฐานทัพสหรัฐบนเกาะกวมในวันเดียวกับการโจมตีท่าเพิร์ล ต่อมาสหรัฐก็เข้ายึดครองหมุ่เกาะนี้คืนได้ในปี 1944 และใช้เป็นฐานทัพอากาศในการทิ้งระเบิดทางอากาศต่อญี่ปุ่น ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงก็อยุ่ใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกาเรื่อยมา...
- จังหวัดบาหลี เป็น 1 ใน34 จังหวัดของปรเทสอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดิมปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมดห้าล้านหกแสนกว่าตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิน สามล้านสี่แสนกว่าคน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาาาที่ใช้คือภาษาอนิดดนีเซียนและภาษาบาหลี
บาหลีเป็นถ่ินที่อยุ่ของชนเผ่าออสโตรนีเซียน ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมบนเกาะไต้หวัน โดยช้เส้นทางทางทะเลผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ขิดกับผู้คนที่อาศัยอยุ่บริเวณหมูเกาะอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และโอเชียเนีย มีการขุพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก์ ที่อยุทางตะวันตก รวมทั้งที่ต้้งถิ่นฐานและหลุ่มฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยุ่ที่พิพิธภัณฑ์ซิตุสปูร์ลาลากา ที่เมืองกีลีมานุก์ อีกด้วย ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแพร่ศาสนาฮินดูเข้ามยังกมุ่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รุ้กันน้อยมาก อย่างไรก็ตามบาหลีเร่ิมเปนเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฎในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของศาสนาพุทธและฮินดู บรเิวณรอบๆ ภูเขากูนุงกาวี และถ้ำโกอากาจะฮ์..
- ประเทศปาเลา มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา เป้ฯประเทศปมู่เกาะในมหาสมุทรปแซิฟิก ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิลโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พงศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก
สันนิฐานว่าชนพื้นเมืองของปาเลาเป็นพวกที่อพยพมาจากมุ่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ส่วนชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมาถึงปาเลาเป็นชาวสเปน แต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานจริงจังจนกระทั่งเรือของอังกฤษอัปปางนอกฝั่งปาเลาจึงทำให้เชาวอังกฤษเร่ิมรุ้จักเกาะแห่งนี้ และกลายเป็นคู้ค้าหลัก ในขณะเดียวกันโรคติดต่อที่มาจากชาวยุโรปก็คร่าชีวิตชาวเกาะเป็นจำนวนมาก
ต่อมาชาวสเปน ได้มีอำนาจเหนื่อปาเลา แต่ภายหลังได้ขายอมู่เกาะนี้ให้แก่เยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปาเลาจึงกลายเป็นสนารบระหวว่างญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ภาญหลังสครมสหรัฐอเมริกาเริ่มมีอำนาจแทนญี่ปุ่่น ปาเลาต้องพึงพาความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาเกือบทุกด้าน หลังจากได้รับเอกราช ก็ยังได้รับการช่วยเหลือทางการเงินและการป้องกันจากสหรัฐอเมริกา..
- เกาะลอมบอก เป็นเกาะที่อยุ่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า ไลอมบอก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันตก ประเทสอินโดนีเซีย ภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและภูเขาไฟ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวซาซักมีภาษาเป็นของตนเองคือ ภาษาซาซักที่ใกล้เคียงกับภาษาชวาและภาษาบาหลี วัฒนธรรมหลายอย่างของขาวซาซักก็ใกล้เคียงกับวัฒนธรรมของชวาและบาหลี ชาวซาซักแบ่งตามศาสนาได้ 2 กลุ่มคือ เวอตูลิม นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี แบบะดียวกับชาวอินโดนีเซียโดยทั่วไป และเวอตูเตอลู นับถือศาสนาอิสลามควบคู่กับวัฒนธรรมดั้งเดิม นอกจากนี้ยังมีชาวซาซักอีกกลุ่มที่นับถือ พุทธ-ผี ควบคู่กัน มีอยู่ประมาณ 8,000 คน
เดิมเกาะลอมบอกเป็นอาณาจักรอิสระประกอบด้วยอาณาจักรเล็กๆ หลายแห่ง โดยอาณาจักรที่สำคัญที่สุดคือาณาจักเซอลาปากรับ ที่นับถือศาสนาฮินดูต่มาชวาตะวันออกได้ยกทัพมาตีและรวมลอมบอกเข้ากับอาณาจักรมัชปาหิต โดยลอมบอกรับอิทธิพลจากชวาทั้งศษสนาฮินดุและศาสนาอิสลาม ต่อมาชาวบาหลีในสมัยอาณาจักคารังกาเซ้มเข้ามาปกครองลอมบอกจนถึง พ.ศ. 2437 ในปีนี้เองลอมลอกร่วมมือกับดัตช์ก่อกบฎต่อบาหลี ซึ่งทำให้บาหลีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ อย่างไรก็ตามเมือดัตข์ชนะได้เข้ามาปกครองลอมบอกในฐานะอาณานิคมทั้นที จนญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเมือ พ.ศ. 2485 ดัตช์เคลื่อนพลกลับมาอีกครั้งเมื่อสงครามสงบในพ.ศ. 2488 แต่เกิดการต่ต้อานจากชาวพื้นเมืองโดยทัี่วไป เมื่ออินโดนีเซียได้รับเอกราช ลอมบอกจึงเป้นสวนหนึงของอินโดนีเซีย
- เกาะสุมาตรา ในสมัยโบราณ เกาะแห่งนี้มีชื่อเรียกเป็ฯภาษาสันสกฤตว่าสุวรรณทวีป (เกาะทอง) และสุวรรณภูมิ (แผ่นดินทอง) ทั้งนี้ก็เพราะมีการพบทองคำบนที่ราสุงของเกาะแห่งนี้ ส่วนนักภูมิศาสตร์ชาวอาหรับ เรียกเกาะนี้หลายชื่อ ได้แก่ ลามรี, ลามุรี, ลามบรีและรามนี ในคริสต์สตวรรษที่ 10-13 โดยหมายถึงอาณาจักรที่อยุ่ใกล้กับเมืองปั่นดุงอาเจะฮ์ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นจุดแรกที่พ่อค้าที่เดินเรือมักแวะมาข้นฝั่ง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ชื่อสุมาตราเป็นที่นิยมเรียกกันมาก โดยหมายถึงอาณาจักซามูดรา(สมุทร) ซึ่งกำลังเรืองอำนาจ แต่นักเขียนชาวยุโรปในศตวรรษที่ 19 พบว่าชาวพื้นเมืองไใ่มีคำเรียกชื่อเกาแห่งนี้
แกนที่ยาวที่สุดของเกาะอยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือไปตะวันออกเแียงใต้ ดดยผ่านเส้นศูนย์สุตรตรงกลางพื้นที่ด้านในของเกาะแบ่งเป็น 2 เขตทางภุมิศาสตร์ใหญ่ๆ คือ เทือกเขาบารีซัน ทางตะวันตกและพื้นที่ลุ่มทางตะวันออก ทางตะวันออกเฉียงใต้คือ เกาะชวา แบ่งด้วยช่องแคบซุนดา ทางเหนือคือคาบสมุทรมลายู แบ่งด้วยช่องแคบมะละกา ทางตะวันออกคือ เกาะบอร์เนียว แบ่งด้วยช่องแคบการีมาดา ทางตะวันตกของเกาะคือมหาสมุทรอินเดียว สันหลังของเกาะคือเทือกเขาบรีซัน ภูเขาไฟในภุมิภาคนี้ทำให้เกาะนี้มีทั้งพื้นดินอุดมสมบุรณ์และทัศนียภาพอันสวยงาม ..
- เกาะซูลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป้นหนึ่งในเกาะซุนดใหญ่ 4 เกาะของปรเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแ่ห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียวตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2488 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเ้นส่วนหนึ่งของนิคมาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498 เดิมนั้นชาวโปรตุเกสตั้งชื่อเกาะนี้ว่า "เซเลบีส" ส่วนความหมายนั้นไม่ปรากฎชัด นตอนแรกไม่ได้ใช้คำนี้เรียกพื้นที่ท้งเกาะ เพราะชาวโปรตุเกสคิดว่าซุลาเวซีเป็นหมู่เกาะ ชื่อซูลาเวซีที่ใช้ในปจจุบันมาจากคำว่า "ซูลา" เกาะ และ "เบซี" เหล็ก โดยอาจหมายถึงการน้ำเข้าเหล็กในอดีตจากตะกอนเหล็กทีมีอยุ่มากในทะเลสาบมาตาโน..
- เกาะกวมมีพื้นที่ 549 ตารางกิโลเมตร ส่วนเหนือองเกาะเป็นที่ราบหินปูนปะการังในขณะที่ทางส่วนใต้มียอดภูเขาไฟ และมีพืชหินปะการังล้อมรอบพื้นที่สวนใหญ่ของเกาะ
กวมเป็นชื่อที่อยุ่ทางทิใต้สุดของแนวลูกโซ่มาเรียาและเป็นเาะที่ใหญ่ที่สุดในไมโครนีเซีย ตั้งอยู่ใกล้ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ซึ่งเป็นเขตมุดตัวบริเวณชอบของแผ่นธรณีภาคแปซิฟิก แซลเลนเจอร์ดีป เป็นจุดที่ลึกที่สุดของโลก ตั้งอยุ่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกวม มีความลึก 10,911 เมตร เกาะกวมประสบกับภัยแผ่นดินไหวซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยุ่ใกล้กับเกาะมีระดับความสั่นสะเทือน ตั้งแต่ 7.0 ถึง 8.2 ริกเตอร์..
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกุลออสโตรีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมูเกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมากากัสในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหุพจน์ การออกเสียงเป้นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียนถูกแบ่งเป็นหลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง - ตะวันออก การแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบ่งของกลุ่มตะวันตำเป็นการแบ่งโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจบุันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเปนสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนศุนย์กลาง กลุ่มในเรียกว่า กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ กลุ่นอกเรียกวา กลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาเลย์อิก กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป้นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซุลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมท้งภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย ภาษามินังกาเบาในสุมาตากลาง ภาษาอาเจะห์ในอาเจะห ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา ภษามอเกนในไทย และภาาอีปันในบอร์เนียวเหนือ
ภาษาชวา คือ ภาษาพุดของผุ้ที่อสัยอยุ่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดีเซียเป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75500,000 คน ภาาาชวาอยุ่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซีย จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย และภาษามาเลย์ ผุ้พูดภาษาชวา พุดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่นๆ มีชุมชนผุ้พุดภาษาชวาขนาดใหย่ในประเทมาเลเซีย โยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามาเลย์ได้
ภาษาบันติก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในทางเหนือของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซียเป็นภาษาของชาวบันติก ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนไปใช้ภาษามาเย์สำเนีงมานาโดแทน ทำให้ภาษาบันติก เหลือผุ้พุดน้อย เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ผุ้ชายโดยที่ผุ้หญิงที่อายุน้อยหว่า 30 ปีมีน้อยมากที่รู้ภาษานี้ เป็นภาษารูปคำติดต่อ เรียงประดยคแบบประธาน-กริยา -กรรมและกริยา-กรรม-ประธาน
ภาษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พุดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน ิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพุดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาาาซาซักและภาษาอัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับขั้นภายในภาษา
ภาษาบูกิส เป็นภาษาที่พุดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซีประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามาเลย์ ส่วนชาวบูกิสเรียกวภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตรยิ์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐาลายลักษณ์อักษณครั้งแรกที่พบคือ อี ลากาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้
ภาษากัมเบอรา หรือภาาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภษษาฮีลู ฮุมบา เป้ฯภาษากลุ่มาลโย-โพลีเนเซียน ใช้พุดในกมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซีย
ภาษามากัสซาร์ หรือภาษามากาซาร์ เป็นทั้งชื่อของภาษาและระบบการเขียนในเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาบูกิส ในอดีตเขียนด้วยอักษรลนตารา/มากาซาร์ ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาบูกิสและภาษามัดาร์ด้วย ปัจจุบันนิยมเขียนด้วยอักษรละตินมากว่า หมวดหมู่ ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
บามาดูรา เป็นที่ใช้พุดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูด และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคดปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโยโพลีเนเซยตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผุ้พูด กว่าสิบสามล้านคน ในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัทพ์เหมือนกับภาษากาเวียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนยง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการต้ามากที่สุด เป็นสำเนยงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผุ้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซยด้วย แปบไบเบิลเป็นภาษานนี้ใน พ.ศ. 2537
ภาษาตูกังเบซี เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ใช้พุดในกลุ่มเกาะดูกังเบซี ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะซูลาเวซี ในอินโดนีเซีย มีผุ้พูดราวสองแสนคน มีพยัญชนะ 25 เสียง สระ 5 เสียง มีการเน้นเสียงที่พยางค์ที่ 2 หรือพยางค์สุดท้าย ลักษณะฉพาะของภาษานี้คือ เสียงจากเส้นเสียง และเสียงเสียดแทรก /s/ เสียงนาสิกที่แยกเป้นกน่วยเสียงต่างหาก
ภาษาซาซะก์ เป้ฯภาษาที่พุดโดยชาวซาซักซึ่งอยุ่ในเกาะบอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาบาหลีและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวาแบ่งเป็น 5 ำเนียง
ภาษาซุนดา เป้ฯภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกุลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน
ภาษาเม็นตาไว เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน พูดโดยชาวเม็นตาไวในเกาะเม็นตาไว สุมาตราตะวันตก มีหลายสำเนียง เช่น ซิมาเลอฆี ซากาลากัน ซีลาบู ตารการกุ ซัวมันฆันยา ซีเบอรุตเหนือ ซีเบอรุตใต้ ซีปูรา ปาไฆ เป็นต้น
- http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษาซุนดา- ซุลาเวซี
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี
เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซุลาซี และเกาะซุนดาใหญ่ เชน เดียวกับในชามอโรและปาเลา โดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเงวซี) ละกลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้หลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหวางกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษารวมทั้งภาษาในเกาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาฮาซัน และกลุ่มภาษาโมนโคนโคว-โคโรนตาโล) ไม่ได้อยุ่ในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี แต่อยุ่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป้นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนนีเซียน ได้แก่ ภาาาที่ใช้พูดในเกาะซุลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเปลาดดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบงเป้ฯสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกฃลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภูมิศาสตร์ของประชากรที่พูดภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี
- หมู่เกาะมาเรียนา แผนที่แสดงหมู่เกาสะมาเรียนา ทางตอนใต้แสดงดิจแดนเกาะกวมของสหรัฐ และทางตอนเหนือแสดงดินแดนหมู่เกาะมอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐ และเครื่องหมายสามเหลี่ยมสีแดงคือตำแหน่งภูเขาไฟที่ปะทุอยุ่ หมุ่เกาะมาเียนา เป็นหมู่เกาะที่เรียงตัวเป้นรูปพระจันทร์เสี้ยว ประกอบปด้วยเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟจำนวน 15 เกาะตั้งอยู่ทางตะวันตกเหนือเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างเส้นพาราเซลเหนือที่ 12 และ 21 ในคาบเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก หมู่เกาะแห่งนี้ถูกตั้งชื่อตามพระนามของพระนางมาเรียนาโดยชาวสเปน ซึ่งเป้นคนกลุ่มแรกที่ได้มาถึงยังหมุ่เกาะนี้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้เป็นอาณานิคมจากชนพื้นเมืองที่เรียกตัวเองว่าชาวจามาร์โร จากการค้นคว้าของนักโบราณคดีพบว่า ชนพื้นเมืองบนหมู่เกาะนี้ได้มาตั้งรกรากตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และอาศัยอยู่อย่างต่อเนือ่งอเป็นเวลากว่านับพันปี โดยสันนิฐานว่าเกาะแรกที่พวกเขาเข้รมาตั้งรกรากคือเกาะติเนียน หนึ่งในสามเกาะหลักของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งจะถือว่าเป็นการตั้งรกรากครั้งแรกของมนุษย์ในภูมิภาคโอเชียเนีย สแตมป์ของมาเรียนา ในยุคเปยรมันนปกครอง เดิมปหมู่เกาะนี้เป็นอาณานิคมของสเปน ภายใต้กำกับของรัฐบาลข้าหลวงใหญ่สเปนประจำฟิลิปปินส จนกระทั่งปีพ.ศ. 1898 สเปนก็สูญเสียเกาะกวมแก่สหรัฐอเมริกาจากผลของสงครามสเปน-อเมริกาหมู่เกาะนี้เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเข้าปกครองหมุ่เกาะนี้มาตั้งแต่สิ้นสุดสงครามดลกครั้งที่สอง และจากการพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนั้นทำให้ราชสำนักสเปนอ่อนแอลง และไม่มีกำลังทรัพย์มากพอจะดูแลเกาะน้อยใหญ่ไต้การปกครองกว่า 6,000 เกาะทั่วดลกได้อกี ราชสำนัก
สเปนจึงเจรจากับจักรวรรดิเยอรมันในปี 1899 โดยทำใัญญาขายหมุ่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาตลอดจนเกาะอื่นๆ ของสเปนในมหาสมุทรแปซิฟิกแก่เยอรมนี (รวม สีล้านดอลล่าร์สหรัฐในขณะนั้น) ภายหลังเยอมนีและฝ่ายมหาอำนาจกลางพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จักรวรรดิญี่ป่นุซึ่งเป็นสมาชิกไตรภาคีก็เข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้ต่อจากเยอรมนี ต่อมาในสงครามดลกครั้งที่สอง ญี่ป่นุก็เข้าโจมรีฐานทัพสหรัฐบนเกาะกวมในวันเดียวกับการโจมตีท่าเพิร์ล ต่อมาสหรัฐก็เข้ายึดครองหมุ่เกาะนี้คืนได้ในปี 1944 และใช้เป็นฐานทัพอากาศในการทิ้งระเบิดทางอากาศต่อญี่ปุ่น ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงก็อยุ่ใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกาเรื่อยมา...
- จังหวัดบาหลี เป็น 1 ใน34 จังหวัดของปรเทสอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดิมปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมดห้าล้านหกแสนกว่าตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิน สามล้านสี่แสนกว่าคน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาาาที่ใช้คือภาษาอนิดดนีเซียนและภาษาบาหลี
บาหลีเป็นถ่ินที่อยุ่ของชนเผ่าออสโตรนีเซียน ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมบนเกาะไต้หวัน โดยช้เส้นทางทางทะเลผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ขิดกับผู้คนที่อาศัยอยุ่บริเวณหมูเกาะอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และโอเชียเนีย มีการขุพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก์ ที่อยุทางตะวันตก รวมทั้งที่ต้้งถิ่นฐานและหลุ่มฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยุ่ที่พิพิธภัณฑ์ซิตุสปูร์ลาลากา ที่เมืองกีลีมานุก์ อีกด้วย ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแพร่ศาสนาฮินดูเข้ามยังกมุ่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รุ้กันน้อยมาก อย่างไรก็ตามบาหลีเร่ิมเปนเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฎในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของศาสนาพุทธและฮินดู บรเิวณรอบๆ ภูเขากูนุงกาวี และถ้ำโกอากาจะฮ์..
- ประเทศปาเลา มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา เป้ฯประเทศปมู่เกาะในมหาสมุทรปแซิฟิก ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิลโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พงศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก
สันนิฐานว่าชนพื้นเมืองของปาเลาเป็นพวกที่อพยพมาจากมุ่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ส่วนชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมาถึงปาเลาเป็นชาวสเปน แต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานจริงจังจนกระทั่งเรือของอังกฤษอัปปางนอกฝั่งปาเลาจึงทำให้เชาวอังกฤษเร่ิมรุ้จักเกาะแห่งนี้ และกลายเป็นคู้ค้าหลัก ในขณะเดียวกันโรคติดต่อที่มาจากชาวยุโรปก็คร่าชีวิตชาวเกาะเป็นจำนวนมาก
ต่อมาชาวสเปน ได้มีอำนาจเหนื่อปาเลา แต่ภายหลังได้ขายอมู่เกาะนี้ให้แก่เยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปาเลาจึงกลายเป็นสนารบระหวว่างญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ภาญหลังสครมสหรัฐอเมริกาเริ่มมีอำนาจแทนญี่ปุ่่น ปาเลาต้องพึงพาความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาเกือบทุกด้าน หลังจากได้รับเอกราช ก็ยังได้รับการช่วยเหลือทางการเงินและการป้องกันจากสหรัฐอเมริกา..
- เกาะลอมบอก เป็นเกาะที่อยุ่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า ไลอมบอก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันตก ประเทสอินโดนีเซีย ภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและภูเขาไฟ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวซาซักมีภาษาเป็นของตนเองคือ ภาษาซาซักที่ใกล้เคียงกับภาษาชวาและภาษาบาหลี วัฒนธรรมหลายอย่างของขาวซาซักก็ใกล้เคียงกับวัฒนธรรมของชวาและบาหลี ชาวซาซักแบ่งตามศาสนาได้ 2 กลุ่มคือ เวอตูลิม นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี แบบะดียวกับชาวอินโดนีเซียโดยทั่วไป และเวอตูเตอลู นับถือศาสนาอิสลามควบคู่กับวัฒนธรรมดั้งเดิม นอกจากนี้ยังมีชาวซาซักอีกกลุ่มที่นับถือ พุทธ-ผี ควบคู่กัน มีอยู่ประมาณ 8,000 คน
เดิมเกาะลอมบอกเป็นอาณาจักรอิสระประกอบด้วยอาณาจักรเล็กๆ หลายแห่ง โดยอาณาจักรที่สำคัญที่สุดคือาณาจักเซอลาปากรับ ที่นับถือศาสนาฮินดูต่มาชวาตะวันออกได้ยกทัพมาตีและรวมลอมบอกเข้ากับอาณาจักรมัชปาหิต โดยลอมบอกรับอิทธิพลจากชวาทั้งศษสนาฮินดุและศาสนาอิสลาม ต่อมาชาวบาหลีในสมัยอาณาจักคารังกาเซ้มเข้ามาปกครองลอมบอกจนถึง พ.ศ. 2437 ในปีนี้เองลอมลอกร่วมมือกับดัตช์ก่อกบฎต่อบาหลี ซึ่งทำให้บาหลีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ อย่างไรก็ตามเมือดัตข์ชนะได้เข้ามาปกครองลอมบอกในฐานะอาณานิคมทั้นที จนญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเมือ พ.ศ. 2485 ดัตช์เคลื่อนพลกลับมาอีกครั้งเมื่อสงครามสงบในพ.ศ. 2488 แต่เกิดการต่ต้อานจากชาวพื้นเมืองโดยทัี่วไป เมื่ออินโดนีเซียได้รับเอกราช ลอมบอกจึงเป้นสวนหนึงของอินโดนีเซีย
- เกาะสุมาตรา ในสมัยโบราณ เกาะแห่งนี้มีชื่อเรียกเป็ฯภาษาสันสกฤตว่าสุวรรณทวีป (เกาะทอง) และสุวรรณภูมิ (แผ่นดินทอง) ทั้งนี้ก็เพราะมีการพบทองคำบนที่ราสุงของเกาะแห่งนี้ ส่วนนักภูมิศาสตร์ชาวอาหรับ เรียกเกาะนี้หลายชื่อ ได้แก่ ลามรี, ลามุรี, ลามบรีและรามนี ในคริสต์สตวรรษที่ 10-13 โดยหมายถึงอาณาจักรที่อยุ่ใกล้กับเมืองปั่นดุงอาเจะฮ์ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นจุดแรกที่พ่อค้าที่เดินเรือมักแวะมาข้นฝั่ง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ชื่อสุมาตราเป็นที่นิยมเรียกกันมาก โดยหมายถึงอาณาจักซามูดรา(สมุทร) ซึ่งกำลังเรืองอำนาจ แต่นักเขียนชาวยุโรปในศตวรรษที่ 19 พบว่าชาวพื้นเมืองไใ่มีคำเรียกชื่อเกาแห่งนี้
แกนที่ยาวที่สุดของเกาะอยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือไปตะวันออกเแียงใต้ ดดยผ่านเส้นศูนย์สุตรตรงกลางพื้นที่ด้านในของเกาะแบ่งเป็น 2 เขตทางภุมิศาสตร์ใหญ่ๆ คือ เทือกเขาบารีซัน ทางตะวันตกและพื้นที่ลุ่มทางตะวันออก ทางตะวันออกเฉียงใต้คือ เกาะชวา แบ่งด้วยช่องแคบซุนดา ทางเหนือคือคาบสมุทรมลายู แบ่งด้วยช่องแคบมะละกา ทางตะวันออกคือ เกาะบอร์เนียว แบ่งด้วยช่องแคบการีมาดา ทางตะวันตกของเกาะคือมหาสมุทรอินเดียว สันหลังของเกาะคือเทือกเขาบรีซัน ภูเขาไฟในภุมิภาคนี้ทำให้เกาะนี้มีทั้งพื้นดินอุดมสมบุรณ์และทัศนียภาพอันสวยงาม ..
- เกาะซูลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป้นหนึ่งในเกาะซุนดใหญ่ 4 เกาะของปรเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแ่ห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียวตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2488 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเ้นส่วนหนึ่งของนิคมาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498 เดิมนั้นชาวโปรตุเกสตั้งชื่อเกาะนี้ว่า "เซเลบีส" ส่วนความหมายนั้นไม่ปรากฎชัด นตอนแรกไม่ได้ใช้คำนี้เรียกพื้นที่ท้งเกาะ เพราะชาวโปรตุเกสคิดว่าซุลาเวซีเป็นหมู่เกาะ ชื่อซูลาเวซีที่ใช้ในปจจุบันมาจากคำว่า "ซูลา" เกาะ และ "เบซี" เหล็ก โดยอาจหมายถึงการน้ำเข้าเหล็กในอดีตจากตะกอนเหล็กทีมีอยุ่มากในทะเลสาบมาตาโน..
- เกาะกวมมีพื้นที่ 549 ตารางกิโลเมตร ส่วนเหนือองเกาะเป็นที่ราบหินปูนปะการังในขณะที่ทางส่วนใต้มียอดภูเขาไฟ และมีพืชหินปะการังล้อมรอบพื้นที่สวนใหญ่ของเกาะ
กวมเป็นชื่อที่อยุ่ทางทิใต้สุดของแนวลูกโซ่มาเรียาและเป็นเาะที่ใหญ่ที่สุดในไมโครนีเซีย ตั้งอยู่ใกล้ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ซึ่งเป็นเขตมุดตัวบริเวณชอบของแผ่นธรณีภาคแปซิฟิก แซลเลนเจอร์ดีป เป็นจุดที่ลึกที่สุดของโลก ตั้งอยุ่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกวม มีความลึก 10,911 เมตร เกาะกวมประสบกับภัยแผ่นดินไหวซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยุ่ใกล้กับเกาะมีระดับความสั่นสะเทือน ตั้งแต่ 7.0 ถึง 8.2 ริกเตอร์..
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกุลออสโตรีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมูเกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมากากัสในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหุพจน์ การออกเสียงเป้นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียนถูกแบ่งเป็นหลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง - ตะวันออก การแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบ่งของกลุ่มตะวันตำเป็นการแบ่งโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจบุันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเปนสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนศุนย์กลาง กลุ่มในเรียกว่า กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ กลุ่นอกเรียกวา กลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาเลย์อิก กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป้นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซุลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมท้งภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย ภาษามินังกาเบาในสุมาตากลาง ภาษาอาเจะห์ในอาเจะห ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา ภษามอเกนในไทย และภาาอีปันในบอร์เนียวเหนือ
ภาษาบาหลี |
ภาษาบันติก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในทางเหนือของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซียเป็นภาษาของชาวบันติก ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนไปใช้ภาษามาเย์สำเนีงมานาโดแทน ทำให้ภาษาบันติก เหลือผุ้พุดน้อย เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ผุ้ชายโดยที่ผุ้หญิงที่อายุน้อยหว่า 30 ปีมีน้อยมากที่รู้ภาษานี้ เป็นภาษารูปคำติดต่อ เรียงประดยคแบบประธาน-กริยา -กรรมและกริยา-กรรม-ประธาน
ภาษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พุดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน ิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพุดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาาาซาซักและภาษาอัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับขั้นภายในภาษา
ภาษาบูกิส เป็นภาษาที่พุดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซีประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามาเลย์ ส่วนชาวบูกิสเรียกวภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตรยิ์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐาลายลักษณ์อักษณครั้งแรกที่พบคือ อี ลากาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้
ภาษาบูกิส |
ภาษามากัสซาร์ หรือภาษามากาซาร์ เป็นทั้งชื่อของภาษาและระบบการเขียนในเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาบูกิส ในอดีตเขียนด้วยอักษรลนตารา/มากาซาร์ ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาบูกิสและภาษามัดาร์ด้วย ปัจจุบันนิยมเขียนด้วยอักษรละตินมากว่า หมวดหมู่ ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
บามาดูรา เป็นที่ใช้พุดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูด และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคดปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโยโพลีเนเซยตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผุ้พูด กว่าสิบสามล้านคน ในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัทพ์เหมือนกับภาษากาเวียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนยง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการต้ามากที่สุด เป็นสำเนยงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผุ้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซยด้วย แปบไบเบิลเป็นภาษานนี้ใน พ.ศ. 2537
ภาษาตูกังเบซี เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ใช้พุดในกลุ่มเกาะดูกังเบซี ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะซูลาเวซี ในอินโดนีเซีย มีผุ้พูดราวสองแสนคน มีพยัญชนะ 25 เสียง สระ 5 เสียง มีการเน้นเสียงที่พยางค์ที่ 2 หรือพยางค์สุดท้าย ลักษณะฉพาะของภาษานี้คือ เสียงจากเส้นเสียง และเสียงเสียดแทรก /s/ เสียงนาสิกที่แยกเป้นกน่วยเสียงต่างหาก
ภาษาซาซะก์ เป้ฯภาษาที่พุดโดยชาวซาซักซึ่งอยุ่ในเกาะบอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาบาหลีและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวาแบ่งเป็น 5 ำเนียง
ภาษาซุนดา เป้ฯภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกุลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน
ภาษาเม็นตาไว เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน พูดโดยชาวเม็นตาไวในเกาะเม็นตาไว สุมาตราตะวันตก มีหลายสำเนียง เช่น ซิมาเลอฆี ซากาลากัน ซีลาบู ตารการกุ ซัวมันฆันยา ซีเบอรุตเหนือ ซีเบอรุตใต้ ซีปูรา ปาไฆ เป็นต้น
- http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษาซุนดา- ซุลาเวซี
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี
วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Austronesian languages II (Borneo-Philippines languages)
กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพูดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาาา เป็นภาาาตายแล้ว 10 ภาษา ที่เหลืออีก 4-5 ภาษาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสีย่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย
ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีความสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป้นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียราว 1,200 ภาษา ที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรับรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่อมกันว่าตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมตริฐานนี้
ปัจจุบัน กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาษาจีนกลาง หลังจากที่ัฐบาลของสาธารณรัฐจีนเริ่มจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทั่วไปทำได้ยากและมักมีข้อโต้เย้งเสมอ ซึ่งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรอืกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่รวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียวคาบสมุทรทางเหนือของเกาะซูลาเวซี และเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้เป็นการแบ่งตามภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ (ผู้ที่ใช้กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์)
ไต้หวัน เป็นเกาะในมหาสมุทราแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉรยงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาะารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาะารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไร้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอาเป็นอาณานิคม
ภูเขาไฟปินาตูโบ เป็นภูเขาไฟประเภทกรวยสลับชั้นที่มพลังอยู่ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ บริเวณเทือกเขาซัมบาเลซ เหนือกรุงมะนิลา ถูกค้นพบโดยทหารสเปนครั้งการล่าอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. 2099
รัฐซาบะฮ์ เป็นรัฐที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย และยบังเป้ฯที่รุ้จักกันในชื่อเนอเกอรีดีบาวะฮ์บายู ซึ่งหมายถึง ดินแดนที่อยุ่ใต้ลม ก่อนที่จะเข้าร่วมอยุ่กับสหพันธรัฐมาเลเซียนั้น ซาบะฮ์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มีชื่อว่านอร์ทบอร์เนียว ซาบะฮ์เป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยุ้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะีขนาดเล็กกว่ารัฐซาราวะก์ ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้ของเกาะเรียกว่ากาลิมันตันเป้ฯของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหฃลวงของรัฐคือโกตากีนาบาลู เดิมมีชื่อว่า เจสเซลตัน
ดาเบา นครดาเบา เป็นเมืองนมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนยกลางของเมืองเรียกว่าเมโทรคาเบา ดาเบาเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสองและเขตเมืองของดาเบาหรือเมโทรดาเบา เป็นเขตเมืองีี่ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสาม ของประเทศเมืองที่ทำหน้าที่เป็นการต้าพาณิชย์และอุตสาหกรรมเป็นศูนย์กลางในมินดาเนาและศูนย์ภูมิภาคสำหรับเขตดาเบา เมืองดาเบาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ดูจากขนาดของพื้นที่
ประเทศฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะจำนวน 7,107 เกาะ ตั้งอยุ่นมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชี่ยแผ่นดินใหญ่ทางตะวันออกเแียงใต้ประมาณ 1,000 กม. และมีลักษรพิเศษคือเป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก นิวสเปน และสหรัฐอเมริกา ได้ครองฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมเป็นเวลา 4 ศตวรรษ และเป็นสองอิทธิพลใหญ่ที่สุดต่อวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสองชาติในเอเชียที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ (อีกชาติหนึ่งคือติมอร์-เลสเต) และเป็นหนึ่งในชาติที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากที่สุด เป้นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกกับตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ อาร์โนลด์ โจเซฟ ทอยน์บี นักประวัติศาสตร์ชาวอักกฤษ ได้กล่าวไว้ในงานของเขาว่า ประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศลาตินอเมริการที่ถูกพัดพาไปยังตะวันออก โดยคลื่อนทะเลยักษ์
ประเทศได้หวัน ไต้หวันในภาษาไต้หวัน หรือไถงวาน ในชื่อท้องถ่ิน หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะารณรัฐจีน เป็นรัฐในทวีปเอเชยตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วย เกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมอิน , ได้หวัน, เผิงหู, หมาจู่, และอูชิวกับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีน ด้านตะวันออกและตะวันออกเแียงเหนือติดกับญีปุ่น และด้านใต้ตคิดกับฟฺิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง สวนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่วชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉินกง ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเาะไต้หวันและเข้ารุกไล่ฝรั่งเออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจัรตกหนิง ขึ้นบนเกสะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" แต่ในปี 1683 ก่อนเสียไต้หวันคือให้แก่จีนหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรค
ชาตินิยม ได้เป็นใหญ่แต่ไม่นามก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยมพรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน และ้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรับประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลเนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองไต้หวันได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืงหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศราฐกิจไต้หวันงอกงามอย่งรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ช่อว่าเป็นหนึงในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า เศราฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของโลกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงของำต้หวันมีบทบาทสำคัญมากในเศราฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการต้าโลกและความร่วมมือทางเศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศราฐกิจ การสาะารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยุ่ในอันดับสูงด้วย
เกาะบอร์เนียว หรือกลีมนตัน เป็นเกาะขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ฺ และเกาะนิวกีนี มีประเทศ 3 ประเทศอยุ่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยุ่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทสอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเแียงต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเแียงใต้
เกาะมาดากัสการ์ ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของทวีปแอฟริกาบนมหาสมุทรอินเดีย มีช่องแคบโมซัมบิกคั่นระหว่างเกาะกับฝั่งทวีปแอฟริกาห่างกันเพียง 300 ไมล์ เกาะมาดากัสการ์มีพื้นที่ 587,713 ตารางกิดลเมตร ถือเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก ขนาดเท่าๆ กับประเทศสเปน และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งเกาะเป็ฯอาณาเขตของประเทศมาดากัสการ์ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะมีความยาวตั้งแต่เหนือจรดใต้ คำว่า "มาดากัสการ์" มีความหมายว่า ไดินแดนแห่งบรรพบุรุษ" เนื่องจากชาวพื้นเมืองที่นี้มีควมเชื่อว่า เมื่อตายไปแลววิญญาณของผู้ที่เสียขชีวิตจะยังควปกป้องสิ่งที่ชีวิตที่เหลือ เกาะมาดากัสการ์เริ่มมีมนุษย์เข้ามาอาศัยราว 2,000 ปีที่แล้ว ไม่ใช่มาจากผืนแผ่นดินใหญ่แอฟริกา หากแต่อพยพมาไกลจากอินโดนีเซีย เกาะมาดากัสการ์เกิดขึ้นมารั้งเมื่อติดเป็นผืนแผ่นดินเดียวกับมหาทวีปกอนด์วานา ที่ถือกำเนิดเมื่อ 180 ล้านปีก่อน จนกระทั่ว 140 ล้านปีก่อน กอนด์วานาได้แกตตัวแกออกจากกัน เกาะมาดากัสการ์ได้แยกตัวออกมาจากทวีปแอฟริกาเมื่อ 70 ล้านปีก่อน โดยเรเ่ิมแรกอยู่ติดกับส่วนที่เป็นอินเดียในปัจจุบัน จากนั้นเมื่อ 40 ล้านเปีก่อนอินเดียได้แยกตัวลอยขึ้นเหนือไปชนกับภูมิภาคเอเชียใต้ จนให้เกิดเป็นแนวเทือกเขหิมาลัย ในขณะที่เกาะมาดากัสการ์ได้อยู่ในแนวภูมิอากาศที่แห้งแล้ง ส่งผลให้ทางตอนใต้ของเกาะมีสภาพที่แ้งแล้ง แต่ต่อมาได้ค่อย เคลื่อนที่อย่างช้าๆ จนกระทั่งอยู่ใน ณ ที่อยู่ปัจจุบัน เมื่อ 60 ล้านปีก่อน และได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนที่พัดกระหนำ่ชายฝั่งตะวันออกอีกของแอฟริกา ซึ่งอิทธิพลทำให้เกาะมาดากัสการ์มีสภาพอากาศและ๓ิมประเทศที่หลากหลายแตกต่างกันอย่างสุดขั้วในปัจจุบัน โดยมีฤดูแ้งนานถึงครึงปี และอีกครึ่งปีฝนตกหนัก ซึ่งปริมาณน้ำฝนที่ตกมาเฉลี่ยวันละ 10 นิ้ว ส่งผลให้น้ำท่วมเอ่อล้นเกิดเป็นแม่น้ำและทะเลสาบหลายแห่ง และทุกวันนี้ตัวเกาะก็ยังคงเหลือนที่ต่อไปในทางเหนือเฉลี่ยีละ 3-4 น้ิงจึงทำให้เกาะมาดากัสการ์มีลักษณะของพืชพันธุ์และสัตว์ที่หลากหลายแห่งหนึ่งของดลก จนได้รับสมญาว่า "ทวีปที่ 8 ของโลก" ในบางประเภทพบได้แต่เฉพราะบนเกาะนี้เท่านั้น จากการปรับตัววิวัฒนาการให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อศัย เช่น ลีเมอร์ ซึ่งสภาพความหลากหลายของพชและสัตว์บนเกาะถูกนำไปสร้าเป็นภาพยนตร์การ์ตูนโดบริษัท ดรีมเวิร์กสแอนิเมชั่น เรื่อง มาดากัสการ์ และ สารคดทางอนิมอลพลาเน็ต
เกาะลูซอน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศราฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ(อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันแบละมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือและเกาะต่างๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันตัวเนส เกาะมารินตูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนแรากฎในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดซ้องน้อย" หรือ Lusong kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" หรือ "ลูซอน" ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา หรือ นิวคาสตีล อีกด้วย ต่อมาใช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ กากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยุ่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่วเกาะลูซอนและเกาะอื่นๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ.1946 ลูซอน
เกาะซุลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดิมทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้เกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498
ภาษาต่างๆ ที่ผุ้พูดในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก อาทิ
- ภาษาบูฮิด ภาษาบูฮิ เป็นภาษาที่พุดโดยชาวมังยันในจังหวัด มินโดโร ฟิลิปปินส์ แบ่งเป็นสำเรียงตะวันออกและตะวันตก มีตัวอักษรเป็นของตนเอง คืออักษรบูฮิด บูฮิด
- ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป้นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปิโน เมื่อ พ.ศ. 2515
- ภาษากาปัมปางัน เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้พุดในประเทศฟิลิปปิน
- ภาษากินาไรอา อยู่ในตระกูลงิซายัน มีผุ้พุดในจังหวัดอินติเกและอิโลอิโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกน ผุ้พุดภาษากินาไรอา จะเข้าใจภาษาฮิลีไกนอนได้ แต่ภาษากินาไรอา ไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮิลีไกนอน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น
- ภาษากินดาเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ช้พุดเป็นส่วนใหญ่ในจังหวัดมากินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีกระจายอยู่ในส่วนอื่นๆ ของเกาะมินดาเนาเช่น ซัมโบวังกา ดาเวา และจังหวัดอื่นๆ เช่น จึงหวัดนอร์ทโกตานาโต จังหวัดเซาท์โกตาบาโต จังหวัดซารังกานี จังหวัดซัมโบอังการเดลซูร์ และจังหวัดซัมโบอังกาซิบูไก รวมทั้เงในมะนิลาด้วย หมวดหมุ่ ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์
- ภาษามาราเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในจังหวัดลาเนา เลล นอริเต และลาเนา เดล ซุรในฟิลิปปินส์ มาราเนา
- ภาษามาลากาซี เป็นภาษาราชของประเทศมาดากัสการ
- ภาษาวาไร-วาไร ซามาร์-เลย์เต หรือ ซาร์มานอน เป็นภาษาที่ใช้พุดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์ อีสเทิร์นซามาร์, เลย์เต และบิลิรันในฟิลิปปินส์ จัดอยูในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบัวโนและใกล้เคียงกับภาษาฮ์ลิไกนอน
- ภาษาอีบานัก มีผุ้พูด ห้าแสนคน ในฟิลิปปินส์ตะวันออกเแียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอีซาเบลา จากการยัน โซลานา จาบากัน และอีลากัน รวมทั้งผุ้อพยพไปอยู่ ตะวันออกกลางและสหรัฐ ผุ้พูดภาาานี้ ส่วนใหญ่จะพูดภาษาอีโลกาโน ที่เป็นภาษากลางของลูซอนภาคเหนือได้ด้วย คำว่า "อีบานัก" มาจาก "บันนัก" แปลว่าแม่น้ำ ใกล้เคียงกับภาษากัตตัง ภาษาอิตาวิส ภาษาอักตา ภาษาโยกัต และภาษามาลาเวก อีบานัก
- ภาษาอีวาตัน หรืออีบาตัน เป็นภาษาตระกุลออสโตนีเซีย มีผุ้พุดบนเกาะบาดาเนส ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ เนื่องจากอยุ่ใกล้ไต้หวัน จึงมีลักษระใกล้เคียงกับภาษาพื้นเมืองในไต้หวัน มากกวาภาษาในฟิลิปปินส์อื่นๆ แต่ไม่จัดอยุ่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา อักษร "e" จะออกเสียงใกล้เคียงกับ "uh" ในภาษาอังกฤษ เช่น palek ออกเสียงเป็น pa3luhk อีวาตัน
- ภาษาอีโลกาโน เป็นภาษาที่มีผุ้พุดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็ฯภาษาตระกูลออสดตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน
- ภาษาฮานูโนโอ เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมังยัน ในจังหวัดมินโคโร ฟิลิปปินส์ เขียนด้วยอักษรฮานูโนโอ ฮานูโนโอ
- ภาษาฮิลิไกนอน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียใช้พูดในชิซายาตะวันตก ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดอิโลอิโล แนะเนโกรส และจังหวัดอื่นๆ ในเกาะปาไน เช่น กาปิซ, อันติเก, อักลัน และกิมารัส มีผุ้พูด 7 ล้านคน ใช้เป็นภาษาแม่ และใช้เป็นภาษาที่สองอีก 4 ล้านคน
- ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาะารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกุลภาษาออสโตนีเซียน มีความสัมพนธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็ฯภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคนในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากววา
- ภาษาซัมบัส เป็ฯภาษากลุ่มซัมบาลิกมีผู้พูดส่วนใหญ่ในจังหวัดซัมบาเลส ฟิลิปปินส์มี 2 สำเนียง คือตีนาและโปโตลัน มีผุ้พุดราว 70,000 คน และ 32,867 คน ตามลำดับ ผุ้พูดสำเนียงตีนาพบในซานตาครูซ จันดีลาเรีย มาซินลอก และอีบา และยังพบในเกซอน เกาะปาลาวันด้วย ผุ้พุสำเนียงโบโตลัน พบในโบโตลัน และจาบางัน มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 4 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
- ภาษาปางาซินัน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาลาดย-โพลีเนเซีย มีผุ้พุดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปางาซินัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปางาซินันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม
- ภาษาโบลิเนา เป็นภาษาที่ใช้พุดในเทศบาลปางาซิเนนเซ ของอันดาและเมืองโบลิเนา มีผุ้พุดราว 50,000 คน มากเป็นอันดับสองในภาษากลุ่มซัมบาลิก มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 5 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
- ภาษาเตา หรือภาษายามิเปนภาษากลุ่มบาตานิกพูดโดยชาวเตาในไต้หวัน เป็นภาษาเดียวในไต้หวันที่ไม่อยู่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา แต่มลักษณะทางภาษาศาสตร์ร่วมกับภาษาอีวาตันที่พุดในเกาะบาตาเนสทางตอนเหนือของฟิลิปปิน
- ภาษาเตาซูก อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซีและอินโดนีเซียด้วย
- ภาษาเซบัวโน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปินส์ 18 ล้านคน ชื่อของภาษามาจากเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึงเชื้อชาด
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา
http://th.unionpedia.org ค้นหา กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทั่วไปทำได้ยากและมักมีข้อโต้เย้งเสมอ ซึ่งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรอืกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่รวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียวคาบสมุทรทางเหนือของเกาะซูลาเวซี และเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้เป็นการแบ่งตามภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ (ผู้ที่ใช้กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์)
ไต้หวัน เป็นเกาะในมหาสมุทราแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉรยงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาะารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาะารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไร้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอาเป็นอาณานิคม
ภูเขาไฟปินาตูโบ เป็นภูเขาไฟประเภทกรวยสลับชั้นที่มพลังอยู่ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ บริเวณเทือกเขาซัมบาเลซ เหนือกรุงมะนิลา ถูกค้นพบโดยทหารสเปนครั้งการล่าอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. 2099
รัฐซาบะฮ์ เป็นรัฐที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย และยบังเป้ฯที่รุ้จักกันในชื่อเนอเกอรีดีบาวะฮ์บายู ซึ่งหมายถึง ดินแดนที่อยุ่ใต้ลม ก่อนที่จะเข้าร่วมอยุ่กับสหพันธรัฐมาเลเซียนั้น ซาบะฮ์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มีชื่อว่านอร์ทบอร์เนียว ซาบะฮ์เป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยุ้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะีขนาดเล็กกว่ารัฐซาราวะก์ ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้ของเกาะเรียกว่ากาลิมันตันเป้ฯของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหฃลวงของรัฐคือโกตากีนาบาลู เดิมมีชื่อว่า เจสเซลตัน
ดาเบา นครดาเบา เป็นเมืองนมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนยกลางของเมืองเรียกว่าเมโทรคาเบา ดาเบาเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสองและเขตเมืองของดาเบาหรือเมโทรดาเบา เป็นเขตเมืองีี่ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสาม ของประเทศเมืองที่ทำหน้าที่เป็นการต้าพาณิชย์และอุตสาหกรรมเป็นศูนย์กลางในมินดาเนาและศูนย์ภูมิภาคสำหรับเขตดาเบา เมืองดาเบาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ดูจากขนาดของพื้นที่
ประเทศฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะจำนวน 7,107 เกาะ ตั้งอยุ่นมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชี่ยแผ่นดินใหญ่ทางตะวันออกเแียงใต้ประมาณ 1,000 กม. และมีลักษรพิเศษคือเป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก นิวสเปน และสหรัฐอเมริกา ได้ครองฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมเป็นเวลา 4 ศตวรรษ และเป็นสองอิทธิพลใหญ่ที่สุดต่อวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสองชาติในเอเชียที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ (อีกชาติหนึ่งคือติมอร์-เลสเต) และเป็นหนึ่งในชาติที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากที่สุด เป้นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกกับตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ อาร์โนลด์ โจเซฟ ทอยน์บี นักประวัติศาสตร์ชาวอักกฤษ ได้กล่าวไว้ในงานของเขาว่า ประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศลาตินอเมริการที่ถูกพัดพาไปยังตะวันออก โดยคลื่อนทะเลยักษ์
ประเทศได้หวัน ไต้หวันในภาษาไต้หวัน หรือไถงวาน ในชื่อท้องถ่ิน หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะารณรัฐจีน เป็นรัฐในทวีปเอเชยตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วย เกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมอิน , ได้หวัน, เผิงหู, หมาจู่, และอูชิวกับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีน ด้านตะวันออกและตะวันออกเแียงเหนือติดกับญีปุ่น และด้านใต้ตคิดกับฟฺิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง สวนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่วชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉินกง ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเาะไต้หวันและเข้ารุกไล่ฝรั่งเออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจัรตกหนิง ขึ้นบนเกสะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" แต่ในปี 1683 ก่อนเสียไต้หวันคือให้แก่จีนหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรค
ชาตินิยม ได้เป็นใหญ่แต่ไม่นามก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยมพรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน และ้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรับประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลเนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองไต้หวันได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืงหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศราฐกิจไต้หวันงอกงามอย่งรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ช่อว่าเป็นหนึงในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า เศราฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของโลกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงของำต้หวันมีบทบาทสำคัญมากในเศราฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการต้าโลกและความร่วมมือทางเศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศราฐกิจ การสาะารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยุ่ในอันดับสูงด้วย
เกาะบอร์เนียว หรือกลีมนตัน เป็นเกาะขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ฺ และเกาะนิวกีนี มีประเทศ 3 ประเทศอยุ่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยุ่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทสอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเแียงต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเแียงใต้
เกาะลูซอน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศราฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ(อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันแบละมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือและเกาะต่างๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันตัวเนส เกาะมารินตูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนแรากฎในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดซ้องน้อย" หรือ Lusong kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" หรือ "ลูซอน" ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา หรือ นิวคาสตีล อีกด้วย ต่อมาใช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ กากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยุ่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่วเกาะลูซอนและเกาะอื่นๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ.1946 ลูซอน
เกาะซุลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดิมทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้เกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498
ภาษาต่างๆ ที่ผุ้พูดในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก อาทิ
- ภาษาบูฮิด ภาษาบูฮิ เป็นภาษาที่พุดโดยชาวมังยันในจังหวัด มินโดโร ฟิลิปปินส์ แบ่งเป็นสำเรียงตะวันออกและตะวันตก มีตัวอักษรเป็นของตนเอง คืออักษรบูฮิด บูฮิด
- ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป้นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปิโน เมื่อ พ.ศ. 2515
- ภาษากาปัมปางัน เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้พุดในประเทศฟิลิปปิน
- ภาษากินาไรอา อยู่ในตระกูลงิซายัน มีผุ้พุดในจังหวัดอินติเกและอิโลอิโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกน ผุ้พุดภาษากินาไรอา จะเข้าใจภาษาฮิลีไกนอนได้ แต่ภาษากินาไรอา ไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮิลีไกนอน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น
- ภาษากินดาเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ช้พุดเป็นส่วนใหญ่ในจังหวัดมากินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีกระจายอยู่ในส่วนอื่นๆ ของเกาะมินดาเนาเช่น ซัมโบวังกา ดาเวา และจังหวัดอื่นๆ เช่น จึงหวัดนอร์ทโกตานาโต จังหวัดเซาท์โกตาบาโต จังหวัดซารังกานี จังหวัดซัมโบอังการเดลซูร์ และจังหวัดซัมโบอังกาซิบูไก รวมทั้เงในมะนิลาด้วย หมวดหมุ่ ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์
- ภาษามาราเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในจังหวัดลาเนา เลล นอริเต และลาเนา เดล ซุรในฟิลิปปินส์ มาราเนา
- ภาษามาลากาซี เป็นภาษาราชของประเทศมาดากัสการ
- ภาษาวาไร-วาไร ซามาร์-เลย์เต หรือ ซาร์มานอน เป็นภาษาที่ใช้พุดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์ อีสเทิร์นซามาร์, เลย์เต และบิลิรันในฟิลิปปินส์ จัดอยูในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบัวโนและใกล้เคียงกับภาษาฮ์ลิไกนอน
- ภาษาอีบานัก มีผุ้พูด ห้าแสนคน ในฟิลิปปินส์ตะวันออกเแียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอีซาเบลา จากการยัน โซลานา จาบากัน และอีลากัน รวมทั้งผุ้อพยพไปอยู่ ตะวันออกกลางและสหรัฐ ผุ้พูดภาาานี้ ส่วนใหญ่จะพูดภาษาอีโลกาโน ที่เป็นภาษากลางของลูซอนภาคเหนือได้ด้วย คำว่า "อีบานัก" มาจาก "บันนัก" แปลว่าแม่น้ำ ใกล้เคียงกับภาษากัตตัง ภาษาอิตาวิส ภาษาอักตา ภาษาโยกัต และภาษามาลาเวก อีบานัก
- ภาษาอีวาตัน หรืออีบาตัน เป็นภาษาตระกุลออสโตนีเซีย มีผุ้พุดบนเกาะบาดาเนส ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ เนื่องจากอยุ่ใกล้ไต้หวัน จึงมีลักษระใกล้เคียงกับภาษาพื้นเมืองในไต้หวัน มากกวาภาษาในฟิลิปปินส์อื่นๆ แต่ไม่จัดอยุ่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา อักษร "e" จะออกเสียงใกล้เคียงกับ "uh" ในภาษาอังกฤษ เช่น palek ออกเสียงเป็น pa3luhk อีวาตัน
- ภาษาอีโลกาโน เป็นภาษาที่มีผุ้พุดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็ฯภาษาตระกูลออสดตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน
- ภาษาฮานูโนโอ เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมังยัน ในจังหวัดมินโคโร ฟิลิปปินส์ เขียนด้วยอักษรฮานูโนโอ ฮานูโนโอ
ภูเขาไฟพินาตุโบ |
- ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาะารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกุลภาษาออสโตนีเซียน มีความสัมพนธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็ฯภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคนในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากววา
- ภาษาซัมบัส เป็ฯภาษากลุ่มซัมบาลิกมีผู้พูดส่วนใหญ่ในจังหวัดซัมบาเลส ฟิลิปปินส์มี 2 สำเนียง คือตีนาและโปโตลัน มีผุ้พุดราว 70,000 คน และ 32,867 คน ตามลำดับ ผุ้พูดสำเนียงตีนาพบในซานตาครูซ จันดีลาเรีย มาซินลอก และอีบา และยังพบในเกซอน เกาะปาลาวันด้วย ผุ้พุสำเนียงโบโตลัน พบในโบโตลัน และจาบางัน มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 4 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
- ภาษาปางาซินัน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาลาดย-โพลีเนเซีย มีผุ้พุดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปางาซินัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปางาซินันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม
ภูเขาไฟพินาตุโบในปัจจุบัน |
- ภาษาเตา หรือภาษายามิเปนภาษากลุ่มบาตานิกพูดโดยชาวเตาในไต้หวัน เป็นภาษาเดียวในไต้หวันที่ไม่อยู่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา แต่มลักษณะทางภาษาศาสตร์ร่วมกับภาษาอีวาตันที่พุดในเกาะบาตาเนสทางตอนเหนือของฟิลิปปิน
- ภาษาเตาซูก อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซีและอินโดนีเซียด้วย
- ภาษาเซบัวโน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปินส์ 18 ล้านคน ชื่อของภาษามาจากเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึงเชื้อชาด
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา
http://th.unionpedia.org ค้นหา กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
วันเสาร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Austronesian languages : Bahasa Melayu
ภาษามลายู เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผุ้พุดประมาณ 200-250 ล้านคน ดดยเป็นภาษาแม่ของผุ้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะงันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเหาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการต้าในภคใต้ของฟิลิปปินส ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองตาราซาและลบาลาบัก (ซึงมใีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน
ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลาู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน
ภาษามลายูมาตรฐาน(หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่อื่นๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบักน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่นๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมุลของเอ็ทนอล็อก วิธภาษามลายูต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก(รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก)มีความสัมพนธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถ่ินของภาษาเดีวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการต้าและภาษาครีโอล จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิมเช่นเดียวกับภาาามลายูมากัสซาร์ ซึ่งประากฎว่าเป็นภาษาผสม
ไวยากรณ์ ภาษามลายูเป็นภาษารูปคำติดต่อ การสร้างคำใหม่ทำได้ 3 วิธีคือ ลงวิภัติปัจจัยที่รากศัพท์ สร้างคำประสมหรือซ้ำคำ
หน่วยคำเติม รากศัพท์ที่เติมหน่วยคำเติมเป็นได้ท้งคำนามและคำกริยา ดังอย่างเช่น masak (ทำอาหาร) เป็น memmasak (กำลังทำอาหาร) memasakkan (ทำอาหารเพื่อ) dimasak (ทำอาหาร-รูปถูกกระทำ) และ pemasak (ผู้ทำอาหาร) บางครั้งมีการเปลี่ยนเสียงพยัญชนะตัวแรกเมื่อเติมคำอุปสรรคหน้ารากศัพท์ เช่น sapu(กวาด) เป็น penyapu (ไม้กวาด) panggil (เรียก) เป็น memanggil (กำลังเรียก)
หน่วยคำเติมที่ 4 ชนิดคือ อุปสรรค (awalan) ปัจจัย (akhiran) อุปสรรค+ปัจจัย apitan และอาคม sisipan หน่วยคำเติมเหล่นนี้แบ่งเป็น 3 กลุ่มตามหน้าที่คือทำให้เป็นนาม กริยา และคุณศัพท์..ภาษามลายูมีปัจจัยที่ยืมจากภาษาอื่นเช่น ภาษาสันสกฤต ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ เช่น mahajuru-pasca-eka-ati-pro
คำประสมเกิดจากการรวมคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปเข้าด้วยกัน ซึ่งคำเหล่านี้ปกติจะเขียนแยกกันในประโยคคำประสมนี้อาจรวมกันได้โดยตรงหรือมีปัจจัยเชื่อมคำเข้าด้วกันตัวอย่างเช่น kereta หมายถึงรถ และ api หมายถึงไฟ รวมกันเป็น kereta api หมายถึงรถไฟ เป็นต้น
การซ้ำคำ ในภาษามลายูมี 4 แบบคือ ซ้ำทั้งหมด ซ้ำบางส่วน ซ้ำเป็นจังหวะ และซ้ำโดยความหมาย
ลักษณนาม ภาษามลายูมีการใช้ลักษณะนามเช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ ในเอชเีย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม และภาษาเบงการลี
คำนำหน้าที่ มี 16 ชนิด เป็นคำที่มีหน้าที่ทางไวการณ์ในประดยค ได้แก่ คำสันธาน คำบุพบท คำปฏิเสธ และคำอื่นๆ
คำปฎิเสธ คำที่แสดงการปฏิเสธในภาษามลายู มี 2 คำ คือ bukan และ tikan bukan ใช้ปฏิเสธนามวลีและบุพบทส่วน tidak ใช้ปฏิเสธคำกริยาและวลีคุณศัพท์
เพศทางไวยกรณ์ โดยทั่วไปมีการแบ่งเพศ มีเพียงบางคำที่มีการแบ่งเพศตามะรรมชาติ ตัวอย่างเช่น adik หมายถึงน้องโดยไม่แบ่งเพศ adik laki-laki หมายถึงน้องชายซึ่งไม่ตรงกับ "brother" ในภาษาอังกฤษ คำที่แบ่งเพศเช่น puteri (เจ้าหญิง) และ putera (เจ้าชาย)
การทำให้เป็นพหูพจน์ โดยทั่วไปการแสดงพหูพจน์ใช้การซ้ำคำ ตัวอย่างเช่น ถ้วย 1 ใบ ใช้ cawan ถ้วยหลายใบใช้cawan - cawan แต่ลดรูปเ้หลือ cecawan แต่บางคำมีข้อยกเว้นเช่น orang หมายถึงบุคคลแต่คำว่าประชาชนไม่ใช้ orang-orang แต่ใช้คำว่า rakyat แต่ถ้าหมายถึงคนหลายคนหรือคนเยอะใช้คำว่า ramai orang, คน 1 พันคนใช้ seribu orang ซึ่งเป็นการใช้คำแสดงจำนวนแสดงรูปพนูพจน์
นอกจากใช้แสดงพหูพจน์แล้ว การซ้ำคำยังใช้สร้างคำใหม่ด้วย เช่น hati หมายถึงหัวใจหรือตับ แต่ hati-hati หมายถึงระวัง..
คำกริยาไม่มีการันคำกริยาตามกาลหรือจำนวน ไม่มีเครื่องหมายแสดงกาล แต่มักบอกกาลโดยใช้คำกริยาวิเศษณ์แทน (เช่นเมื่อวานนี้) หรือตัวบ่งการ แต่ภาษามลายูมีระบบคำกริยาที่ซับซ้อนของปัจจัยเพื่อแสดงความหมายที่ต่างกันเล็กน้อยรวมทั้งแสดงผู้กระทำ ปัจจัยบางตัวถูกยเกว้นไม่ใช้ในการสนทนา
การเรียงลำดับคำ โดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม คำคุณศัพท์ คำสรรพนามชี้เฉพาะและสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของตามหลังคำนามที่ขยาย
ภาษามลายูมีคำยืมจากภาษาอาหรับ (มักเป็นคำทางศาสนาป ภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษาทมิฬ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโปรตุเกส ภาษาดัตช์ ภาษาจีน บางสำเนียง คำยืมรุ่นใหม่ ๆ มักมาจากภาษาอังกฤษโดยมากเป็นศัพท์วิทยาศาสตร์และศัพท์เทคนิค ...
ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลาู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน
ภาษามลายูมาตรฐาน(หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่อื่นๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบักน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่นๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมุลของเอ็ทนอล็อก วิธภาษามลายูต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก(รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก)มีความสัมพนธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถ่ินของภาษาเดีวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการต้าและภาษาครีโอล จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิมเช่นเดียวกับภาาามลายูมากัสซาร์ ซึ่งประากฎว่าเป็นภาษาผสม
ไวยากรณ์ ภาษามลายูเป็นภาษารูปคำติดต่อ การสร้างคำใหม่ทำได้ 3 วิธีคือ ลงวิภัติปัจจัยที่รากศัพท์ สร้างคำประสมหรือซ้ำคำ
หน่วยคำเติม รากศัพท์ที่เติมหน่วยคำเติมเป็นได้ท้งคำนามและคำกริยา ดังอย่างเช่น masak (ทำอาหาร) เป็น memmasak (กำลังทำอาหาร) memasakkan (ทำอาหารเพื่อ) dimasak (ทำอาหาร-รูปถูกกระทำ) และ pemasak (ผู้ทำอาหาร) บางครั้งมีการเปลี่ยนเสียงพยัญชนะตัวแรกเมื่อเติมคำอุปสรรคหน้ารากศัพท์ เช่น sapu(กวาด) เป็น penyapu (ไม้กวาด) panggil (เรียก) เป็น memanggil (กำลังเรียก)
หน่วยคำเติมที่ 4 ชนิดคือ อุปสรรค (awalan) ปัจจัย (akhiran) อุปสรรค+ปัจจัย apitan และอาคม sisipan หน่วยคำเติมเหล่นนี้แบ่งเป็น 3 กลุ่มตามหน้าที่คือทำให้เป็นนาม กริยา และคุณศัพท์..ภาษามลายูมีปัจจัยที่ยืมจากภาษาอื่นเช่น ภาษาสันสกฤต ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ เช่น mahajuru-pasca-eka-ati-pro
คำประสมเกิดจากการรวมคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปเข้าด้วยกัน ซึ่งคำเหล่านี้ปกติจะเขียนแยกกันในประโยคคำประสมนี้อาจรวมกันได้โดยตรงหรือมีปัจจัยเชื่อมคำเข้าด้วกันตัวอย่างเช่น kereta หมายถึงรถ และ api หมายถึงไฟ รวมกันเป็น kereta api หมายถึงรถไฟ เป็นต้น
การซ้ำคำ ในภาษามลายูมี 4 แบบคือ ซ้ำทั้งหมด ซ้ำบางส่วน ซ้ำเป็นจังหวะ และซ้ำโดยความหมาย
ลักษณนาม ภาษามลายูมีการใช้ลักษณะนามเช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ ในเอชเีย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม และภาษาเบงการลี
คำนำหน้าที่ มี 16 ชนิด เป็นคำที่มีหน้าที่ทางไวการณ์ในประดยค ได้แก่ คำสันธาน คำบุพบท คำปฏิเสธ และคำอื่นๆ
คำปฎิเสธ คำที่แสดงการปฏิเสธในภาษามลายู มี 2 คำ คือ bukan และ tikan bukan ใช้ปฏิเสธนามวลีและบุพบทส่วน tidak ใช้ปฏิเสธคำกริยาและวลีคุณศัพท์
เพศทางไวยกรณ์ โดยทั่วไปมีการแบ่งเพศ มีเพียงบางคำที่มีการแบ่งเพศตามะรรมชาติ ตัวอย่างเช่น adik หมายถึงน้องโดยไม่แบ่งเพศ adik laki-laki หมายถึงน้องชายซึ่งไม่ตรงกับ "brother" ในภาษาอังกฤษ คำที่แบ่งเพศเช่น puteri (เจ้าหญิง) และ putera (เจ้าชาย)
การทำให้เป็นพหูพจน์ โดยทั่วไปการแสดงพหูพจน์ใช้การซ้ำคำ ตัวอย่างเช่น ถ้วย 1 ใบ ใช้ cawan ถ้วยหลายใบใช้cawan - cawan แต่ลดรูปเ้หลือ cecawan แต่บางคำมีข้อยกเว้นเช่น orang หมายถึงบุคคลแต่คำว่าประชาชนไม่ใช้ orang-orang แต่ใช้คำว่า rakyat แต่ถ้าหมายถึงคนหลายคนหรือคนเยอะใช้คำว่า ramai orang, คน 1 พันคนใช้ seribu orang ซึ่งเป็นการใช้คำแสดงจำนวนแสดงรูปพนูพจน์
นอกจากใช้แสดงพหูพจน์แล้ว การซ้ำคำยังใช้สร้างคำใหม่ด้วย เช่น hati หมายถึงหัวใจหรือตับ แต่ hati-hati หมายถึงระวัง..
คำกริยาไม่มีการันคำกริยาตามกาลหรือจำนวน ไม่มีเครื่องหมายแสดงกาล แต่มักบอกกาลโดยใช้คำกริยาวิเศษณ์แทน (เช่นเมื่อวานนี้) หรือตัวบ่งการ แต่ภาษามลายูมีระบบคำกริยาที่ซับซ้อนของปัจจัยเพื่อแสดงความหมายที่ต่างกันเล็กน้อยรวมทั้งแสดงผู้กระทำ ปัจจัยบางตัวถูกยเกว้นไม่ใช้ในการสนทนา
การเรียงลำดับคำ โดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม คำคุณศัพท์ คำสรรพนามชี้เฉพาะและสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของตามหลังคำนามที่ขยาย
ภาษามลายูมีคำยืมจากภาษาอาหรับ (มักเป็นคำทางศาสนาป ภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษาทมิฬ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโปรตุเกส ภาษาดัตช์ ภาษาจีน บางสำเนียง คำยืมรุ่นใหม่ ๆ มักมาจากภาษาอังกฤษโดยมากเป็นศัพท์วิทยาศาสตร์และศัพท์เทคนิค ...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...