Austronesian languages III (Sunda-Sulawesi languages)

          กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี
เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซุลาซี และเกาะซุนดาใหญ่ เชน เดียวกับในชามอโรและปาเลา โดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเงวซี) ละกลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้หลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหวางกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษารวมทั้งภาษาในเกาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาฮาซัน และกลุ่มภาษาโมนโคนโคว-โคโรนตาโล) ไม่ได้อยุ่ในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี แต่อยุ่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
         กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป้นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนนีเซียน ได้แก่ ภาาาที่ใช้พูดในเกาะซุลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเปลาดดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบงเป้ฯสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกฃลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
        ภูมิศาสตร์ของประชากรที่พูดภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี
     
- หมู่เกาะมาเรียนา แผนที่แสดงหมู่เกาสะมาเรียนา ทางตอนใต้แสดงดิจแดนเกาะกวมของสหรัฐ และทางตอนเหนือแสดงดินแดนหมู่เกาะมอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐ และเครื่องหมายสามเหลี่ยมสีแดงคือตำแหน่งภูเขาไฟที่ปะทุอยุ่ หมุ่เกาะมาเียนา เป็นหมู่เกาะที่เรียงตัวเป้นรูปพระจันทร์เสี้ยว ประกอบปด้วยเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟจำนวน 15 เกาะตั้งอยู่ทางตะวันตกเหนือเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างเส้นพาราเซลเหนือที่ 12 และ 21 ในคาบเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก หมู่เกาะแห่งนี้ถูกตั้งชื่อตามพระนามของพระนางมาเรียนาโดยชาวสเปน ซึ่งเป้นคนกลุ่มแรกที่ได้มาถึงยังหมุ่เกาะนี้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16  และเข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้เป็นอาณานิคมจากชนพื้นเมืองที่เรียกตัวเองว่าชาวจามาร์โร จากการค้นคว้าของนักโบราณคดีพบว่า ชนพื้นเมืองบนหมู่เกาะนี้ได้มาตั้งรกรากตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และอาศัยอยู่อย่างต่อเนือ่งอเป็นเวลากว่านับพันปี โดยสันนิฐานว่าเกาะแรกที่พวกเขาเข้รมาตั้งรกรากคือเกาะติเนียน หนึ่งในสามเกาะหลักของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งจะถือว่าเป็นการตั้งรกรากครั้งแรกของมนุษย์ในภูมิภาคโอเชียเนีย สแตมป์ของมาเรียนา ในยุคเปยรมันนปกครอง เดิมปหมู่เกาะนี้เป็นอาณานิคมของสเปน ภายใต้กำกับของรัฐบาลข้าหลวงใหญ่สเปนประจำฟิลิปปินส จนกระทั่งปีพ.ศ. 1898 สเปนก็สูญเสียเกาะกวมแก่สหรัฐอเมริกาจากผลของสงครามสเปน-อเมริกาหมู่เกาะนี้เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเข้าปกครองหมุ่เกาะนี้มาตั้งแต่สิ้นสุดสงครามดลกครั้งที่สอง และจากการพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนั้นทำให้ราชสำนักสเปนอ่อนแอลง และไม่มีกำลังทรัพย์มากพอจะดูแลเกาะน้อยใหญ่ไต้การปกครองกว่า 6,000 เกาะทั่วดลกได้อกี ราชสำนัก
สเปนจึงเจรจากับจักรวรรดิเยอรมันในปี 1899 โดยทำใัญญาขายหมุ่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาตลอดจนเกาะอื่นๆ ของสเปนในมหาสมุทรแปซิฟิกแก่เยอรมนี (รวม สีล้านดอลล่าร์สหรัฐในขณะนั้น) ภายหลังเยอมนีและฝ่ายมหาอำนาจกลางพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จักรวรรดิญี่ป่นุซึ่งเป็นสมาชิกไตรภาคีก็เข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้ต่อจากเยอรมนี ต่อมาในสงครามดลกครั้งที่สอง ญี่ป่นุก็เข้าโจมรีฐานทัพสหรัฐบนเกาะกวมในวันเดียวกับการโจมตีท่าเพิร์ล ต่อมาสหรัฐก็เข้ายึดครองหมุ่เกาะนี้คืนได้ในปี 1944 และใช้เป็นฐานทัพอากาศในการทิ้งระเบิดทางอากาศต่อญี่ปุ่น ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงก็อยุ่ใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกาเรื่อยมา...
            - จังหวัดบาหลี เป็น 1 ใน34 จังหวัดของปรเทสอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดิมปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมดห้าล้านหกแสนกว่าตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิน สามล้านสี่แสนกว่าคน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาาาที่ใช้คือภาษาอนิดดนีเซียนและภาษาบาหลี
             บาหลีเป็นถ่ินที่อยุ่ของชนเผ่าออสโตรนีเซียน ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมบนเกาะไต้หวัน โดยช้เส้นทางทางทะเลผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ขิดกับผู้คนที่อาศัยอยุ่บริเวณหมูเกาะอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และโอเชียเนีย มีการขุพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก์ ที่อยุทางตะวันตก รวมทั้งที่ต้้งถิ่นฐานและหลุ่มฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยุ่ที่พิพิธภัณฑ์ซิตุสปูร์ลาลากา ที่เมืองกีลีมานุก์ อีกด้วย ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแพร่ศาสนาฮินดูเข้ามยังกมุ่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รุ้กันน้อยมาก อย่างไรก็ตามบาหลีเร่ิมเปนเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฎในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของศาสนาพุทธและฮินดู บรเิวณรอบๆ ภูเขากูนุงกาวี และถ้ำโกอากาจะฮ์..
            - ประเทศปาเลา มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา เป้ฯประเทศปมู่เกาะในมหาสมุทรปแซิฟิก ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิลโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พงศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก
            สันนิฐานว่าชนพื้นเมืองของปาเลาเป็นพวกที่อพยพมาจากมุ่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ส่วนชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมาถึงปาเลาเป็นชาวสเปน แต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานจริงจังจนกระทั่งเรือของอังกฤษอัปปางนอกฝั่งปาเลาจึงทำให้เชาวอังกฤษเร่ิมรุ้จักเกาะแห่งนี้ และกลายเป็นคู้ค้าหลัก ในขณะเดียวกันโรคติดต่อที่มาจากชาวยุโรปก็คร่าชีวิตชาวเกาะเป็นจำนวนมาก
            ต่อมาชาวสเปน ได้มีอำนาจเหนื่อปาเลา แต่ภายหลังได้ขายอมู่เกาะนี้ให้แก่เยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปาเลาจึงกลายเป็นสนารบระหวว่างญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ภาญหลังสครมสหรัฐอเมริกาเริ่มมีอำนาจแทนญี่ปุ่่น ปาเลาต้องพึงพาความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาเกือบทุกด้าน หลังจากได้รับเอกราช ก็ยังได้รับการช่วยเหลือทางการเงินและการป้องกันจากสหรัฐอเมริกา..
       
 - เกาะลอมบอก เป็นเกาะที่อยุ่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า ไลอมบอก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันตก ประเทสอินโดนีเซีย ภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและภูเขาไฟ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวซาซักมีภาษาเป็นของตนเองคือ ภาษาซาซักที่ใกล้เคียงกับภาษาชวาและภาษาบาหลี วัฒนธรรมหลายอย่างของขาวซาซักก็ใกล้เคียงกับวัฒนธรรมของชวาและบาหลี ชาวซาซักแบ่งตามศาสนาได้ 2 กลุ่มคือ เวอตูลิม นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี แบบะดียวกับชาวอินโดนีเซียโดยทั่วไป และเวอตูเตอลู นับถือศาสนาอิสลามควบคู่กับวัฒนธรรมดั้งเดิม นอกจากนี้ยังมีชาวซาซักอีกกลุ่มที่นับถือ พุทธ-ผี ควบคู่กัน มีอยู่ประมาณ 8,000 คน
              เดิมเกาะลอมบอกเป็นอาณาจักรอิสระประกอบด้วยอาณาจักรเล็กๆ หลายแห่ง โดยอาณาจักรที่สำคัญที่สุดคือาณาจักเซอลาปากรับ ที่นับถือศาสนาฮินดูต่มาชวาตะวันออกได้ยกทัพมาตีและรวมลอมบอกเข้ากับอาณาจักรมัชปาหิต โดยลอมบอกรับอิทธิพลจากชวาทั้งศษสนาฮินดุและศาสนาอิสลาม ต่อมาชาวบาหลีในสมัยอาณาจักคารังกาเซ้มเข้ามาปกครองลอมบอกจนถึง พ.ศ. 2437 ในปีนี้เองลอมลอกร่วมมือกับดัตช์ก่อกบฎต่อบาหลี ซึ่งทำให้บาหลีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ อย่างไรก็ตามเมือดัตข์ชนะได้เข้ามาปกครองลอมบอกในฐานะอาณานิคมทั้นที จนญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเมือ พ.ศ. 2485 ดัตช์เคลื่อนพลกลับมาอีกครั้งเมื่อสงครามสงบในพ.ศ. 2488 แต่เกิดการต่ต้อานจากชาวพื้นเมืองโดยทัี่วไป เมื่ออินโดนีเซียได้รับเอกราช ลอมบอกจึงเป้นสวนหนึงของอินโดนีเซีย
           - เกาะสุมาตรา ในสมัยโบราณ เกาะแห่งนี้มีชื่อเรียกเป็ฯภาษาสันสกฤตว่าสุวรรณทวีป (เกาะทอง) และสุวรรณภูมิ (แผ่นดินทอง) ทั้งนี้ก็เพราะมีการพบทองคำบนที่ราสุงของเกาะแห่งนี้ ส่วนนักภูมิศาสตร์ชาวอาหรับ เรียกเกาะนี้หลายชื่อ ได้แก่ ลามรี, ลามุรี, ลามบรีและรามนี ในคริสต์สตวรรษที่ 10-13 โดยหมายถึงอาณาจักรที่อยุ่ใกล้กับเมืองปั่นดุงอาเจะฮ์ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นจุดแรกที่พ่อค้าที่เดินเรือมักแวะมาข้นฝั่ง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ชื่อสุมาตราเป็นที่นิยมเรียกกันมาก โดยหมายถึงอาณาจักซามูดรา(สมุทร) ซึ่งกำลังเรืองอำนาจ แต่นักเขียนชาวยุโรปในศตวรรษที่ 19 พบว่าชาวพื้นเมืองไใ่มีคำเรียกชื่อเกาแห่งนี้
          แกนที่ยาวที่สุดของเกาะอยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือไปตะวันออกเแียงใต้ ดดยผ่านเส้นศูนย์สุตรตรงกลางพื้นที่ด้านในของเกาะแบ่งเป็น 2 เขตทางภุมิศาสตร์ใหญ่ๆ คือ เทือกเขาบารีซัน ทางตะวันตกและพื้นที่ลุ่มทางตะวันออก ทางตะวันออกเฉียงใต้คือ เกาะชวา แบ่งด้วยช่องแคบซุนดา ทางเหนือคือคาบสมุทรมลายู แบ่งด้วยช่องแคบมะละกา ทางตะวันออกคือ เกาะบอร์เนียว แบ่งด้วยช่องแคบการีมาดา ทางตะวันตกของเกาะคือมหาสมุทรอินเดียว สันหลังของเกาะคือเทือกเขาบรีซัน ภูเขาไฟในภุมิภาคนี้ทำให้เกาะนี้มีทั้งพื้นดินอุดมสมบุรณ์และทัศนียภาพอันสวยงาม ..
           - เกาะซูลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป้นหนึ่งในเกาะซุนดใหญ่ 4 เกาะของปรเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแ่ห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียวตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2488 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเ้นส่วนหนึ่งของนิคมาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498 เดิมนั้นชาวโปรตุเกสตั้งชื่อเกาะนี้ว่า "เซเลบีส" ส่วนความหมายนั้นไม่ปรากฎชัด นตอนแรกไม่ได้ใช้คำนี้เรียกพื้นที่ท้งเกาะ เพราะชาวโปรตุเกสคิดว่าซุลาเวซีเป็นหมู่เกาะ ชื่อซูลาเวซีที่ใช้ในปจจุบันมาจากคำว่า "ซูลา" เกาะ และ "เบซี" เหล็ก โดยอาจหมายถึงการน้ำเข้าเหล็กในอดีตจากตะกอนเหล็กทีมีอยุ่มากในทะเลสาบมาตาโน..
          - เกาะกวมมีพื้นที่ 549 ตารางกิโลเมตร ส่วนเหนือองเกาะเป็นที่ราบหินปูนปะการังในขณะที่ทางส่วนใต้มียอดภูเขาไฟ และมีพืชหินปะการังล้อมรอบพื้นที่สวนใหญ่ของเกาะ
            กวมเป็นชื่อที่อยุ่ทางทิใต้สุดของแนวลูกโซ่มาเรียาและเป็นเาะที่ใหญ่ที่สุดในไมโครนีเซีย ตั้งอยู่ใกล้ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ซึ่งเป็นเขตมุดตัวบริเวณชอบของแผ่นธรณีภาคแปซิฟิก แซลเลนเจอร์ดีป เป็นจุดที่ลึกที่สุดของโลก ตั้งอยุ่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกวม มีความลึก 10,911 เมตร เกาะกวมประสบกับภัยแผ่นดินไหวซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยุ่ใกล้กับเกาะมีระดับความสั่นสะเทือน ตั้งแต่ 7.0 ถึง 8.2 ริกเตอร์..
         
 กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกุลออสโตรีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมูเกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมากากัสในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหุพจน์ การออกเสียงเป้นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง
           หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียนถูกแบ่งเป็นหลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง - ตะวันออก การแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบ่งของกลุ่มตะวันตำเป็นการแบ่งโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจบุันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเปนสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนศุนย์กลาง กลุ่มในเรียกว่า กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ กลุ่นอกเรียกวา กลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
            กลุ่มภาษามาเลย์อิก กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป้นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซุลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมท้งภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย ภาษามินังกาเบาในสุมาตากลาง ภาษาอาเจะห์ในอาเจะห ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา ภษามอเกนในไทย และภาาอีปันในบอร์เนียวเหนือ
ภาษาบาหลี
           ภาษาชวา คือ ภาษาพุดของผุ้ที่อสัยอยุ่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดีเซียเป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75500,000 คน ภาาาชวาอยุ่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซีย จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย และภาษามาเลย์ ผุ้พูดภาษาชวา พุดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่นๆ มีชุมชนผุ้พุดภาษาชวาขนาดใหย่ในประเทมาเลเซีย โยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามาเลย์ได้
          ภาษาบันติก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในทางเหนือของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซียเป็นภาษาของชาวบันติก ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนไปใช้ภาษามาเย์สำเนีงมานาโดแทน ทำให้ภาษาบันติก เหลือผุ้พุดน้อย เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ผุ้ชายโดยที่ผุ้หญิงที่อายุน้อยหว่า 30 ปีมีน้อยมากที่รู้ภาษานี้ เป็นภาษารูปคำติดต่อ เรียงประดยคแบบประธาน-กริยา -กรรมและกริยา-กรรม-ประธาน
         ภาษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พุดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน ิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพุดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาาาซาซักและภาษาอัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับขั้นภายในภาษา
          ภาษาบูกิส เป็นภาษาที่พุดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซีประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามาเลย์ ส่วนชาวบูกิสเรียกวภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตรยิ์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐาลายลักษณ์อักษณครั้งแรกที่พบคือ อี ลากาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้
       
ภาษาบูกิส
ภาษากัมเบอรา หรือภาาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภษษาฮีลู ฮุมบา เป้ฯภาษากลุ่มาลโย-โพลีเนเซียน ใช้พุดในกมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซีย
           ภาษามากัสซาร์ หรือภาษามากาซาร์ เป็นทั้งชื่อของภาษาและระบบการเขียนในเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาบูกิส ในอดีตเขียนด้วยอักษรลนตารา/มากาซาร์ ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาบูกิสและภาษามัดาร์ด้วย ปัจจุบันนิยมเขียนด้วยอักษรละตินมากว่า หมวดหมู่ ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
           บามาดูรา เป็นที่ใช้พุดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูด และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคดปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโยโพลีเนเซยตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผุ้พูด กว่าสิบสามล้านคน ในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัทพ์เหมือนกับภาษากาเวียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนยง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการต้ามากที่สุด เป็นสำเนยงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผุ้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซยด้วย แปบไบเบิลเป็นภาษานนี้ใน พ.ศ. 2537
            ภาษาตูกังเบซี เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ใช้พุดในกลุ่มเกาะดูกังเบซี ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะซูลาเวซี ในอินโดนีเซีย มีผุ้พูดราวสองแสนคน มีพยัญชนะ 25 เสียง สระ 5 เสียง มีการเน้นเสียงที่พยางค์ที่ 2 หรือพยางค์สุดท้าย ลักษณะฉพาะของภาษานี้คือ เสียงจากเส้นเสียง และเสียงเสียดแทรก /s/ เสียงนาสิกที่แยกเป้นกน่วยเสียงต่างหาก
            ภาษาซาซะก์ เป้ฯภาษาที่พุดโดยชาวซาซักซึ่งอยุ่ในเกาะบอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาบาหลีและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวาแบ่งเป็น 5 ำเนียง
            ภาษาซุนดา เป้ฯภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกุลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน
           ภาษาเม็นตาไว เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน พูดโดยชาวเม็นตาไวในเกาะเม็นตาไว สุมาตราตะวันตก มีหลายสำเนียง เช่น ซิมาเลอฆี ซากาลากัน ซีลาบู ตารการกุ ซัวมันฆันยา ซีเบอรุตเหนือ ซีเบอรุตใต้ ซีปูรา ปาไฆ เป็นต้น

            - http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษาซุนดา- ซุลาเวซี
            - th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)