Austronesian languages II (Borneo-Philippines languages)

             กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพูดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาาา เป็นภาาาตายแล้ว 10 ภาษา ที่เหลืออีก 4-5 ภาษาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสีย่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย
             ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีความสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป้นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียราว 1,200 ภาษา ที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรับรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่อมกันว่าตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมตริฐานนี้
            ปัจจุบัน กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาษาจีนกลาง หลังจากที่ัฐบาลของสาธารณรัฐจีนเริ่มจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน
            การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทั่วไปทำได้ยากและมักมีข้อโต้เย้งเสมอ ซึ่งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน
            กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรอืกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่รวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียวคาบสมุทรทางเหนือของเกาะซูลาเวซี และเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้เป็นการแบ่งตามภูมิศาสตร์
         ภูมิศาสตร์ (ผู้ที่ใช้กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์)
        ไต้หวัน เป็นเกาะในมหาสมุทราแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉรยงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาะารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาะารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไร้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอาเป็นอาณานิคม
       
ภูเขาไฟปินาตูโบ เป็นภูเขาไฟประเภทกรวยสลับชั้นที่มพลังอยู่ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ บริเวณเทือกเขาซัมบาเลซ เหนือกรุงมะนิลา ถูกค้นพบโดยทหารสเปนครั้งการล่าอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. 2099
          รัฐซาบะฮ์ เป็นรัฐที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย และยบังเป้ฯที่รุ้จักกันในชื่อเนอเกอรีดีบาวะฮ์บายู ซึ่งหมายถึง ดินแดนที่อยุ่ใต้ลม ก่อนที่จะเข้าร่วมอยุ่กับสหพันธรัฐมาเลเซียนั้น ซาบะฮ์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มีชื่อว่านอร์ทบอร์เนียว ซาบะฮ์เป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยุ้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะีขนาดเล็กกว่ารัฐซาราวะก์ ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้ของเกาะเรียกว่ากาลิมันตันเป้ฯของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหฃลวงของรัฐคือโกตากีนาบาลู เดิมมีชื่อว่า เจสเซลตัน
          ดาเบา นครดาเบา เป็นเมืองนมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนยกลางของเมืองเรียกว่าเมโทรคาเบา ดาเบาเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสองและเขตเมืองของดาเบาหรือเมโทรดาเบา เป็นเขตเมืองีี่ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสาม ของประเทศเมืองที่ทำหน้าที่เป็นการต้าพาณิชย์และอุตสาหกรรมเป็นศูนย์กลางในมินดาเนาและศูนย์ภูมิภาคสำหรับเขตดาเบา เมืองดาเบาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ดูจากขนาดของพื้นที่
         ประเทศฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะจำนวน 7,107 เกาะ ตั้งอยุ่นมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชี่ยแผ่นดินใหญ่ทางตะวันออกเแียงใต้ประมาณ 1,000 กม. และมีลักษรพิเศษคือเป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก นิวสเปน และสหรัฐอเมริกา ได้ครองฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมเป็นเวลา 4 ศตวรรษ และเป็นสองอิทธิพลใหญ่ที่สุดต่อวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสองชาติในเอเชียที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ (อีกชาติหนึ่งคือติมอร์-เลสเต) และเป็นหนึ่งในชาติที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากที่สุด เป้นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกกับตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ อาร์โนลด์ โจเซฟ ทอยน์บี นักประวัติศาสตร์ชาวอักกฤษ ได้กล่าวไว้ในงานของเขาว่า ประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศลาตินอเมริการที่ถูกพัดพาไปยังตะวันออก โดยคลื่อนทะเลยักษ์
        ประเทศได้หวัน ไต้หวันในภาษาไต้หวัน หรือไถงวาน ในชื่อท้องถ่ิน หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะารณรัฐจีน เป็นรัฐในทวีปเอเชยตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วย เกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมอิน , ได้หวัน, เผิงหู, หมาจู่, และอูชิวกับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีน ด้านตะวันออกและตะวันออกเแียงเหนือติดกับญีปุ่น และด้านใต้ตคิดกับฟฺิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง สวนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่วชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉินกง ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเาะไต้หวันและเข้ารุกไล่ฝรั่งเออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจัรตกหนิง ขึ้นบนเกสะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" แต่ในปี 1683 ก่อนเสียไต้หวันคือให้แก่จีนหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรค
ชาตินิยม ได้เป็นใหญ่แต่ไม่นามก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยมพรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน และ้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรับประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลเนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองไต้หวันได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืงหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศราฐกิจไต้หวันงอกงามอย่งรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ช่อว่าเป็นหนึงในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า เศราฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของโลกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงของำต้หวันมีบทบาทสำคัญมากในเศราฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการต้าโลกและความร่วมมือทางเศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศราฐกิจ การสาะารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยุ่ในอันดับสูงด้วย
            เกาะบอร์เนียว หรือกลีมนตัน เป็นเกาะขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ฺ และเกาะนิวกีนี มีประเทศ 3 ประเทศอยุ่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยุ่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทสอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเแียงต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเแียงใต้
            เกาะมาดากัสการ์ ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของทวีปแอฟริกาบนมหาสมุทรอินเดีย มีช่องแคบโมซัมบิกคั่นระหว่างเกาะกับฝั่งทวีปแอฟริกาห่างกันเพียง 300 ไมล์ เกาะมาดากัสการ์มีพื้นที่ 587,713 ตารางกิดลเมตร ถือเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก ขนาดเท่าๆ กับประเทศสเปน และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งเกาะเป็ฯอาณาเขตของประเทศมาดากัสการ์ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะมีความยาวตั้งแต่เหนือจรดใต้ คำว่า "มาดากัสการ์" มีความหมายว่า ไดินแดนแห่งบรรพบุรุษ" เนื่องจากชาวพื้นเมืองที่นี้มีควมเชื่อว่า เมื่อตายไปแลววิญญาณของผู้ที่เสียขชีวิตจะยังควปกป้องสิ่งที่ชีวิตที่เหลือ เกาะมาดากัสการ์เริ่มมีมนุษย์เข้ามาอาศัยราว 2,000 ปีที่แล้ว ไม่ใช่มาจากผืนแผ่นดินใหญ่แอฟริกา หากแต่อพยพมาไกลจากอินโดนีเซีย เกาะมาดากัสการ์เกิดขึ้นมารั้งเมื่อติดเป็นผืนแผ่นดินเดียวกับมหาทวีปกอนด์วานา ที่ถือกำเนิดเมื่อ 180 ล้านปีก่อน จนกระทั่ว 140 ล้านปีก่อน กอนด์วานาได้แกตตัวแกออกจากกัน เกาะมาดากัสการ์ได้แยกตัวออกมาจากทวีปแอฟริกาเมื่อ 70 ล้านปีก่อน โดยเรเ่ิมแรกอยู่ติดกับส่วนที่เป็นอินเดียในปัจจุบัน จากนั้นเมื่อ 40 ล้านเปีก่อนอินเดียได้แยกตัวลอยขึ้นเหนือไปชนกับภูมิภาคเอเชียใต้ จนให้เกิดเป็นแนวเทือกเขหิมาลัย ในขณะที่เกาะมาดากัสการ์ได้อยู่ในแนวภูมิอากาศที่แห้งแล้ง ส่งผลให้ทางตอนใต้ของเกาะมีสภาพที่แ้งแล้ง แต่ต่อมาได้ค่อย เคลื่อนที่อย่างช้าๆ จนกระทั่งอยู่ใน ณ ที่อยู่ปัจจุบัน เมื่อ 60 ล้านปีก่อน และได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนที่พัดกระหนำ่ชายฝั่งตะวันออกอีกของแอฟริกา ซึ่งอิทธิพลทำให้เกาะมาดากัสการ์มีสภาพอากาศและ๓ิมประเทศที่หลากหลายแตกต่างกันอย่างสุดขั้วในปัจจุบัน โดยมีฤดูแ้งนานถึงครึงปี และอีกครึ่งปีฝนตกหนัก ซึ่งปริมาณน้ำฝนที่ตกมาเฉลี่ยวันละ 10 นิ้ว ส่งผลให้น้ำท่วมเอ่อล้นเกิดเป็นแม่น้ำและทะเลสาบหลายแห่ง และทุกวันนี้ตัวเกาะก็ยังคงเหลือนที่ต่อไปในทางเหนือเฉลี่ยีละ 3-4 น้ิงจึงทำให้เกาะมาดากัสการ์มีลักษณะของพืชพันธุ์และสัตว์ที่หลากหลายแห่งหนึ่งของดลก จนได้รับสมญาว่า "ทวีปที่ 8 ของโลก" ในบางประเภทพบได้แต่เฉพราะบนเกาะนี้เท่านั้น จากการปรับตัววิวัฒนาการให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อศัย เช่น ลีเมอร์ ซึ่งสภาพความหลากหลายของพชและสัตว์บนเกาะถูกนำไปสร้าเป็นภาพยนตร์การ์ตูนโดบริษัท ดรีมเวิร์กสแอนิเมชั่น เรื่อง มาดากัสการ์ และ สารคดทางอนิมอลพลาเน็ต
               เกาะลูซอน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศราฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ(อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันแบละมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือและเกาะต่างๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันตัวเนส เกาะมารินตูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนแรากฎในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดซ้องน้อย" หรือ Lusong kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" หรือ "ลูซอน" ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16  ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา หรือ นิวคาสตีล อีกด้วย ต่อมาใช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ กากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยุ่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่วเกาะลูซอนและเกาะอื่นๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ.1946 ลูซอน
             เกาะซุลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดิมทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์  และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้เกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498
            ภาษาต่างๆ ที่ผุ้พูดในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก อาทิ
            - ภาษาบูฮิด ภาษาบูฮิ เป็นภาษาที่พุดโดยชาวมังยันในจังหวัด มินโดโร ฟิลิปปินส์ แบ่งเป็นสำเรียงตะวันออกและตะวันตก มีตัวอักษรเป็นของตนเอง คืออักษรบูฮิด บูฮิด
            - ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480  สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป้นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปิโน เมื่อ พ.ศ. 2515
            - ภาษากาปัมปางัน เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้พุดในประเทศฟิลิปปิน
            - ภาษากินาไรอา อยู่ในตระกูลงิซายัน มีผุ้พุดในจังหวัดอินติเกและอิโลอิโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกน ผุ้พุดภาษากินาไรอา จะเข้าใจภาษาฮิลีไกนอนได้ แต่ภาษากินาไรอา ไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮิลีไกนอน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น
            - ภาษากินดาเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ช้พุดเป็นส่วนใหญ่ในจังหวัดมากินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีกระจายอยู่ในส่วนอื่นๆ ของเกาะมินดาเนาเช่น ซัมโบวังกา ดาเวา และจังหวัดอื่นๆ เช่น จึงหวัดนอร์ทโกตานาโต จังหวัดเซาท์โกตาบาโต จังหวัดซารังกานี จังหวัดซัมโบอังการเดลซูร์ และจังหวัดซัมโบอังกาซิบูไก รวมทั้เงในมะนิลาด้วย หมวดหมุ่ ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์
            - ภาษามาราเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในจังหวัดลาเนา เลล นอริเต และลาเนา เดล ซุรในฟิลิปปินส์ มาราเนา
            - ภาษามาลากาซี เป็นภาษาราชของประเทศมาดากัสการ
            - ภาษาวาไร-วาไร ซามาร์-เลย์เต หรือ ซาร์มานอน เป็นภาษาที่ใช้พุดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์ อีสเทิร์นซามาร์, เลย์เต และบิลิรันในฟิลิปปินส์ จัดอยูในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบัวโนและใกล้เคียงกับภาษาฮ์ลิไกนอน
            - ภาษาอีบานัก มีผุ้พูด ห้าแสนคน ในฟิลิปปินส์ตะวันออกเแียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอีซาเบลา จากการยัน โซลานา จาบากัน และอีลากัน รวมทั้งผุ้อพยพไปอยู่ ตะวันออกกลางและสหรัฐ ผุ้พูดภาาานี้ ส่วนใหญ่จะพูดภาษาอีโลกาโน ที่เป็นภาษากลางของลูซอนภาคเหนือได้ด้วย คำว่า "อีบานัก" มาจาก "บันนัก" แปลว่าแม่น้ำ ใกล้เคียงกับภาษากัตตัง ภาษาอิตาวิส ภาษาอักตา ภาษาโยกัต และภาษามาลาเวก อีบานัก
             - ภาษาอีวาตัน หรืออีบาตัน เป็นภาษาตระกุลออสโตนีเซีย มีผุ้พุดบนเกาะบาดาเนส ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ เนื่องจากอยุ่ใกล้ไต้หวัน จึงมีลักษระใกล้เคียงกับภาษาพื้นเมืองในไต้หวัน มากกวาภาษาในฟิลิปปินส์อื่นๆ แต่ไม่จัดอยุ่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา อักษร "e" จะออกเสียงใกล้เคียงกับ "uh" ในภาษาอังกฤษ เช่น palek ออกเสียงเป็น pa3luhk อีวาตัน
            - ภาษาอีโลกาโน เป็นภาษาที่มีผุ้พุดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็ฯภาษาตระกูลออสดตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน
           - ภาษาฮานูโนโอ เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมังยัน ในจังหวัดมินโคโร ฟิลิปปินส์ เขียนด้วยอักษรฮานูโนโอ ฮานูโนโอ
         
ภูเขาไฟพินาตุโบ
- ภาษาฮิลิไกนอน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียใช้พูดในชิซายาตะวันตก ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดอิโลอิโล แนะเนโกรส และจังหวัดอื่นๆ ในเกาะปาไน เช่น กาปิซ, อันติเก, อักลัน และกิมารัส มีผุ้พูด 7 ล้านคน ใช้เป็นภาษาแม่ และใช้เป็นภาษาที่สองอีก 4 ล้านคน
          - ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาะารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกุลภาษาออสโตนีเซียน มีความสัมพนธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็ฯภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคนในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากววา
          - ภาษาซัมบัส เป็ฯภาษากลุ่มซัมบาลิกมีผู้พูดส่วนใหญ่ในจังหวัดซัมบาเลส ฟิลิปปินส์มี 2 สำเนียง คือตีนาและโปโตลัน มีผุ้พุดราว 70,000 คน และ 32,867 คน ตามลำดับ ผุ้พูดสำเนียงตีนาพบในซานตาครูซ จันดีลาเรีย มาซินลอก และอีบา และยังพบในเกซอน เกาะปาลาวันด้วย ผุ้พุสำเนียงโบโตลัน พบในโบโตลัน และจาบางัน มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 4 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
         - ภาษาปางาซินัน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาลาดย-โพลีเนเซีย มีผุ้พุดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปางาซินัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปางาซินันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม
       
ภูเขาไฟพินาตุโบในปัจจุบัน
  - ภาษาโบลิเนา เป็นภาษาที่ใช้พุดในเทศบาลปางาซิเนนเซ ของอันดาและเมืองโบลิเนา มีผุ้พุดราว 50,000 คน มากเป็นอันดับสองในภาษากลุ่มซัมบาลิก มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 5 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
          - ภาษาเตา หรือภาษายามิเปนภาษากลุ่มบาตานิกพูดโดยชาวเตาในไต้หวัน เป็นภาษาเดียวในไต้หวันที่ไม่อยู่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา แต่มลักษณะทางภาษาศาสตร์ร่วมกับภาษาอีวาตันที่พุดในเกาะบาตาเนสทางตอนเหนือของฟิลิปปิน
          - ภาษาเตาซูก อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซีและอินโดนีเซียด้วย
           - ภาษาเซบัวโน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปินส์ 18 ล้านคน ชื่อของภาษามาจากเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึงเชื้อชาด

                   
          - th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา
           http://th.unionpedia.org ค้นหา กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)