ความร่วมมือด้านการศึกษาเป้นส่วนหนึ่งของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเวยน เมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษาา ครั้งแรกในช่วงเดือนตุลาคม 2518
พม่าหรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กรุงเนปิดอว์ ประชากรประมาณ 55.7 ล้านคน เป็ฯประเทศกำลังพัฒนาที่รายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ในเกณฑ์ต่ำ การเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพหลักของคนพม่า
หน่วยงานจัดการศึกษาขงพม่า คือ กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาของพม่า รัฐเป้นผุ้สนับสนุนด้านงบประมาณของทุกโรงเรียนโดยนักเรียนจะเสียค่าเล่าเรียนเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตาอนปลายเท่านันระบบการศึกษาแต่เดิมนั้นเป้ฯระบบบริหารซึ่งรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลางต่อมาได้มีการกระจายอำนาจการบริหารออกไปสู่ระดับรัฐและหัวเมืองต่างๆ โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษาเป้นผุ้ควบคุมดูและและประสานงานระบบ
การศึกษาของพม่า เป้ฯระบบ 5+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 5-9 แบ่งได้เป็น
1. ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 5 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็ฯการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1) ระดับมัธยมศึกษาตานต้น เป้ฯช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 10-13 ปี
2.2) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป้ฯชวงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาเรียน 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 14-15 ปี
3. ระดับอาชีวศึกษา การศึกษาในระดับนี้ใช้เวลา 1-3 ปี
4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของพม่านั้น พม่าพยายามที่จะจัดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศแต่ยังมีปัญหาาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสุดุและอุกรณ์ให้กับโรงเรียนในบางท้องที่ได้ รัฐบาลพม่าได้ตั้งเป้าหมาย ที่จะให้มีโรงเรียนอย่างน้อยหึ่งแห่งในทุกมู่บ้าน กรมการเทคโนโลยี เกษตรและอาชีีวศึกษา เป้นหน่วยงานที่ดุแลจัดการศึกษาด้านเกษตรกรรม พณิชยกรรม วิศวกรรมเครื่องกล การประมงคหกรรมและการฝึกหันดครู ทางด้านช่วงเทคนิค การเรียน - การสอนมีทั้งเต็มเวลาและนอกเวลา มีทั้งหลักสูตรระยะยาวและระยะสั้น เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงานในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของพม่าที่กำลังเปลี่ยนแปลง
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีเมืองหลวงตั้งอยงู่ที่ กรุงมะนิลา มีประชากรประมาณ 107.6 ล้านคน ( 2014) เป็นประเทศเกษตรกรรม แต่มีเนื้อที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกอยุ่อย่างจำกัด จึงทำให้พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยู่บริเวณที่ราบต่ำและเนินเขาที่รปับให้เป้นขชั้นบันได พืชเศรฐกิจสำคัญ คือ มะพร้าว อ้อย ป่านอบากา และข้าวเจ้า นอกจากนี้ยังมีแร่ส่งออกที่สำคัญ คือ เลห็กโครไมต์ ทองแดง เงิน มีภาษาฟิลิปปิโน และ ภาษาอังกฤษเป็ฯภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
หน่วยงานจัดการศึกษาของฟิลิปปินส์ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ทีทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยการศึกษาแบบที่เป็นทางการนั้นมีลำดับขั้นตอนของ
การเรียนอยุ่สามระดับนั่น คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาแบบเป็นทางการฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี จากอายุ 5-17 ปี แบ่งได้เป็น
1 ระดับปฐมวัย ในระดับประถมศึกาานั้นจะใช้เวลาศึกษาภาคบังคัย 6 ปี ที่โรงเรียนของรัฐบาลหรือ 7 ปี ในโงเรียนของเอกชนนอกเหนือ จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยซึงนักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ โดยการศึกษาระดับนี้รวมไปถึงการเรียนชั้นอนุบาลและอาจเป็นหลักสูตรเตรียมประถมศึกษาก็ได้ นักเรียนที่มีอายุระหว่าง 3-4 ปีจะเข้าเรียนในสถานรับเลื้องเด็กก่อนวัยเรียนจนกระทั่งมีอายุครอบ 5-6 ปี จึงจะเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
2. ระดับมัธยมึกษา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาใช้เวลา 4 ปี โดยนักเรียนต้องเรียนจบชั้นประถมึกษาตอนปลายก่อน นักเรียนส่วนใหญ่ที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาจะมีอายุ 12 ปี และเรียนจบเมื่ออายุ 15 ปี การเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
3 ระดับอาชีวศึกษา รวมไปถึงหลักสูตรอาชีวศึกษา 2-3 ปีที่อาจไม่มีการมอบปริญญาได้ จะดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ด้านการพัฒนาทักษระและการศึกาาาด้านเทคนิคซึ่งยังมีหน้าที่ปบฒนิเทศ ให้การฝึกอบรมและการพัฒนาด้านทักษะอาชพแก่เยาวชนที่ไม่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนและผุ้ใหญ่ที่ว่งงาน
4 ระดับอุดศึกษา ระดับอุดมศึกษานั้น นักเรียนส่วนใหญ่จะมีอายุประมาณ 16 ปี การศึกษาระดับนี้แบ่งเป็นระดับปรญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกในหลากลายสาขาวิชา
ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ใกล้เคียงกับระบบการศึกษาแบบเป็นทางการของสหรัฐอเมริกาในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวิปเอเชียมักจะได้รับอทธิพลจากประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเนเธอร์แลนด์การศึกษาแบบไม่เป็นทางการซึ่งรวมถึงการรับความรู้นอกโรงเรียนันมีัตถุประสงค์หลักสำหรับผุ้รียนกลุ่มเฉพาะ เช่น เยาวชนหรือผุ้ใหญที่ไม่สามารถเข้าเรียต่อที่ดรเรียนหรือมหาวิทยาลัยได้
การจัดการศึกษาแบบไม่เป็นทางการ หือนอกระบบโรงเรีย ได้แก่ หลักูตรการศ฿กษาผุ้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือจอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษาบางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาตากาล็อก
สาธารณรัฐสิงคโปร์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ มีเมืองหลวงช่อเดียวกับประเทศที่ประชกรประมาณ 5.6 ล้านคน (2014) เป็นประเทศที่มีพื้นที่จำกัดและมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอยู่น้อย สินค้าส่งออกที่สำคัญจึงเป็นพวกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกร์และสวนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป แยงวงจรไฟฟ้า และสวนประกอบอากาศยานและอุปกรณืการบิน ส่วนสินค้านำเข้าที่สำคัญก็จะเป็นพวก พลังงาน อาหาร และวัตถถุดิบในงานอุตสาหรรม
หน่วงานจัดการศึกษาของสิงคโปร์ คือ กระทรวงศึกาธิการรัฐบาลสิคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก โดยถือว่าประชาชนเป้ฯทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุอขงประเทศ รัฐบาลได้ให้การอุดหนุนด้านการศึกษาจนเสมือนกับเป้ฯการศึกษาแบบให้เปล่า โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาล้วนเป็นโรงเรียนของรัฐบาลหรือกึ่งรัฐบาลสถานศึกาาของเอกชนในสิงคโป์ มีเฉพาะในระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษาควบคู่กันไป ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี ดังนี้
1. ระดับปฐมวัย ใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรยนเมื่ออายุ 6 ปี การเลื่อเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบ เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาต่อไป ผลการเข้าสอบมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกาาต่อในระดับมัธยมศึกษา
2 ระดับมธยมศึกษา ระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุ นักเรียนอยู่ระหว่าง 12-15 ปี กาศึกาในระดับมธยมึกาานั้น จะมี 3 หลักาุตรให้เลือกตามความสามารถและความสนใจ โดยใช้เวลา 4-5 ปี ด้แก หลักสูตรพิเศษ หลักสูตรเร่งรัด หลักสูตรปกติ เมื่อจบหลักสุตรจะมีการสอบโดยหลักสูตรพิเศษ และหลักสูตรเร่งรัดจะต้องผ่านประกาศนียลัตร GCB ในระดับ "O" Level ส่วนหลักสูตรปกติจะต้องผ่าน GCB "N" Level แต่ถ้าต้องศึกษาต่อในระดับเตรียมอุดมศึกาา ก็ต้องสอบให้ผ่าน GCB "O" Level เช่นเดียวกัน
3 ระดับหลังมัธยมศึกษา
3.1) ระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษา ผุ้ที่จะเรียนตอในมหาวิทยาลัยก็จะเข้าศึกษาต่อใน จูเนียร์ คอลเลจ อีก 2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอบ GCE "A" Level เพื่อนำผลคะแนไปตัดสินการเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย จะต้องศึกษาขั้นเตรียมมหาิวทิยาลัยอีก 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 16-17 ปี
3.2) ระดับอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค ของสิงคโปร์มี 4 แห่ง ส่วนวิทยาัยผลิตครูของสิงคโปร์มีอยูเพียงแห่งเดียว นอกจากนี้ ยังมี สถาบันที่จัดการศึกษาสำหรับผุ้ตอ้งการทักษระทางช่าง และช่างฝีมือ
4. ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยในสิงคโปร์มี 3 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะให้การศึกษาครอลคลุมเกือบทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี นานยาง จะเนนการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทัี้งวทิยาาสตร์ประยุกต์์ และสาขาธุรกิจ และการบัญชี และ มหววิทยาลัการจัดการ สิงคโปร์ เน้นเรื่องธุรกิจการจัดการ
ประเทศไทย หน่วยงานจัดการศึกษาของไทย คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) 2545 มีการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแยวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจาการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอน ฉะนั้นแนวทางใหใาคือ สถานศึกาษสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรุ้ที่ 3 รูปแบบ
ระบบการศึกษาของไทย เป็น ระบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
1. ระดับปฐมวัย ระดับปรถมศึกษาใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับใน เกระ 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษา เมื่อต้องการจะเลื่อนเกรดเพื่อสึกษาต่อในระดับถัดไปในระดับปฐมวัย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จะต้องได้รับการทดสอบ O-NET
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกาาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยูระหว่าง 12-14 ปี
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกาา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี โดยหากนักเรียนต้องการจะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจำเป้นต้องได้รบการทดสอบ GAT และ PAT
3. ระดับอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี ระดับต่ำหล่าปริญญาและระดับปรญญา การใช้คำว่า "อุดมศึกษา"แทนคำว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนามหรือชื่อทางการว่า สาธารณะรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ กรุงฮานอย ประชากรประมาณ 93.4 ล้านคน (2014)
หน่วยการจัดการศึกษาของเวียดนาม คือ กระทรวงศึกษาธิการและฝึกอบรม ระบบการศึกษาของเวียดนาม มีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประชาชนได้มีจิตวิญญาณในความเป้นสังคมนิยมมีเอกลัษณ์ประจำชาติและมีความสามารถ ในด้านอาชีพ ในปี พ.ศ. 2534 สภาแห่งชาติของเวยดนามได้ออกกฎหมายการกระจายการศึกษรระดับประถมศึกษา ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกว่าด้วยการศึกษาของเวียดนาม ระบบการศึกษาของเวียดนาม เป้ฯระบบ 5+4+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
ระดับปฐมวัย ระดับประภมศึกษาใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่อายุ 6 ปี การศึกษาในะระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสสู่ระบบการศึกษา
2 ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นช่วงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 11-14 ปี
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้ฯการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี
3. ระดับอาชีวศึกษา มีเทียบเคียงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
4. ระดับอุดมศึกาาแบงเป็นระดับอนุปรญญาและระดับปรญญา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาต่อเนื่องเป็นการศึกษาสำหรับประชาชนที่พลาดโอกาศการศึกษาในระบบสายสามัญและสายอาชีพ..http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf
วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Education System
ความร่วมมือด้านการศึกษาเป็นส่วนหนึีงของความร่วมมือเฉพาะดานของอาเซียน โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเซียนเมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษา ครั้งแรกในช่วงเดือนตุลาคม 2518
ความสำคัญของการศึกษาในการขัดเคลื่อนประชาคมอาเวยนเป็นกลไกสำคัญในการนำอาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 โดยกำหนดให้อาเซียนมีวิสัยทัศน์สู่ภายนอก มีสันติสุข แลละมีการเชือมโยงเข้าด้วยกันในการเป็นหุ้นส่วนในสิ่งแวดล้อมของประชาธิปไตยและอยุ่ร่วมกันอย่างกลมกลืน กรพัฒนาที่มีพลวัตรและการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดและในสังคมที่เอื้ออาทรที่ระลึกถภึงสายสัมพันธ์แน่นแฟ้นทางประวัติศาสตร์ ตระกนักถึงความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมที่มีร่วมกันและเชื่อมโยงในอัตลักษณ์ของภูมิภาค
เพื่อเป็ฯการสร้างความเข้าใจระบบการศึกษาของแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเซียน งานวิเทศสัมพันธ์ได้รวบรวมข้อมูลทางด้านการศึกษาของ 10 ประเทศในอาเซียน ดังนี้
บรูไน ดารุสซาลาม
หน่วยงานจัดการศึกษาของบรูไน คือ กระทรวงศึกษาธิการ โดยจะไม่มีการจัดการศึกษาภาคบังคับ แต่มีการจัดการศึกษราให้กับเด็กทุกคนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ยกเว้นโรเรียนสอนศาสนาซึ่งจะถูกควบคุมโดย กระทรวงกิจการศาสนา
ระบบการศึกษาของบรูไน มีระบบการศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัดการศึษาสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจาชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดับปฐมวัยเริ่มต้นจาการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษารดับต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติเพื่อรับประกาศนียบัตรชั้นต้น ในแต่ละช่วงระดับการศึกษา
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงกรศึกษาที่สูงขึ้นมาจาการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 12-14 ปี ผู้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะได้รับประกาศนียบัตร "รูไน BJCE"
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-16 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของบรูไน จะได้รับประกาศนียบัตร " O Level"
3. ระดับหลังมัธยมศึกษา ผู้ผ่านการศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษาของบรูไนจะได้รับประกาศนียบัตร
3.1 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา ประเทศบรูไนมีวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษาส่วนใหญ่สอนทางด้าน พยาบาลศาสตรื การเกาตร และหลักสูตรฝึกหันครูชั้นต้้น ทั้งนี้ระยะเวลาการสอนขึ้นอยุ่กับหลักสูตรของแต่ละวิทยาลัยซึ่งต้องได้รับการรับรองมาตรฐานจากทางรัฐบาล
3.2 หลักสูตรเตรียมอุดมศึกาา ครอบคลุมระยะเวลา 2 ปี เป็นหลักสูตรเพื่อเตรียมตัวนักเรียนเข้าสุ่การศึกษาชั้นสูงในระดับมหาวิทยาลัย
4. ระดับวิทยาลัย สถาบันชั้นสูง และมหาวิทยาลัย หลักสุตรการศึกษาชั้นสูงเหล่านี้จะฝึกนักศึกษาเพื่อเขัาสู่การทำงานที่ต้องใช้ทักษรทางวิชาชีพและวิชาการขึ้นสูง ได้แก่ ประกาศนียบัตรชั้นสุง ปริญญาตรี ปรญญาโท ปริญญาเอก อนุปรัญญา เป็นต้น สถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในบรุไนนั้นมีมไ่ถึง 10 แห่ง มหาวิทยาลัยที่เป็นความภาคภูมิใจของคนบรูไนและเป้นหนึ่งในมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียนได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม ซึ่งเปิดการเรียนการสอนในหลักสูตร ที่หลากหลายทั้งวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
สหราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ กัมพูชา มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงพนมเปญ มีประชากรประมาณ 15.5 ล้านคน ( 2014) โดยขึ้นชื่อเรื่องภาคเกษตรกรรม พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย นอกจากนี้ยังมีกาทำประมง น้ำจืดและป่าไม้ด้วย ส่วนภาคอุตสาหกรรมยังเป้ฯุอตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า เป็นต้น มีภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศษ เวียดนาม จีน และไทย ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
หน่วยการศึกษาของกัมพุชา คือ กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และการกีฬา ระบอบการจัดการศึกษาของกัมพุชาได้บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศราฐกิจของประเทศซึค่งมัีป้าหมายเืพ่อให้การศึกษาเป็ฯกลไกสำคัญของประเทศในการขจัดความยากจน
ระบบการศึกษาของกัมพุชา มีโครงสร้างปบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัการศึกษาสามารถแ่บ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจากชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดัีบปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าุ่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 12-14 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัะยมศึกษาตอนต้นของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
3. ระดับหลังมัธยมศึกษา
3.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-17 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
3.2 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เป็นหลักสุตรตั้งแต่ 1 ปี หรือ 3-5 ปี การศึกษาในวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษายังไม่เป็นที่นิยมจากประชาชนประเทศกัมพุชา ส่วนมากเน้นการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเขัาสู่มหาวิทยาลัย
4. ระดับอุดมศึกษา สภาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในกัมพูชามีจำนวน 88 แห่ง (2010) ประกอบด้วยสถาบันของรัฐ จำนวน 54 แห่ง สถาบันของเอกชนจำนวน 26 แห่ง การจัดการศึกษาะดับอุดมศึกษานี้ บางสถาบันศึกษาอยุ่ภายใต้การกำกับดุแลของกระทรวงเกษตรสาธารณสุขหรือแรงงาน การจัดการศึกษานอกระบบจะเนนการฝึกทักษะ ให้กับประชาชน
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ชื่อทางการว่าสาธารณรรัฐอินโดนีเซีย มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงจาการ์ตา มีประชากรประมาณ 253.6 ล้านคน ( 2014) เป็นประเทศหมุ่กาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยขึ้นชื่อเรื่องทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ แร่ธาตุต่างๆ เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุก และเหล็ก รวมทั้งมีภูมิประเทศที่เอื้อต่อการทำประมงจับสัตว์น้ำและทำเกษตรกรรม โดยปลูกพืชแบบขึ้นบันได มีภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
หน่วยงานจัดการศึกษาของอินโดนีเซีย คือ กระทรวงศึกษาธิการแห่งชาติ การจัดการศึกษาของอินโดนีเซียมีรูปแบบการศึกษาที่หลากหลาย ทั้งการศึกษาขึ้นพื้นฐาน การศึกษาด้านอาชีวศึกษา การจัดการศึกษาพิเศษ การศึกษาด้านการสอนศาสนา การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นต้น ระบบการศึกษราของอินโดนีเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคึบังคับ 9 ปี จากอายุ 7-15 ปี มีเป้าหมายเพื่อจัดหาทักษะพื้นฐานในการพัฒนาตนเองในฐานะที่เป็นปัจเจกชน สมาชิกในสังคม ประชากรในประเทศและโลก เท่าๆ กับที่เตรียมก้าวเข้าสู่การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งไปด้เป็น
1. ระดับปฐมวัย การศึกษรระดับปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 7 ปี ถึง 12 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี จะมีลักษระแตกต่างกัน 2 แบบ คือ โรงเรียนประถมศึกษาแบบทั่วไป และโรงเรียนประถมศึกษาพิเศษสำหรับเด็กพิการ การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ เพื่อรับประกาศนียบัตร
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่ง 13-15 ปี มีลักษณะแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษาคือ มีโรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผุ้จบการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 13-15 ปี มีลักษระแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษา คือ ีดรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผู้จบลการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้เวลาเรียน 3 ปี โดยมีรูปแบบของการจัดการศึกษาหลายแบบ เช่น แบบสามัญทั่วไป แบบสามัญวิชาชีพ แบบสามัญทางศาสนร แบบสามัญบริการ และแบบการศึกษาพิเศษ การเลื่อนเกรดจะทดสอบลนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 16-18 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทอสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
4. ระดับวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เปิดการเรียนการสอนใน 40 หลักสูตรที่หลากหลายในสาขา เทคโนโลยีและวิศวกรรม สาธารณสุข ศิลปะสารสนเทศเทคโนโลยีและการสื่อสาร อุตสาหกรรมการเกษตร ธุรกิจเกษตร ธุรกิจและการจัดการ
5. ระดับอุดมศึกษา การศึกษาระดับสูง หรืออุดมศึกษา เป็นการขยายไปจากการศึกษรระดับมัธยมศึกษา ระดับปริญญาตรีใช้เวลาเรียน 3-4 ปี ปริญญาโท 2 ปี และปริญญาเอก 3 ปี สถาบันที่ให้การศึกษาระดับสูงนี้มีลักษระเป็นสถาบันวิชาการ โพลีเทคนิค สถาบันการศึกษาและมหาวิทยาลัย
สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาง มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ รครเวียงจันทน์ มีประชากร ประมาณ 6.8 ล้านคน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสุ่ทะเล ลาวมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบุรณื โดยมีผืนป่าและพื้นที่ทำการเกษตรขนาดใหญ่รวมทั้งมีแร่ธาตุต่างๆ และยังมีแหล่งน้ำสำหรับผลิตไฟฟ้าส่งออกที่สร้างรายได้ให้ประเทศอย่างมาก มีภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
หน่วยงานจัการศึกษาของลาว คือ กระทรวงศึกษาธิการล ลาวให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาเศรษบกิจและสังคมของประเทศ ระบบการจัดการศึกษาประกอบด้วย การศึกษาในระดับอนุบาลและก่อนวัยเรยน และการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยุ่ในความดูแและรับผิดชอบของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ระบบการศึกษาของลาว มีดครงสร้างแบบ 5+3+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 6-10 ปี แบ่งได้เป็น
1 ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในประเทศลาวใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมืออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป้นการศึกษาภาคลังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับขั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสูระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 10 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 5 ปี
2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นช่วงการศึกษาที่สูขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 11-13 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
3 ระดับมัะยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 14-16 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ ในกรณีได้รับโควตาให้เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือข้อสอบระดับชาติ ในกรณีไม่ได้รับโควต้า
4 ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค การอุดมศึกษาหรือการศึกษาชั้นสุงรวมถึงการศึกษาด้านเทคนิค อยุ่ในความดุแลและรับผิดชอบของกรมอาชีวและมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้นการศึกษาเฉพาะทางซึ่งอย่ในความดูแลของกระทรวงอื่น โดยเมือเด็กจบการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาแล้ว จะมีการคัดเลือกนักเรียนเพื่อเสนอกระทรวงศึคกษาธิการให้เด็กได้เข้าศึกาาต่อในระดับที่สูงขึ้น มหาวิทยาลัยใช้เวลาศึกษา 4-6 ปี การศึกษาสายอาชีพ ใช้เวบาศึกษา 3 ปี ในวิทยาลัยเทคนิคต่างๆ เช่นทางด้านไฟฟ้า ่ก่อสร้าง บัญชี ป่าไม้ เป็นต้น
สหพันธรัฐมาเลเซียน มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มีประชากรประมาณ 30 ล้านคน (2014) มีการเติบโตทางเศราฐกิจอย่างต่อเนื่อ เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่มีเศราฐกิจด้าวหน้าแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นรองจากสิงคโปร์ มีภาษามเลย์ หรือมลายู เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
สถาบันการศึกาาส่วนใหญ่จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการสอน ระบบการเรียนการสอบแบบ ทวินนิ่ง โปรแกรม หรือหลักสูตรปรญญาร่วมระหว่งประเทศ ผุ้เรียนจะได้รับวุฒิปรญญาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับ ซึ่งเป็นระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มประเทสสหราชอาณาจักร อังกฤษ อเมริกา ออสเตรเลีย และแคนาดา หน่วยงานจัดการศึกษาของมาเลีย คือ 1)กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะดูแลการศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยม และระดับเตรียมอุดมศึกษา 2) กระทรวงอุดมศึกษา ดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกาา แบ่งระดับการบริหารเป็น 5 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำเภอ ระดับกลุ่มโรงเรียนและระดับโรงเรียน การบริหารากรศึกษาระดับชาติอยุ่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลกลาง การศึกษาทุกประเภททุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเว้นการศึกษาที่มีลักาณะเป็นการศึกษานอกระบบ จะมีกรมจากกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป้นต้น
ระบบการศึกษาของมาเลเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคัย 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี แบ่งได้เป็น
1 ระดับเตรียมความพร้อม คือ การศึกษาระดับอนุบาล ที่เป้ฯหลักสุตรเตรยมความพร้อมก่อนการเข้าสู่การศึกษาภาคบังคับ สำหรับเด็อายุ 4-6 ปี ซึ่งจากแผนแม่บทการศึกษามาเลเซีย เร่ิมให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาตั้งแต่ในระดับอนุลบาล ด้วยการกำหนดให้การศึกษาระดับอนุบาล เป็นส่วนหนึ่ของระบบการศึกษาชาติ
ทั้งนี้ ในปี 2010 กระทรวงศึกษาธิการได้ลงประกาศข่าวของกระทรวงฯ ฉบับที่ 2 ว่า เงื่อนไขในการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนในระดับอุนบาล จะต้องเป็นเด็กสัญชาติมาเลย์เท่านั้น และจะทำการคัดเลือกโดยคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้ัวย ครูใหญ่ ผุ้ช่วยครูใหญ่ ครูผู้สอน ครูผุ้ช่วยและตัวแทนของชุมชนโดยสาเหตุของการจำกัดสัญชาติในการเข้าเรียนระดับอนุบาลนั้น เนื่องมาจากรัฐบาลมีการสนับสนนุเงินช่วยเหลือในการเล่าเรียน ทั้งค่าเล่าเรียน ค่าอาหาร ค่าช่วยเลหืออื่นๆ และค่าธรรมเนียมตะกาฟุล ซึ่งเป็นค่าธรรมเนียมการประกันตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติของมาเลเซีย
2. ระดับปฐมวัย ระดับประุถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเริ่มเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นกาดรศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
3. ระดับมัธยมศึกษา เป็นการศึกษาต่อเนื่องจการะดับประถมศึกษาที่มีระยะเวลาในการเียน 5 ปี ซึ่งแบ่งการเรียนออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับ Lower... (from 1-3) และระดับ Upper.. (from 4-6) โดยในระดับ Upper.. นั้นจะแบงออกเป็น 3 สาขาวิชา คือ เนนด้านวิชาการ เน้นเทคนิค และเน้นด้านวิชาชีพ สำหรับนักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค เมื่อจบแล้ว จะต้องสอบผ่านข้อสอบของรัฐ สวนักเรียนในสายวิชาชีพ จะต้องสอบผ่าน SPMV
หากสำเร็จการศึกษาในระดับนี้ นักรียนจะได้รับวุฒิเที่ยบเท่ากับ วุฒิการศึกษาที่ใช้แบแผนการเรียนการสอนระบบอังกฤและนักเรียนสามารถเลือกได้ว่าจะเรียนต่อในสายวิชาชีพ หรือเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
4. ระดับหลังมัธยมศึกษาหรือเตรียมอุดมศึกษา หลังจากจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว นักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค และผ่านเกณฑ์การสอบSPM แล้ว จะได้รับการคัดเลือกให้เข้าเรยนต่อในระดับ เตรียมอุดมศึกษาซึค่งแบ่งหลักสุตรออกเป็น 3 สาขา ใช้เวลาเรียน 1-2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอง STPM ที่เที่ยบเท่ากับ 'A' Level ของอังกฤษ ซึ่งเป็นคุณวุฒิที่ได้รัยการทั้งในสภบันอุดมศึกษาในประเทศและต่างประเทศ
นอกจากนี้ นักเรียนยังสามารถเลือกเรียนหลักสูตร ที่ต้องสมัครเรียนโดยตรงกับทางสถบัน มีระยะเวลาในการเรียน 1 ปี การเรียนการสอนครอบคลุมความรุ้พื้นฐานในการเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย และเนื่อหาวิชาไม่ซับซ้อน แต่ผลการเรียนในหลักสุตรนี้ จะสามารถใช้เข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาภายในมาเลเซียได้เท่านั้น
5. ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค ประกอบด้วยหลักสูตรต่างๆ หลากหลายสาขาวิชา และมีทั้งสถาบันของรัฐบาล และสภาบันของเอกชน ประกอบด้วย
- หลักสูตรเซอฟิติเคทซ์ และหลักสูตร ดิโพลมา ซึ่งผุ้ที่้องการจะเรียนในหลักสูตรนี้ จะต้องสำเร็จวุฒิการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ผ่านเกณฑ์การสอบวัดระดับ SPM แล้ว
- หลักสูตร ปริญญาตรี ผู้ที่จะเข้าเรียนหลักสูตรนี้ ต้องจบการศึกษาวุฒิเตรียมอุดมศึกษา หรือเที่ยบเท่า STPM หรือ GCE 'A' Level หรือเกณฑ์อื่นๆ ที่ทางสถบันกำหนดไว้
- และหลักสูตร ระดับปริญญาโทและเอก ตามลำดับ...
http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf
ความสำคัญของการศึกษาในการขัดเคลื่อนประชาคมอาเวยนเป็นกลไกสำคัญในการนำอาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 โดยกำหนดให้อาเซียนมีวิสัยทัศน์สู่ภายนอก มีสันติสุข แลละมีการเชือมโยงเข้าด้วยกันในการเป็นหุ้นส่วนในสิ่งแวดล้อมของประชาธิปไตยและอยุ่ร่วมกันอย่างกลมกลืน กรพัฒนาที่มีพลวัตรและการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดและในสังคมที่เอื้ออาทรที่ระลึกถภึงสายสัมพันธ์แน่นแฟ้นทางประวัติศาสตร์ ตระกนักถึงความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมที่มีร่วมกันและเชื่อมโยงในอัตลักษณ์ของภูมิภาค
เพื่อเป็ฯการสร้างความเข้าใจระบบการศึกษาของแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเซียน งานวิเทศสัมพันธ์ได้รวบรวมข้อมูลทางด้านการศึกษาของ 10 ประเทศในอาเซียน ดังนี้
บรูไน ดารุสซาลาม
หน่วยงานจัดการศึกษาของบรูไน คือ กระทรวงศึกษาธิการ โดยจะไม่มีการจัดการศึกษาภาคบังคับ แต่มีการจัดการศึกษราให้กับเด็กทุกคนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ยกเว้นโรเรียนสอนศาสนาซึ่งจะถูกควบคุมโดย กระทรวงกิจการศาสนา
ระบบการศึกษาของบรูไน มีระบบการศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัดการศึษาสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจาชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดับปฐมวัยเริ่มต้นจาการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษารดับต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติเพื่อรับประกาศนียบัตรชั้นต้น ในแต่ละช่วงระดับการศึกษา
2. ระดับมัธยมศึกษา
2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงกรศึกษาที่สูงขึ้นมาจาการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 12-14 ปี ผู้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะได้รับประกาศนียบัตร "รูไน BJCE"
2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-16 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของบรูไน จะได้รับประกาศนียบัตร " O Level"
3. ระดับหลังมัธยมศึกษา ผู้ผ่านการศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษาของบรูไนจะได้รับประกาศนียบัตร
3.1 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา ประเทศบรูไนมีวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษาส่วนใหญ่สอนทางด้าน พยาบาลศาสตรื การเกาตร และหลักสูตรฝึกหันครูชั้นต้้น ทั้งนี้ระยะเวลาการสอนขึ้นอยุ่กับหลักสูตรของแต่ละวิทยาลัยซึ่งต้องได้รับการรับรองมาตรฐานจากทางรัฐบาล
3.2 หลักสูตรเตรียมอุดมศึกาา ครอบคลุมระยะเวลา 2 ปี เป็นหลักสูตรเพื่อเตรียมตัวนักเรียนเข้าสุ่การศึกษาชั้นสูงในระดับมหาวิทยาลัย
4. ระดับวิทยาลัย สถาบันชั้นสูง และมหาวิทยาลัย หลักสุตรการศึกษาชั้นสูงเหล่านี้จะฝึกนักศึกษาเพื่อเขัาสู่การทำงานที่ต้องใช้ทักษรทางวิชาชีพและวิชาการขึ้นสูง ได้แก่ ประกาศนียบัตรชั้นสุง ปริญญาตรี ปรญญาโท ปริญญาเอก อนุปรัญญา เป็นต้น สถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในบรุไนนั้นมีมไ่ถึง 10 แห่ง มหาวิทยาลัยที่เป็นความภาคภูมิใจของคนบรูไนและเป้นหนึ่งในมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียนได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม ซึ่งเปิดการเรียนการสอนในหลักสูตร ที่หลากหลายทั้งวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
สหราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ กัมพูชา มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงพนมเปญ มีประชากรประมาณ 15.5 ล้านคน ( 2014) โดยขึ้นชื่อเรื่องภาคเกษตรกรรม พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย นอกจากนี้ยังมีกาทำประมง น้ำจืดและป่าไม้ด้วย ส่วนภาคอุตสาหกรรมยังเป้ฯุอตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า เป็นต้น มีภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศษ เวียดนาม จีน และไทย ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
หน่วยการศึกษาของกัมพุชา คือ กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และการกีฬา ระบอบการจัดการศึกษาของกัมพุชาได้บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศราฐกิจของประเทศซึค่งมัีป้าหมายเืพ่อให้การศึกษาเป็ฯกลไกสำคัญของประเทศในการขจัดความยากจน
ระบบการศึกษาของกัมพุชา มีโครงสร้างปบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัการศึกษาสามารถแ่บ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจากชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดัีบปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าุ่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 12-14 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัะยมศึกษาตอนต้นของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
3. ระดับหลังมัธยมศึกษา
3.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-17 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
3.2 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เป็นหลักสุตรตั้งแต่ 1 ปี หรือ 3-5 ปี การศึกษาในวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษายังไม่เป็นที่นิยมจากประชาชนประเทศกัมพุชา ส่วนมากเน้นการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเขัาสู่มหาวิทยาลัย
4. ระดับอุดมศึกษา สภาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในกัมพูชามีจำนวน 88 แห่ง (2010) ประกอบด้วยสถาบันของรัฐ จำนวน 54 แห่ง สถาบันของเอกชนจำนวน 26 แห่ง การจัดการศึกษาะดับอุดมศึกษานี้ บางสถาบันศึกษาอยุ่ภายใต้การกำกับดุแลของกระทรวงเกษตรสาธารณสุขหรือแรงงาน การจัดการศึกษานอกระบบจะเนนการฝึกทักษะ ให้กับประชาชน
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ชื่อทางการว่าสาธารณรรัฐอินโดนีเซีย มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงจาการ์ตา มีประชากรประมาณ 253.6 ล้านคน ( 2014) เป็นประเทศหมุ่กาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยขึ้นชื่อเรื่องทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ แร่ธาตุต่างๆ เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุก และเหล็ก รวมทั้งมีภูมิประเทศที่เอื้อต่อการทำประมงจับสัตว์น้ำและทำเกษตรกรรม โดยปลูกพืชแบบขึ้นบันได มีภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
หน่วยงานจัดการศึกษาของอินโดนีเซีย คือ กระทรวงศึกษาธิการแห่งชาติ การจัดการศึกษาของอินโดนีเซียมีรูปแบบการศึกษาที่หลากหลาย ทั้งการศึกษาขึ้นพื้นฐาน การศึกษาด้านอาชีวศึกษา การจัดการศึกษาพิเศษ การศึกษาด้านการสอนศาสนา การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นต้น ระบบการศึกษราของอินโดนีเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคึบังคับ 9 ปี จากอายุ 7-15 ปี มีเป้าหมายเพื่อจัดหาทักษะพื้นฐานในการพัฒนาตนเองในฐานะที่เป็นปัจเจกชน สมาชิกในสังคม ประชากรในประเทศและโลก เท่าๆ กับที่เตรียมก้าวเข้าสู่การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งไปด้เป็น
1. ระดับปฐมวัย การศึกษรระดับปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 7 ปี ถึง 12 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี จะมีลักษระแตกต่างกัน 2 แบบ คือ โรงเรียนประถมศึกษาแบบทั่วไป และโรงเรียนประถมศึกษาพิเศษสำหรับเด็กพิการ การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ เพื่อรับประกาศนียบัตร
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่ง 13-15 ปี มีลักษณะแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษาคือ มีโรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผุ้จบการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 13-15 ปี มีลักษระแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษา คือ ีดรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผู้จบลการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้เวลาเรียน 3 ปี โดยมีรูปแบบของการจัดการศึกษาหลายแบบ เช่น แบบสามัญทั่วไป แบบสามัญวิชาชีพ แบบสามัญทางศาสนร แบบสามัญบริการ และแบบการศึกษาพิเศษ การเลื่อนเกรดจะทดสอบลนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 16-18 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทอสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
4. ระดับวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เปิดการเรียนการสอนใน 40 หลักสูตรที่หลากหลายในสาขา เทคโนโลยีและวิศวกรรม สาธารณสุข ศิลปะสารสนเทศเทคโนโลยีและการสื่อสาร อุตสาหกรรมการเกษตร ธุรกิจเกษตร ธุรกิจและการจัดการ
5. ระดับอุดมศึกษา การศึกษาระดับสูง หรืออุดมศึกษา เป็นการขยายไปจากการศึกษรระดับมัธยมศึกษา ระดับปริญญาตรีใช้เวลาเรียน 3-4 ปี ปริญญาโท 2 ปี และปริญญาเอก 3 ปี สถาบันที่ให้การศึกษาระดับสูงนี้มีลักษระเป็นสถาบันวิชาการ โพลีเทคนิค สถาบันการศึกษาและมหาวิทยาลัย
สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาง มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ รครเวียงจันทน์ มีประชากร ประมาณ 6.8 ล้านคน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสุ่ทะเล ลาวมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบุรณื โดยมีผืนป่าและพื้นที่ทำการเกษตรขนาดใหญ่รวมทั้งมีแร่ธาตุต่างๆ และยังมีแหล่งน้ำสำหรับผลิตไฟฟ้าส่งออกที่สร้างรายได้ให้ประเทศอย่างมาก มีภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
หน่วยงานจัการศึกษาของลาว คือ กระทรวงศึกษาธิการล ลาวให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาเศรษบกิจและสังคมของประเทศ ระบบการจัดการศึกษาประกอบด้วย การศึกษาในระดับอนุบาลและก่อนวัยเรยน และการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยุ่ในความดูแและรับผิดชอบของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ระบบการศึกษาของลาว มีดครงสร้างแบบ 5+3+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 6-10 ปี แบ่งได้เป็น
1 ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในประเทศลาวใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมืออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป้นการศึกษาภาคลังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับขั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสูระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 10 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 5 ปี
2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นช่วงการศึกษาที่สูขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 11-13 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
3 ระดับมัะยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 14-16 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ ในกรณีได้รับโควตาให้เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือข้อสอบระดับชาติ ในกรณีไม่ได้รับโควต้า
4 ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค การอุดมศึกษาหรือการศึกษาชั้นสุงรวมถึงการศึกษาด้านเทคนิค อยุ่ในความดุแลและรับผิดชอบของกรมอาชีวและมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้นการศึกษาเฉพาะทางซึ่งอย่ในความดูแลของกระทรวงอื่น โดยเมือเด็กจบการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาแล้ว จะมีการคัดเลือกนักเรียนเพื่อเสนอกระทรวงศึคกษาธิการให้เด็กได้เข้าศึกาาต่อในระดับที่สูงขึ้น มหาวิทยาลัยใช้เวลาศึกษา 4-6 ปี การศึกษาสายอาชีพ ใช้เวบาศึกษา 3 ปี ในวิทยาลัยเทคนิคต่างๆ เช่นทางด้านไฟฟ้า ่ก่อสร้าง บัญชี ป่าไม้ เป็นต้น
สหพันธรัฐมาเลเซียน มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มีประชากรประมาณ 30 ล้านคน (2014) มีการเติบโตทางเศราฐกิจอย่างต่อเนื่อ เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่มีเศราฐกิจด้าวหน้าแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นรองจากสิงคโปร์ มีภาษามเลย์ หรือมลายู เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
สถาบันการศึกาาส่วนใหญ่จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการสอน ระบบการเรียนการสอบแบบ ทวินนิ่ง โปรแกรม หรือหลักสูตรปรญญาร่วมระหว่งประเทศ ผุ้เรียนจะได้รับวุฒิปรญญาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับ ซึ่งเป็นระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มประเทสสหราชอาณาจักร อังกฤษ อเมริกา ออสเตรเลีย และแคนาดา หน่วยงานจัดการศึกษาของมาเลีย คือ 1)กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะดูแลการศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยม และระดับเตรียมอุดมศึกษา 2) กระทรวงอุดมศึกษา ดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกาา แบ่งระดับการบริหารเป็น 5 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำเภอ ระดับกลุ่มโรงเรียนและระดับโรงเรียน การบริหารากรศึกษาระดับชาติอยุ่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลกลาง การศึกษาทุกประเภททุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเว้นการศึกษาที่มีลักาณะเป็นการศึกษานอกระบบ จะมีกรมจากกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป้นต้น
ระบบการศึกษาของมาเลเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคัย 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี แบ่งได้เป็น
1 ระดับเตรียมความพร้อม คือ การศึกษาระดับอนุบาล ที่เป้ฯหลักสุตรเตรยมความพร้อมก่อนการเข้าสู่การศึกษาภาคบังคับ สำหรับเด็อายุ 4-6 ปี ซึ่งจากแผนแม่บทการศึกษามาเลเซีย เร่ิมให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาตั้งแต่ในระดับอนุลบาล ด้วยการกำหนดให้การศึกษาระดับอนุบาล เป็นส่วนหนึ่ของระบบการศึกษาชาติ
ทั้งนี้ ในปี 2010 กระทรวงศึกษาธิการได้ลงประกาศข่าวของกระทรวงฯ ฉบับที่ 2 ว่า เงื่อนไขในการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนในระดับอุนบาล จะต้องเป็นเด็กสัญชาติมาเลย์เท่านั้น และจะทำการคัดเลือกโดยคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้ัวย ครูใหญ่ ผุ้ช่วยครูใหญ่ ครูผู้สอน ครูผุ้ช่วยและตัวแทนของชุมชนโดยสาเหตุของการจำกัดสัญชาติในการเข้าเรียนระดับอนุบาลนั้น เนื่องมาจากรัฐบาลมีการสนับสนนุเงินช่วยเหลือในการเล่าเรียน ทั้งค่าเล่าเรียน ค่าอาหาร ค่าช่วยเลหืออื่นๆ และค่าธรรมเนียมตะกาฟุล ซึ่งเป็นค่าธรรมเนียมการประกันตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติของมาเลเซีย
2. ระดับปฐมวัย ระดับประุถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเริ่มเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นกาดรศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
3. ระดับมัธยมศึกษา เป็นการศึกษาต่อเนื่องจการะดับประถมศึกษาที่มีระยะเวลาในการเียน 5 ปี ซึ่งแบ่งการเรียนออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับ Lower... (from 1-3) และระดับ Upper.. (from 4-6) โดยในระดับ Upper.. นั้นจะแบงออกเป็น 3 สาขาวิชา คือ เนนด้านวิชาการ เน้นเทคนิค และเน้นด้านวิชาชีพ สำหรับนักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค เมื่อจบแล้ว จะต้องสอบผ่านข้อสอบของรัฐ สวนักเรียนในสายวิชาชีพ จะต้องสอบผ่าน SPMV
หากสำเร็จการศึกษาในระดับนี้ นักรียนจะได้รับวุฒิเที่ยบเท่ากับ วุฒิการศึกษาที่ใช้แบแผนการเรียนการสอนระบบอังกฤและนักเรียนสามารถเลือกได้ว่าจะเรียนต่อในสายวิชาชีพ หรือเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
4. ระดับหลังมัธยมศึกษาหรือเตรียมอุดมศึกษา หลังจากจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว นักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค และผ่านเกณฑ์การสอบSPM แล้ว จะได้รับการคัดเลือกให้เข้าเรยนต่อในระดับ เตรียมอุดมศึกษาซึค่งแบ่งหลักสุตรออกเป็น 3 สาขา ใช้เวลาเรียน 1-2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอง STPM ที่เที่ยบเท่ากับ 'A' Level ของอังกฤษ ซึ่งเป็นคุณวุฒิที่ได้รัยการทั้งในสภบันอุดมศึกษาในประเทศและต่างประเทศ
นอกจากนี้ นักเรียนยังสามารถเลือกเรียนหลักสูตร ที่ต้องสมัครเรียนโดยตรงกับทางสถบัน มีระยะเวลาในการเรียน 1 ปี การเรียนการสอนครอบคลุมความรุ้พื้นฐานในการเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย และเนื่อหาวิชาไม่ซับซ้อน แต่ผลการเรียนในหลักสุตรนี้ จะสามารถใช้เข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาภายในมาเลเซียได้เท่านั้น
5. ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค ประกอบด้วยหลักสูตรต่างๆ หลากหลายสาขาวิชา และมีทั้งสถาบันของรัฐบาล และสภาบันของเอกชน ประกอบด้วย
- หลักสูตรเซอฟิติเคทซ์ และหลักสูตร ดิโพลมา ซึ่งผุ้ที่้องการจะเรียนในหลักสูตรนี้ จะต้องสำเร็จวุฒิการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ผ่านเกณฑ์การสอบวัดระดับ SPM แล้ว
- หลักสูตร ปริญญาตรี ผู้ที่จะเข้าเรียนหลักสูตรนี้ ต้องจบการศึกษาวุฒิเตรียมอุดมศึกษา หรือเที่ยบเท่า STPM หรือ GCE 'A' Level หรือเกณฑ์อื่นๆ ที่ทางสถบันกำหนดไว้
- และหลักสูตร ระดับปริญญาโทและเอก ตามลำดับ...
http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf
วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2560
๊ASEAN : University II
ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม University of Brunei Darussalam มหาวิทยาลัยแห่งความเปิดกว้าง
เมื่อกล่าวถึงสถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ถ้านั้บจริง ๆ มีไม่ถึง 10 แห่ง ซึ่งน้อยมากเมืองเที่ยบกับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของประเทศบรูไน ดารุซาลาม ที่นำความภาคภูมิใจมาให้ชาวบรูไน คือ มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม ที่นอกจากจาะเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ แล้ว ยังเป็นมหาวิทลายที่เก่าแก่และใหญ่ที่สุดใน
ประเทศอีกด้วยตั้งขึ้นในปี 1985 เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนที่พร้อมเปิดรับนักศึกษาจากต่างประเทศโดยเฉพาะในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเป็นนักศึกษาแลกเปลี่ยน ซึ่งในปัจจุบันมีนักศึกษาจาประเทศต่างๆ มากมายเข้าไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม รวมไปถึงประเทศจีน ญี่ปุ่น ตะวันออกกลาง ยุโรป และแอฟริกา ที่นับวันย่งิเพ่ิมจำนวนมากขึ้นอีกด้วย
มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม จัดได้วามีความเช่ี่ยวชาญในด้านสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก ระบบการศึกษาของบรูไนดารุสซาลามมุ่งตอบสนองความต้องการของศตวรรษที่ 21 โดยเปิโอกาสให้ผุ้เรียนได้ มีโอกาสเลือกเรียนสาขาวิชาการต่างๆ ในระดับอุดมศึกาา ที่มีเป้าหมายในการสร้างสรรค์สันติภาพและความรุ่งเรืองของชาติ ดยกำหนดให้การศึกษาป็นหนึ่งใน 8 บุทะศาสตร์ที่สำคัญของประเทศอีกด้วย
ประเทศเวียดนาม Vietnam National University, Hanoi มหาวิทยลับแหงชาติ, ฮานอย หนึ่งในเวียดนามที่ทุกชาตอต้องจับตามอง
หากจะมาองหามหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศเวียดนาม ที่เรียกได้ว่าเป็นมหาวิทยาลัยชันนำและทันสมัยที่สุดในประเทศมีอยุ่ 2 แป่งด้วยกัน คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนามฮานอย และอีกแห่งหนึ่งอยุ่ในนครโฮจิมินต์ เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุด ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1945 ตั้งอยู่ใจกลางเมืองหลวงของประเทศ มีชื่อเดิมว่า "มหาวิทยาลัยอินโดจีน" ซึงทั้ง 2 มหาวิทยาลัยแห่งชาตินี้ยังมีความร่วมมือทางวิชาการกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน การส่งนักศึกษาแลกเปลี่ยน การให้ทุนการศึการระหว่างมหาวิทยาลัยเพื่อนบ้านอาเซียนด้วยกัน รวมถึงการวิจัยร่วมกันในระดับนานาชาติอีกด้วย
นอกจากนี้รัฐบาลยังให้ความสำคัญ ด้ยการต้้งโรงเรียนเฉาพะทางเพื่อเปิดรับนักศึกษาที่มีพรสวรรค ซึ่งเป้นเครือข่ายของทางมหาวิทยาลัยเอง มีการเปิดสอนวิชาที่สอนเป็นภาษาอังกฤษไว้รองรับนักเรียนแลกเปลี่ยนจากต่างชาติหลายหลักสูตร หากใครสนใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทบาลัยแห่งนี้ต้องผ่านการคัดกรองจากมาตรฐานในการสอบเข้าของมหาวิทยาลัยโดยตรงอย่างไรก็ตามประเทศเวียดนามเป้นประเทศที่เน้นเรื่องนโยบายการศึกษาชาติมากที่สุดชาติหนึ่งจึงเป้ฯประเทศที่น่าจับตามองในเรื่องการพัฒนาอย่างรวดเร็วในอนาคตข้างหน้า
ประเทศพม่า University of Yangon มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ระบบเมืองผุ้ดีอังกฤษ
พม่าเป็นอีกหนึ่งประเทศในเอเชยตะวันออกเแียงใต้ที่ยึดการจัดการศึกษาใระดับอุดมศึกษาตามแบบอย่างประเทศอังกฤษ ซึ่งได้วางรากฐานมาตั้งแต่ยุคอาณานิคม ดังนั้นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดของพม่าที่เราอยากแนะนำให้ทุกครรู้จักนั้นก็คือ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง โดยเริ่มก่อสร้างขึ้นเมือปี ค.ศ. 1878 ในการเริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ก็ได้มีการนำระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มาใช้ ที่เห้ฯได้ชัดคือมีระบบบ้านพัก ซึ่งบ้านพักนักศึกษา ปัจจุบันเปิดสอนทั้งในระบบปริญญาตรี โท และเอก ครอบคลุมทุกสาขา และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมเครือข่ายอาเซียน
ระบบการศึกาาในประเทศพม่าแม้ว่าจะมีการวางรากฐานการศึกษาไว้ได้ดีเพียงใด แต่คุณภาพของการศึกษาก็เร่ิมทรุดลงนับตั้งแต่คณะปกครองทหารผลัดกันเข้ากุมอำนาจปกครองประเทศ และทางรัฐบาลพม่าเองกำลังวางแผนยกระดับมหวิทยาลัยบางแห่งให้มีศักยภาพสูงเพื่อให้ได้มาตรฐานสามารถติดอันดับต้นๆ มหาวทิยาลัยในย่านเอเชียให้เร็วที่สุด หลังจากที่ปิดประเทศมาเป็นเวลาน่าน ซึ่งหนึ่งในมหาวิทยาลัยแห่งความหวังของประเทศพม่านั้นก็คือ มหาวิทยาลัยย่างกุ้งนั้นเอง
ประเทศลาว Nation Universy\ity of Loas มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว หนึ่งเดียวแห่งความภาคภูมิใจ
ประเทศลาวมีมาหวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงเป็นอันดับหนึ่ง และดีที่สุดในประเทศเช่นกัน คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ตั้งอยู่ที่กรุงเวียงจันทน์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติดพียงแห่งเดียวของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเป็นหนึ่งในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนโดยให้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากประเทศต่างๆ มากมาย อย่างประเทศไทย และนานาประเทศอย่างมหาลัยในประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย
ระบบการศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาง ก็จะมลักษระคล้ายๆ กับประเทศไทย เปิดสอนอยู่ สองหลักสูตร คือ ประกาศณียบลัตรวิชาชีพชั้นสุง (ปวส) และระดับปริญญาตรี ส่วนปริญญาโท ปริญญาเอก ยังไม่เปิดสอนในประเทศลาว
ประเทศกัมพูชา Royal University of Phaom Penh มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ ศักดิ์ศรีระดับชาติ
มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุด และมีคุณภาพในด้านวิชาการแลกงานวิจัยระดับประเทศของประเทสกัมพุชา ได้แก่ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ เดิมมีชื่อว่ามหาวิทยาลัยภูมินทร์เขมร ตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ นอกจากนั้นยังเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุด โดยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมือปี ค.ศ. 1960 ความสำคัญของมหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญเทียบเท่ากับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติกัมพุชาก็วาได้ เพราะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลกัมพุชาเป็นอย่างดี และมีกระทรวงศึกาาธิการเยาชนและการกีฬากัมพุชา เป็นผุ้ควบคุมดุแลและสนับสนุอย่างใกล้ชิด และเป้นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่สำคัญของเครือข่ายมหาวิทยลัยอาเซียน
สาขาวิชาส่วนใหญ่ของมหาวิทยาลัยุมินทร์พนมเปญ จะเปิดสอนเป็ฯภาษาอังกฤษและมีหลายหลักสูตรจัดสอนในภาษาฝรั่งเศส มีหลักสูตรระดับปรเญญาที่ครอบคลุมในสาขาต่างๆ อย่างครบถ้วน นอกจากนั้นยังมีหลักสุตรวิชาชีพ และหลักสูตรทางภาษาต่างประเทศที่มีชื่เสียงของมหาวิทยาลัยอีกด้วย...www.manager.co.th/campus/viewnews.aspx?NewsID=9570000053338
เมื่อกล่าวถึงสถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ถ้านั้บจริง ๆ มีไม่ถึง 10 แห่ง ซึ่งน้อยมากเมืองเที่ยบกับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของประเทศบรูไน ดารุซาลาม ที่นำความภาคภูมิใจมาให้ชาวบรูไน คือ มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม ที่นอกจากจาะเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ แล้ว ยังเป็นมหาวิทลายที่เก่าแก่และใหญ่ที่สุดใน
ประเทศอีกด้วยตั้งขึ้นในปี 1985 เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนที่พร้อมเปิดรับนักศึกษาจากต่างประเทศโดยเฉพาะในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเป็นนักศึกษาแลกเปลี่ยน ซึ่งในปัจจุบันมีนักศึกษาจาประเทศต่างๆ มากมายเข้าไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม รวมไปถึงประเทศจีน ญี่ปุ่น ตะวันออกกลาง ยุโรป และแอฟริกา ที่นับวันย่งิเพ่ิมจำนวนมากขึ้นอีกด้วย
มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม จัดได้วามีความเช่ี่ยวชาญในด้านสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก ระบบการศึกษาของบรูไนดารุสซาลามมุ่งตอบสนองความต้องการของศตวรรษที่ 21 โดยเปิโอกาสให้ผุ้เรียนได้ มีโอกาสเลือกเรียนสาขาวิชาการต่างๆ ในระดับอุดมศึกาา ที่มีเป้าหมายในการสร้างสรรค์สันติภาพและความรุ่งเรืองของชาติ ดยกำหนดให้การศึกษาป็นหนึ่งใน 8 บุทะศาสตร์ที่สำคัญของประเทศอีกด้วย
ประเทศเวียดนาม Vietnam National University, Hanoi มหาวิทยลับแหงชาติ, ฮานอย หนึ่งในเวียดนามที่ทุกชาตอต้องจับตามอง
หากจะมาองหามหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศเวียดนาม ที่เรียกได้ว่าเป็นมหาวิทยาลัยชันนำและทันสมัยที่สุดในประเทศมีอยุ่ 2 แป่งด้วยกัน คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนามฮานอย และอีกแห่งหนึ่งอยุ่ในนครโฮจิมินต์ เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุด ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1945 ตั้งอยู่ใจกลางเมืองหลวงของประเทศ มีชื่อเดิมว่า "มหาวิทยาลัยอินโดจีน" ซึงทั้ง 2 มหาวิทยาลัยแห่งชาตินี้ยังมีความร่วมมือทางวิชาการกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน การส่งนักศึกษาแลกเปลี่ยน การให้ทุนการศึการระหว่างมหาวิทยาลัยเพื่อนบ้านอาเซียนด้วยกัน รวมถึงการวิจัยร่วมกันในระดับนานาชาติอีกด้วย
นอกจากนี้รัฐบาลยังให้ความสำคัญ ด้ยการต้้งโรงเรียนเฉาพะทางเพื่อเปิดรับนักศึกษาที่มีพรสวรรค ซึ่งเป้นเครือข่ายของทางมหาวิทยาลัยเอง มีการเปิดสอนวิชาที่สอนเป็นภาษาอังกฤษไว้รองรับนักเรียนแลกเปลี่ยนจากต่างชาติหลายหลักสูตร หากใครสนใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทบาลัยแห่งนี้ต้องผ่านการคัดกรองจากมาตรฐานในการสอบเข้าของมหาวิทยาลัยโดยตรงอย่างไรก็ตามประเทศเวียดนามเป้นประเทศที่เน้นเรื่องนโยบายการศึกษาชาติมากที่สุดชาติหนึ่งจึงเป้ฯประเทศที่น่าจับตามองในเรื่องการพัฒนาอย่างรวดเร็วในอนาคตข้างหน้า
ประเทศพม่า University of Yangon มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ระบบเมืองผุ้ดีอังกฤษ
พม่าเป็นอีกหนึ่งประเทศในเอเชยตะวันออกเแียงใต้ที่ยึดการจัดการศึกษาใระดับอุดมศึกษาตามแบบอย่างประเทศอังกฤษ ซึ่งได้วางรากฐานมาตั้งแต่ยุคอาณานิคม ดังนั้นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดของพม่าที่เราอยากแนะนำให้ทุกครรู้จักนั้นก็คือ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง โดยเริ่มก่อสร้างขึ้นเมือปี ค.ศ. 1878 ในการเริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ก็ได้มีการนำระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มาใช้ ที่เห้ฯได้ชัดคือมีระบบบ้านพัก ซึ่งบ้านพักนักศึกษา ปัจจุบันเปิดสอนทั้งในระบบปริญญาตรี โท และเอก ครอบคลุมทุกสาขา และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมเครือข่ายอาเซียน
ระบบการศึกาาในประเทศพม่าแม้ว่าจะมีการวางรากฐานการศึกษาไว้ได้ดีเพียงใด แต่คุณภาพของการศึกษาก็เร่ิมทรุดลงนับตั้งแต่คณะปกครองทหารผลัดกันเข้ากุมอำนาจปกครองประเทศ และทางรัฐบาลพม่าเองกำลังวางแผนยกระดับมหวิทยาลัยบางแห่งให้มีศักยภาพสูงเพื่อให้ได้มาตรฐานสามารถติดอันดับต้นๆ มหาวทิยาลัยในย่านเอเชียให้เร็วที่สุด หลังจากที่ปิดประเทศมาเป็นเวลาน่าน ซึ่งหนึ่งในมหาวิทยาลัยแห่งความหวังของประเทศพม่านั้นก็คือ มหาวิทยาลัยย่างกุ้งนั้นเอง
ประเทศลาว Nation Universy\ity of Loas มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว หนึ่งเดียวแห่งความภาคภูมิใจ
ประเทศลาวมีมาหวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงเป็นอันดับหนึ่ง และดีที่สุดในประเทศเช่นกัน คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ตั้งอยู่ที่กรุงเวียงจันทน์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติดพียงแห่งเดียวของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเป็นหนึ่งในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนโดยให้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากประเทศต่างๆ มากมาย อย่างประเทศไทย และนานาประเทศอย่างมหาลัยในประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย
ระบบการศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาง ก็จะมลักษระคล้ายๆ กับประเทศไทย เปิดสอนอยู่ สองหลักสูตร คือ ประกาศณียบลัตรวิชาชีพชั้นสุง (ปวส) และระดับปริญญาตรี ส่วนปริญญาโท ปริญญาเอก ยังไม่เปิดสอนในประเทศลาว
ประเทศกัมพูชา Royal University of Phaom Penh มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ ศักดิ์ศรีระดับชาติ
มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุด และมีคุณภาพในด้านวิชาการแลกงานวิจัยระดับประเทศของประเทสกัมพุชา ได้แก่ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ เดิมมีชื่อว่ามหาวิทยาลัยภูมินทร์เขมร ตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ นอกจากนั้นยังเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุด โดยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมือปี ค.ศ. 1960 ความสำคัญของมหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญเทียบเท่ากับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติกัมพุชาก็วาได้ เพราะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลกัมพุชาเป็นอย่างดี และมีกระทรวงศึกาาธิการเยาชนและการกีฬากัมพุชา เป็นผุ้ควบคุมดุแลและสนับสนุอย่างใกล้ชิด และเป้นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่สำคัญของเครือข่ายมหาวิทยลัยอาเซียน
สาขาวิชาส่วนใหญ่ของมหาวิทยาลัยุมินทร์พนมเปญ จะเปิดสอนเป็ฯภาษาอังกฤษและมีหลายหลักสูตรจัดสอนในภาษาฝรั่งเศส มีหลักสูตรระดับปรเญญาที่ครอบคลุมในสาขาต่างๆ อย่างครบถ้วน นอกจากนั้นยังมีหลักสุตรวิชาชีพ และหลักสูตรทางภาษาต่างประเทศที่มีชื่เสียงของมหาวิทยาลัยอีกด้วย...www.manager.co.th/campus/viewnews.aspx?NewsID=9570000053338
วันศุกร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2560
๊ASEAN : University
การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ การศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือ มหาวิทยาลัย ของแต่ละประเทศประกอบด้วย
สิงคโปร์ Nation University of Singapore (NUS) มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงค์โปร
สิงคโปร์ได้ชื่อว่าม่มาตรฐานทางด้านการศึกษาที่ดี่ที่สุดในอาเซียนและมีมหาลัยชั้นนำ ติดอันดับ Top 5 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในเอเชียมาเป็นเวลายาวนานและมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ก็เป็นหนึ่งมหา'ลัยของดังกล่าว และติดอันดับที่ 26 มหาวิทยาลัยที่ดี่ที่่สุดของโลด (2013-2014)
มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์เป็นมหาวิทยับที่เก่าแก่ที่สุด ตั้งอยุ่บนเกาะเล็กๆ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1905 มีระบบการศึกษาที่รับมาจากประเทศอังกฤาและสหรัฐอเมริกา ำให้ NUS มีการสอนแบ่งเป็ฯ 2 ระบบคือ การสอนในกลุ่มเล็ก (หรือกวดวิชา) และการสอนแบบสะสมหน่วยกิต (แบบเครดิท) แบบประเทศสหรัฐอเมริกา และที่สำคัญค่าเล่าเรียนสำหรับนักศึาษาต่างชาติต่อปีของมหาวิทยาลัยค่อนข้างถูก ประมาณ 4,000 ดอลล่าร์ ต่อปี (ประมาณ 120,000 บาท) อีกทั้งยังขึ้นชื่อเรืิ่งสังคมวัยรุ่นที่มีแหล่งท่องเที่ยวและย่านการต้าที่มีชื่เสียงเหมาะกับนักเรียนต่างชาติเช่นนักเรียนอาเซียนเป็นอย่างมาก จึงทำให้นักเรียนเอเชียแห่ไปศึกษาต่อยังประเทศสิงคโปร์ ด้วยมาตฐานการศึกษาที่ดีมากติดอันดับโลก และค่าเล่าเรียนที่ค่อนข้างถูกรวมถึงีทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาต่างชาติอีกมากมาย
มาเลเซีย University Malaya มหาวทิยาลัยมาลายา เเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยที่ได้รับอิทธิพลของยุคอาณานิคม ที่ประเทศอังกฤษเข้ารมามีสวนร่วมในการวางรากฐานทางการศึกษาให้กับระเทศ จัดตั้งขึ้นโดยประเทศอังกฤษตั้งแต่ปี 1905 เดิมอยู่ในสิงคโปร์ แล้วย้ายมาตั้งที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ภายหลังจากแยกประเทศหลังทศวรรษ 1940 ซึ่งยบังหลงเหลือมรดกความเป็ฯประเทศอาณานิคมคือการคงชื่ีอ
"Malaya" ไว้ ถือเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยแห่งความภาคภุมิใจของชาวมาเลเซียที่ได้สร้างชื่อเสียงจากการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยโลก ประจำปี ค.ศ. 2012-2013 ในอันดับที่ 156 ของโลก และเป็นหนึ่งในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่มีมาตรฐานทางการศึกษาที่ค่อนข้างสุง แต่ค่าเล่าเรียนไม่แพงอย่งที่คิด
นักศึกษาที่ประเทศมาเลเซียจะมีช่วงอายุที่เข้าสู่การเรียนในระดับอุดมศึกษาที่เร้ซกว่าประเทศอื่นๆ ทำให้นักศึกษาที่นี่จบปริญญาตรีกันตั้งแต่อายุยังน้อย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยมาลายายังขึ้นชื่อในเรื่องการเป็ฯศูนย์เรียนรุ้และวิจัยด้านเอเชียแปซิฟิกอของภูมิภาคที่น่าสนใจคือมีพิพิธภัณฑ์ที่เป็นแหล่งการเรียนรู้ถึง 7 แห่งด้วยกัน ในบรรดากลุ่มชาติมุสลิมในอาเซียน ต้องถือว่าประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่เปิดหว้างในเรื่องการศึกษาในแบบของนานาชาติ อีกทั้งยังมีส่ิงแวดล้อมในการเรียนของนักเรียนต่างชาติที่เหมาะสมไม่เป็นสองรองใครอีกด้วย
ประเทศไทย King Mongkut's University of Technology,Thonburi มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเหล้าธนบุรี หรือมหาวิทยาลัยบางมด มหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศไทยมีอยุ่หลายมหาวิทยาลัย และได้รับการการันตีจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับดลกมาแล้ว เป็นการจัดอันดับมหาวิทยลัยตามสาขาวิชา ปี 2014 ซึ่งใน 100 อัดับก็จะมีมหาวิทยาลัยชั้นนำของไทยติดอันดับโลกแทบทั้งสิ้น แต่หากจะนับจากเกณฑ์มาตรฐานมหาวิทยาลัยระดับโลกจากสำนักจัดอันดับมหาวิทยาลัยชื่อดังของประเทศอังกฤษ มหาวิทยาลัยในไทยที่ไม่แพ้ชาติใดในโลกที่เป็นเพียงมหาวิทยาลัยเดียวที่ติดอันดับ 1 ใน 400 มหาวิทยาลัยจากทั่วโลกนั่นก็คือ " มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเหล้าธนบุรี" หรือ "ม.บางมด" มหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของไทยและอันดับสามของอาเซียน ประจำปี 2013-2014 ติดอันดับโลกของ THE 2 ปีติดต่อกันขยับขึ้นมาอยุ่นกลุ่ม 301-350 ของโลก ถือเป็นมหาวิทยาลัยดีเลิศด้านการวิจั และมีการเรียนการสอนที่ดีเยื่ยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกมหาวิทยาลัยหนึ่ง
ประเทศอินโดนีเซีย Universitas Indonesia มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซียเป้นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเล๊ยตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และยังเป็นประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกอีกด้วย ในด้านการศึกษาประเทศอินโดนีเซียแตกต่างจากประเทศอื่นๆ ในเอเซีบตะวันออกฌแีงใต้เป็นอย่างมาก คือจะไม่เน้นไปที่ภาษาต่างประเทศมากนัก แต่จะให้ความสำคัญในเชิงของศาสนา
อิสลามมากว่า มหาวิทยาลัยของประเทศอินโดนีเซียจึงมีไม่กีแห่งที่เป้นที่รู้จักของเพื่อร่วมอาเซียนด้วยกัน และมหาวิทยาลัยที่เป็นที่สุดของประเทศอินโดนีเซียคือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซีย ที่ต้งอยุ่ในเมืองหลวงจาการ์ต้า ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1849 เป็นมหาวิทยาลัยภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลอินโดนีเซีย หนึ่งในมหาวิทยาลัยภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่สนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาประเทศต่างๆ
มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซีย หรือ UI ถือเป็นมหวิทยาลัยชั้นนำของโลก และใมีเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก เพื่อร่วมมือกันในการวิจัยและพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซียยังได้รับรางวัลสถาบันการศึกษาสีเขียวที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่สุดในโลก ประจำปี 2013 อยุในอันดับที่ 4 ของเอเชีย และอันดับที่ 5 เป็ฯมหาวิทยาลัยมหิดลของประเทศไทยเรานั้นเอง
ฟิลิปปินส์ The University of the Philippines (U.P.)
ประเทศฟิลิปปินส์จัดเป็นประเทศที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในอาเซียน รวมถึงหลักสุตรการศึกษาที่ทันสมัย ได้รับต้นแบบมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา ดังนั้นมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศฟิลิปปินส์ที่หลายๆ คนกล่าวถึงในเรื่องมาตรฐานที่ดีที่สุดนั่นคงหนีไม่พ้น มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติและเป็นอันดับ 1 ของประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1908 อยู่ที่ Quezon City เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลับที่เข้าร่วมเครื่อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน จัดการเรียกนการสอนตามหลักศูตรอเมริกาฯ ในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชียมักจะได้รับอิทธิพลจากประเทศ อังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเนเธอร์แลนด์ ซึ่งการศึกษาในรูปแบบอเมริกานี้มีส่วนช่วยให้เกิดการตื่นตัวทางสังคม และเกิดปัญญาชนในประเทศฟิลิปปินส์
นอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษา บางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาฟิลิปปินส์ แม้ว่าในช่วงหลายสิบปีทีผ่านมาประเทศฟิลิปปินส์จะเกิดปัญหาในด้านการเมืองมาตลอด ทำให้ยังไม่สามารถพัฒนาเรื่องการศึกษาได้ดีเท่าที่ควร แต่ด้วยพื้นฐานในด้านการศึกษาที่งางรากฐานมาได้เป็นอย่างดี รวมถึงเรืองของการใช้ภาษาอังกฤษได้ดีทำให้ชาวฟิลิปปินส์ที่จบการศึกษามายังเป้ฯที่ต้องการในตลาดแรงงานของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างมาก...( To Be Contineus..)....www.manager.co.th/campus/viewnews.aspx?NewsID=9570000053338
สิงคโปร์ Nation University of Singapore (NUS) มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงค์โปร
สิงคโปร์ได้ชื่อว่าม่มาตรฐานทางด้านการศึกษาที่ดี่ที่สุดในอาเซียนและมีมหาลัยชั้นนำ ติดอันดับ Top 5 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในเอเชียมาเป็นเวลายาวนานและมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ก็เป็นหนึ่งมหา'ลัยของดังกล่าว และติดอันดับที่ 26 มหาวิทยาลัยที่ดี่ที่่สุดของโลด (2013-2014)
มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์เป็นมหาวิทยับที่เก่าแก่ที่สุด ตั้งอยุ่บนเกาะเล็กๆ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1905 มีระบบการศึกษาที่รับมาจากประเทศอังกฤาและสหรัฐอเมริกา ำให้ NUS มีการสอนแบ่งเป็ฯ 2 ระบบคือ การสอนในกลุ่มเล็ก (หรือกวดวิชา) และการสอนแบบสะสมหน่วยกิต (แบบเครดิท) แบบประเทศสหรัฐอเมริกา และที่สำคัญค่าเล่าเรียนสำหรับนักศึาษาต่างชาติต่อปีของมหาวิทยาลัยค่อนข้างถูก ประมาณ 4,000 ดอลล่าร์ ต่อปี (ประมาณ 120,000 บาท) อีกทั้งยังขึ้นชื่อเรืิ่งสังคมวัยรุ่นที่มีแหล่งท่องเที่ยวและย่านการต้าที่มีชื่เสียงเหมาะกับนักเรียนต่างชาติเช่นนักเรียนอาเซียนเป็นอย่างมาก จึงทำให้นักเรียนเอเชียแห่ไปศึกษาต่อยังประเทศสิงคโปร์ ด้วยมาตฐานการศึกษาที่ดีมากติดอันดับโลก และค่าเล่าเรียนที่ค่อนข้างถูกรวมถึงีทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาต่างชาติอีกมากมาย
มาเลเซีย University Malaya มหาวทิยาลัยมาลายา เเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยที่ได้รับอิทธิพลของยุคอาณานิคม ที่ประเทศอังกฤษเข้ารมามีสวนร่วมในการวางรากฐานทางการศึกษาให้กับระเทศ จัดตั้งขึ้นโดยประเทศอังกฤษตั้งแต่ปี 1905 เดิมอยู่ในสิงคโปร์ แล้วย้ายมาตั้งที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ภายหลังจากแยกประเทศหลังทศวรรษ 1940 ซึ่งยบังหลงเหลือมรดกความเป็ฯประเทศอาณานิคมคือการคงชื่ีอ
"Malaya" ไว้ ถือเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยแห่งความภาคภุมิใจของชาวมาเลเซียที่ได้สร้างชื่อเสียงจากการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยโลก ประจำปี ค.ศ. 2012-2013 ในอันดับที่ 156 ของโลก และเป็นหนึ่งในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่มีมาตรฐานทางการศึกษาที่ค่อนข้างสุง แต่ค่าเล่าเรียนไม่แพงอย่งที่คิด
นักศึกษาที่ประเทศมาเลเซียจะมีช่วงอายุที่เข้าสู่การเรียนในระดับอุดมศึกษาที่เร้ซกว่าประเทศอื่นๆ ทำให้นักศึกษาที่นี่จบปริญญาตรีกันตั้งแต่อายุยังน้อย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยมาลายายังขึ้นชื่อในเรื่องการเป็ฯศูนย์เรียนรุ้และวิจัยด้านเอเชียแปซิฟิกอของภูมิภาคที่น่าสนใจคือมีพิพิธภัณฑ์ที่เป็นแหล่งการเรียนรู้ถึง 7 แห่งด้วยกัน ในบรรดากลุ่มชาติมุสลิมในอาเซียน ต้องถือว่าประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่เปิดหว้างในเรื่องการศึกษาในแบบของนานาชาติ อีกทั้งยังมีส่ิงแวดล้อมในการเรียนของนักเรียนต่างชาติที่เหมาะสมไม่เป็นสองรองใครอีกด้วย
ประเทศไทย King Mongkut's University of Technology,Thonburi มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเหล้าธนบุรี หรือมหาวิทยาลัยบางมด มหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศไทยมีอยุ่หลายมหาวิทยาลัย และได้รับการการันตีจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับดลกมาแล้ว เป็นการจัดอันดับมหาวิทยลัยตามสาขาวิชา ปี 2014 ซึ่งใน 100 อัดับก็จะมีมหาวิทยาลัยชั้นนำของไทยติดอันดับโลกแทบทั้งสิ้น แต่หากจะนับจากเกณฑ์มาตรฐานมหาวิทยาลัยระดับโลกจากสำนักจัดอันดับมหาวิทยาลัยชื่อดังของประเทศอังกฤษ มหาวิทยาลัยในไทยที่ไม่แพ้ชาติใดในโลกที่เป็นเพียงมหาวิทยาลัยเดียวที่ติดอันดับ 1 ใน 400 มหาวิทยาลัยจากทั่วโลกนั่นก็คือ " มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเหล้าธนบุรี" หรือ "ม.บางมด" มหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของไทยและอันดับสามของอาเซียน ประจำปี 2013-2014 ติดอันดับโลกของ THE 2 ปีติดต่อกันขยับขึ้นมาอยุ่นกลุ่ม 301-350 ของโลก ถือเป็นมหาวิทยาลัยดีเลิศด้านการวิจั และมีการเรียนการสอนที่ดีเยื่ยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกมหาวิทยาลัยหนึ่ง
ประเทศอินโดนีเซีย Universitas Indonesia มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซียเป้นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเล๊ยตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และยังเป็นประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกอีกด้วย ในด้านการศึกษาประเทศอินโดนีเซียแตกต่างจากประเทศอื่นๆ ในเอเซีบตะวันออกฌแีงใต้เป็นอย่างมาก คือจะไม่เน้นไปที่ภาษาต่างประเทศมากนัก แต่จะให้ความสำคัญในเชิงของศาสนา
อิสลามมากว่า มหาวิทยาลัยของประเทศอินโดนีเซียจึงมีไม่กีแห่งที่เป้นที่รู้จักของเพื่อร่วมอาเซียนด้วยกัน และมหาวิทยาลัยที่เป็นที่สุดของประเทศอินโดนีเซียคือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซีย ที่ต้งอยุ่ในเมืองหลวงจาการ์ต้า ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1849 เป็นมหาวิทยาลัยภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลอินโดนีเซีย หนึ่งในมหาวิทยาลัยภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่สนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาประเทศต่างๆ
มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซีย หรือ UI ถือเป็นมหวิทยาลัยชั้นนำของโลก และใมีเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก เพื่อร่วมมือกันในการวิจัยและพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซียยังได้รับรางวัลสถาบันการศึกษาสีเขียวที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่สุดในโลก ประจำปี 2013 อยุในอันดับที่ 4 ของเอเชีย และอันดับที่ 5 เป็ฯมหาวิทยาลัยมหิดลของประเทศไทยเรานั้นเอง
ฟิลิปปินส์ The University of the Philippines (U.P.)
ประเทศฟิลิปปินส์จัดเป็นประเทศที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในอาเซียน รวมถึงหลักสุตรการศึกษาที่ทันสมัย ได้รับต้นแบบมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา ดังนั้นมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศฟิลิปปินส์ที่หลายๆ คนกล่าวถึงในเรื่องมาตรฐานที่ดีที่สุดนั่นคงหนีไม่พ้น มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติและเป็นอันดับ 1 ของประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1908 อยู่ที่ Quezon City เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลับที่เข้าร่วมเครื่อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน จัดการเรียกนการสอนตามหลักศูตรอเมริกาฯ ในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชียมักจะได้รับอิทธิพลจากประเทศ อังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเนเธอร์แลนด์ ซึ่งการศึกษาในรูปแบบอเมริกานี้มีส่วนช่วยให้เกิดการตื่นตัวทางสังคม และเกิดปัญญาชนในประเทศฟิลิปปินส์
นอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษา บางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาฟิลิปปินส์ แม้ว่าในช่วงหลายสิบปีทีผ่านมาประเทศฟิลิปปินส์จะเกิดปัญหาในด้านการเมืองมาตลอด ทำให้ยังไม่สามารถพัฒนาเรื่องการศึกษาได้ดีเท่าที่ควร แต่ด้วยพื้นฐานในด้านการศึกษาที่งางรากฐานมาได้เป็นอย่างดี รวมถึงเรืองของการใช้ภาษาอังกฤษได้ดีทำให้ชาวฟิลิปปินส์ที่จบการศึกษามายังเป้ฯที่ต้องการในตลาดแรงงานของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างมาก...( To Be Contineus..)....www.manager.co.th/campus/viewnews.aspx?NewsID=9570000053338
วันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Asean and Social network
ในปัจจุบันการสื่อสารรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โซเชียล เนตเวิร์ค หรือ "เครือข่ายสังคมออนไลน์" ได้เข้ามาแทนที่สื่อสารรูปแบบเก่าในปัจจุบัน โดยเฉพาะกับคนยุค Gen y (คนที่เกิดปี 80's) ที่ติดตามเพื่อฝูงจากอีกฟากฝั่งของโลกอย่างใกล้ชิดใน Facebook จากหน้าจอโทรศัพม์มือถือ ตามข่าวสารที่กระชับและรวมเร็วจาก Twitter แสดงความเห็นผ่าน Blog และ You Tube สนุกกับ Google+ ของเล่นชิ้นใหม่ และจับตาดุ Microsoft ว่าจะเขช้ามาสุ้เจ้าของตลาดเดิมได้หรือไม่
อิทธิพลของ โซเชียล เนตเวิร์ค ขยายไปทั่วโลก แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือ การเจริญเติบโตของเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ ในประเทศอาเซียนที่ได้กลายมาเป็นปรากฎการณืสำคัญ 7 ประการ ที่ทำให้โลกโซเชียล ไม่ได้เป็นแค่ "ของเล่น" ของคนยุคใหม่เท่านั้น
ปรากฎการที่ 1 ไม่ต่ำกว่า 16% ของชาวอาเซียนใช้ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
เมื่อเดือนมีนาคม 2553 เว็บไซต์ อย่าง Facebook ก็ขึ้นแซงหน้าเสิร์ชเอ็นจิ้น อย่าง Google ในฐานะเว็บไซต์ยอดนิยมอันดับหนึ่งของโลกได้สำเร็จซึ่งหมายความว่า ทุกวันนี้คนลนดฃกออนไลฃน์รับข้อมุลต่างๆ จาก โซเชียลเน็ตเวิร์ค มากกว่าการต้รคว้าเว็บไซต์ สิ่งที่น่าสนใจ คือ ประเทศที่มีผุ้ใช้ เฟสบุ๊คมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐฯ นั้นคือ ประเทศอินโดนีเซีย มีผุ้ใช้เฟสบุ๊คกว่า 39 ล้านคน ขณะที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีผุ้ใช้เยอะไม่แพ้กัน ฟิลิปปินส์ 25 ล้าคน มาเลเซีย 11 ล้านคน และไทย 10 ล้านคน
ปัจจุบัน อาเซียนมีผุ้ใช้ เฟสบุ๊ค รวมถึง 92 ล้านคน หรือราว 16% ของประชากรในอาเซียน และยังไม่นับรวม โซเชียลเน็ตเวิร์คอื่นๆ ที่กำลังมาเแรงพร้อมๆ กับตลาดสมาร์ทโฟนที่เติบโตอย่างรวดเร็วในภุมิภาคนี้
ปรากฎการณ์ที่ 2 จากแหลงข้อมูลชั้นยอดของโซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เปลี่ยนวิะีการเสพข่าวสารของประชาชน กลาเป็นการเสพข่าวจาก "สื่อใหม่" ที่รวมเร็วกว่าในแบบ real time จากผุ้สื่อข่าวที่ดดยปกติแล้วจะต้องรอ air time ที่จะปรากฎตัวในส่อกระแสหลัก
นอกจากนี้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ยังได้ให้กำเนิดสิ่งที่เรียกว่า Citizen Journalism หรือการที่บุคคลธรรมดาได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นนักข่าว ดดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่กิดวกฤตต่างๆ เมื่อพวกเขาเลห่านั้นได้นำเสนอข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิ ด้วยตนเองข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิเหล่านี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลงวิธีการเสพข่าวสารของชาวอาเซียนเท่านั้น แต่ข้อมูล พร้อมหลักฐาน อาทิ ภาพถ่ายจากเหตุการณ์จริง ได้ส่งผลมากต่อการรับรุ้ข้อเท็จจริงของคนในสังคม ซึ่งทำให้การปกปิด (เซ็นเซอร์สื่อกระแสหลัก อาทิ โดยรัฐบาลหรือผุ้ทรงอิทธิพลป ไม่มีผลอีกต่อไป
ปรากฎการณ์ที่ 3 ปฏิวัติการโฆษณาและการหาเสียง
สิ่งที่ทำให้โซเชียล เน็ตเวิร์ค แตกต่างจากส่อโดยทั่วไป คือ เป็นการ "สื่อสารสองทาง" และทำให้เกิดปรากฎการณ์ไวรับ หรือ "ปากต่อปาก" " ในดลกดิจิตอล ซึ่งกลายเป็นเครื่องมืออันล้ำค่าไๆม่เพียงแต่กับนักการตลาด แต่ยังรวมถึง นักการเมืองอีกด้วย
อดีตประธารนาธิบดี บารัค โอบามา เป็นผู้แรกที่ริเร่ิมการใช้ ทวิตเตอร์ ในการหาเสียงจนชนะการเลือกตั้ง ในอาเซียนตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ในการเลือกตั้งของสิงคโปร์ที่ผ่านมา ซึ่ง โซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เข้ามามีบทบาทมากในการสูญเสียที่นังนสภาของพรรครัฐบาล และที่เป็นที่กล่าวถึงกันมากคือ นิโคล เซียฮ ผุ้สมัครหน้าใหม่วัย 24 ปี ซึ่งแม้จะแพ้การเลือกตั้ง แต่ แฟนเพจของเธอในเฟสบุค มีคนสนับสนุนทะลุ 1 แสน "Like"แซงหน้า แฟนเพจของผุ้ทรงคุณวุฒิในประเทศเรียบร้อยแล้ว
สำหรับในไทย ปัจจุบันกฎหมายได้ระบุห้ามหาเสียงเลือกตั้งโดยใช้สื่อโฆษณาไทรทัศน์ ส่งผลให้นักการเมืองหันมาใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค กันอย่งล้นหลามในการเลือกตั้งที่ผ่านมา โดยเฉพาะทาง ทิวตเตอร์ และยูทูป ซึ่งโฆษณาพรรคการเมืองบางชิ้นมีคนรับชมไปแล้วกว่า 1 แสนครั้ง
เมื่อปี 2007 มีนักสถิติผุ้อยุ่เบื้องหลังความสำเร็จของนักการเมืองอเมริกันหายคน เขียนหนังสือเล่มหนึ่งโดยมีทฤษฎีว่า โลกปัจจุบันมีเทรนด์เล็กน้อยเกิดขึ้นมากมาย และเทรนด์เหล่านี้เป็นตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนของโลก หากนักการเมืองสามารถระบุเทรดน์เหล่านี้ได้ ก็จะสามารถชนะการเลือกตั้งได้ไม่ยาก เขาระบุว่าที่มาสำคัญของเทรนด์เหล่านี้คือ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
ปรากำการณ์ที่ 4 อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยแห่งใหม่
แม้คนส่วนใหญ่มักจะเชื่อว่า ผุ้ใช้โซเชียล เน็ตเวิร์คส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชน แต่ที่จริงแล้วราวๆ 4 ใน 5 ของผุ้ใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์คในอาเซียนนเป็นผุ้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งหมายความว่า โซเชียลเน๊ตเวิร์ค อาจมีผลต่อความคิดทางการเมือง ทัศนาคติทางสังคมของผุ้มีสิทธิ์เลือกตั้งกว่า 12% ในอาเซียน
คะแนนนิยมในโลกออนไลน์จึงไม่ได้จำกัดอยู่ในโลกออนไลน์เท่านั้น โซเลียลเน๊ตเวิร์คได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการหล่อหลอมความคิด รวบรวมผุ้ที่คิดเห็นตรงกัน และเป็นเครื่องมือสำคัญในการนัดหมาย หรือ "ชุมนุม" ของประชาชนที่ "เคอร์ฟิง" ใดๆ ไม่มีผลเมื่อใดก็ตามที่แนวคิดเล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้ซึ่งเป็น ไมโครเทรนด์ ได้รวมตัวกันใหญ่ขึ้นกลายมาเปิ็น "เมกกะเทรน" ก็อาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญทางการเมืองครั้งสำคัญได้ ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดคือ เหตุการณืลุกฮืของประชาชนที่เกิดขึ้นในตะวันออกกลางที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามใช่ว่า โซเชียลเน็ตเวิร์คจะมีเสรีภาพซะทุกอย่าง นอกจากการบล็อคเว็บไซต์ เองแลว "เคอร์ฟิวออนไลน์"สำหรับการจัดตั้งกลุ่มใน โซเชียลที่ "อาจเป็นภัยทางการเมือง" ก็มีอยู่เช่นนดัน เช่น เฟสบุ๊ค ตัดสินใจที่จะนำกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรงต่อต้านอิสราเอลบางหลุ่มออก ซึ่งทำให้ โวเชียล เน็ตเวิร์ค ถูกมองว่า สุดท้ายแล้วก็เป็นเครื่องมือทางการเมืองของรัฐบาลบางประเทศ
ปรากฎการณ์ที่ 5 กุญแจสำคัญของภาคประชาสังคม
โซเชียลฯ เชื่อมโลกเข้าด้วยกันไม่เพียงแค่ในแนวนอน (คนที่อยุ่ในสถรนะทางสังคมเดียวกัน) แต่รวมถึง แนวดิ่ง ซึ่งเป็นการเปิดประตูสู่ผุ้ด้วยโอกาส อาทิ การรวมตัวกันบริจาคสิ่งของให้ผุ้ด้อยโอากส หรือสอนหนังสือเด็กในสลัม ของคนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน โดยมีโซเชียลฯ เป็นสื่อ ซึ่งกิจกรรมแบบนี้ในโลก "ออฟไลน์" จะต้องใช้ทรัพยากรมหาศาล
ในช่วงวิกฤตต่างๆ ที่ผ่านมาในอาเซียนและบ้านใกล้เรือนเคียง ทำให้โซเชียลฯ ด้แลายเป็นพระเอกทั้งเรื่องการระดมเงินทุนหรือแรงเพื่อช่วยเหลือได้ทันท่วงที ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณืน้ำท่วมในเมืองไทย พายุถล่มในเมียนมาร์ แผ่นดินไหว แรอืสึนามิในญี่ปุ่นฯ
ปรากฎการณืที่สำคัญอีกย่างคือ การ ไมโคร-ไฟแนนต์ ผ่านเว็บไซต์ ในเน็ตเวิร์ค ที่จับกลุ่มผุ้ให้กุ้" และ "ผู้กู้" มาเจอกัน เพื่อช่วยคนอีกซึกหนึ่งของมุมโลก โดยไม่ต้องรอพึ่งรัฐบาล องคก์การระหว่างประเทศ หรือกระทั่งองค์กรการกุศลต่างๆ
ในฟิลิปปินส์มีตังอย่างการประสบความสำเร็จของหญิงสาวชาวบ้านคนหนึ่งที่กุ้ยืมเงินแบบ ไมโคร-ไฟแนนต์ จากผุ้จนใน เน็ตเวิร์ค ไปลงทุนในธุรกิจทำถงช้อปปิ้งจากวัศดุรีไซเคิล เพื่อซื้อเครื่องจักร เธอจ่ายคืนและกุ้ใหม่เพื่อซื้อเครื่องจักรรีโซเคิล เพื่อขยายกิจการ จนกระทั่งธุรกิจของเธอสามารถยืนบนลำแข้งตัวเองได้กี โดยเร่ิมต้นด้วยเงินกู้จาคนแปลกหน้า แม้ว่า ดิจิตอล เดวิด จะเป็นประเด็นสำคญในเวทีโลก และเป็นหนึ่งในปัญหาหลักของอาเซียน แต่ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ก็ได้เข้ามามีบทบาทในการลด "ช่องว่าง" ให้กับคนบางกลุ่มในสังคม และได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญของภาคประชาสังคม ในอาเวียน ภาคประชาสังคม ในที่นี้ไม่ได้หมายคึวามเพียงองค์กรการกุศลที่จะทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงกลุ่มคนที่เป็นประชาชนธรรมดาที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงสังคม ด้วยพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ ขงงตน และช่วยขับเคลื่อนอาเซียนไปข้าหน้าอย่างช้าๆ
ปรากฎการณืที่ 6 ปฏิวัติการทูตสาธารณะ แต่เดิมนั้นถุกจำกัดอยู่แค่ "การใช้สื่อกระแสหลักผสื่อสารทางเดียว) " โดยการสื่อสารสองทางเป็นไปได้ในกรณีของการจัดคณะสัญจร ซึ่งส้ินเปลื่องเวลาและงบประมาณมหาศาล
โซเชียล เน็ตเวิร์ค ได้ให้ทางเลือกตรงกลางระหว่างสองวิธีนี้ ดดยให้ช่องทางรัฐบาลได้ "พบปะกับประชาชน แบบสองทาง โดยผ่านสื่อ" ซึ่งสะดวกรวดเร็ว ประหยัด และสื่อสารได้ในวงกว้าง เป็นการปฏิวัติการทูตสาธารณะไปอย่างสิ้นเชิง ดดยรัฐบาลจะได้ประโยชน์จากเอกลัษณืของสื่อสังคมออนไลฯ์ ซึ่งต่างจากสื่อทั่วไป คือไม่ใช่การสื่อสารทางเดียวในลักษระป้อนขช้อมุล (หรือที่เรียกในทางบลว่า การโฆษณชาวเชื่อ)
ตรงกันข้าม โซเชียล เน็ตเวิร์ค ทำให้รัฐบาลมีช่องทางในการโต้ตอลและน้อมรับความคิดเห็นของประชาชน เปลี่ยนจากการใช้สื่อเพียนงแค่ "การส่งข่าวสารของรัฐ" กลายเป็น "การสร้างความไว้วางใจ" ในแบบที่ผุ้เสพไม่รุ้ตัว โดยอาศัยการสื่อสารถึงความรู้สึกของความเป็นมนุษย์ทืี่อยู่เบื้องหลังองค์กรนั้นๆ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนและสื่อผุ้ทรงอิทธพลเกิดความเข้าใจและเห็นใจองค์กร เป็นการผูกมิตร กับประชาชน ที่จะสร้างอิทธิพลให้กับหน่วยงานอย่างยั่งยืน
แม้ว่าในอาเซียน การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาธารณะอาจจะยังไม่สามารถเรียกเต็มปกาเต็มคำได้ว่า เป็นการ "ปฏิวัติฎ กต่หลายประเทศในอาเซียนได้เร่ิมใช้ โซเชียล เป็นช่องทางสำหรบการทูตสาธารณะแล้วเช่นกัน ความสำเร็จของการใช้ โซเชียล ในการทูตสาธารณะ ขึ้นอยู่กับความเข้าใจธรรมชิติของ โซเชียล เน็ตเวิร์ค เพื่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด ผู้ใช้จะต้องไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิมๆ มเิช่นันแล้ว การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาะารณะที่ว่าก็จะไม่ต่างจาก "โฆษณฯาชวนเชื่อ แบบเดิม..
ปรากฏการที่ 7 ช่ยส่งเสริม People-Center ASEAN ซึ่งยังไม่ไดด้เกิดขึ้นจริงเท่าใดนัก แต่อาเซียนก้มีศักยภาพที่จะสามารถผลึกดันต่อไปได้นั้นคือ การใช้โซเชียล เป้ฯเครื่องมือในการผลักดันอาเซียนให้กลายเป็น พีเพิล เซนเตอร์ อาเซียน อย่างเต็มตัว เพื่อมุ่งไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน..
อย่างไรก็ดี ก็ได้มีจุดเริ่มต้นในการช้สื่อโปรโมทความเป็ฯ "ประชาคมอาเซียน" ทั้งสื่อกระแสหลัก และการใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ด ซึ่งอาจจะยังไม่แพร่หลายนัก ของสำนักเลขาธิการอาเซียน และ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบัน...นอกจากการส่งเสริมอัตลักษณ์ของความเป็น "ประชาคมอาเซียน" แล้ว โซเชียลฯ ยังสามาถใช้ช่วยในกาแก้ปัญหาต่างๆ ในอาเวียนได้โดยอาศัยการให้ "คน" เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาอย่งถูกจุด ทั้งนี้ โซเชียลเน็ตเวิร์คเปรียบเสมือนฐานข้อมูลพลวัติ ขั้นยอด...
www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121204-123333-720587.pdf
อิทธิพลของ โซเชียล เนตเวิร์ค ขยายไปทั่วโลก แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือ การเจริญเติบโตของเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ ในประเทศอาเซียนที่ได้กลายมาเป็นปรากฎการณืสำคัญ 7 ประการ ที่ทำให้โลกโซเชียล ไม่ได้เป็นแค่ "ของเล่น" ของคนยุคใหม่เท่านั้น
ปรากฎการที่ 1 ไม่ต่ำกว่า 16% ของชาวอาเซียนใช้ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
เมื่อเดือนมีนาคม 2553 เว็บไซต์ อย่าง Facebook ก็ขึ้นแซงหน้าเสิร์ชเอ็นจิ้น อย่าง Google ในฐานะเว็บไซต์ยอดนิยมอันดับหนึ่งของโลกได้สำเร็จซึ่งหมายความว่า ทุกวันนี้คนลนดฃกออนไลฃน์รับข้อมุลต่างๆ จาก โซเชียลเน็ตเวิร์ค มากกว่าการต้รคว้าเว็บไซต์ สิ่งที่น่าสนใจ คือ ประเทศที่มีผุ้ใช้ เฟสบุ๊คมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐฯ นั้นคือ ประเทศอินโดนีเซีย มีผุ้ใช้เฟสบุ๊คกว่า 39 ล้านคน ขณะที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีผุ้ใช้เยอะไม่แพ้กัน ฟิลิปปินส์ 25 ล้าคน มาเลเซีย 11 ล้านคน และไทย 10 ล้านคน
ปัจจุบัน อาเซียนมีผุ้ใช้ เฟสบุ๊ค รวมถึง 92 ล้านคน หรือราว 16% ของประชากรในอาเซียน และยังไม่นับรวม โซเชียลเน็ตเวิร์คอื่นๆ ที่กำลังมาเแรงพร้อมๆ กับตลาดสมาร์ทโฟนที่เติบโตอย่างรวดเร็วในภุมิภาคนี้
ปรากฎการณ์ที่ 2 จากแหลงข้อมูลชั้นยอดของโซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เปลี่ยนวิะีการเสพข่าวสารของประชาชน กลาเป็นการเสพข่าวจาก "สื่อใหม่" ที่รวมเร็วกว่าในแบบ real time จากผุ้สื่อข่าวที่ดดยปกติแล้วจะต้องรอ air time ที่จะปรากฎตัวในส่อกระแสหลัก
นอกจากนี้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ยังได้ให้กำเนิดสิ่งที่เรียกว่า Citizen Journalism หรือการที่บุคคลธรรมดาได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นนักข่าว ดดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่กิดวกฤตต่างๆ เมื่อพวกเขาเลห่านั้นได้นำเสนอข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิ ด้วยตนเองข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิเหล่านี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลงวิธีการเสพข่าวสารของชาวอาเซียนเท่านั้น แต่ข้อมูล พร้อมหลักฐาน อาทิ ภาพถ่ายจากเหตุการณ์จริง ได้ส่งผลมากต่อการรับรุ้ข้อเท็จจริงของคนในสังคม ซึ่งทำให้การปกปิด (เซ็นเซอร์สื่อกระแสหลัก อาทิ โดยรัฐบาลหรือผุ้ทรงอิทธิพลป ไม่มีผลอีกต่อไป
ปรากฎการณ์ที่ 3 ปฏิวัติการโฆษณาและการหาเสียง
สิ่งที่ทำให้โซเชียล เน็ตเวิร์ค แตกต่างจากส่อโดยทั่วไป คือ เป็นการ "สื่อสารสองทาง" และทำให้เกิดปรากฎการณ์ไวรับ หรือ "ปากต่อปาก" " ในดลกดิจิตอล ซึ่งกลายเป็นเครื่องมืออันล้ำค่าไๆม่เพียงแต่กับนักการตลาด แต่ยังรวมถึง นักการเมืองอีกด้วย
อดีตประธารนาธิบดี บารัค โอบามา เป็นผู้แรกที่ริเร่ิมการใช้ ทวิตเตอร์ ในการหาเสียงจนชนะการเลือกตั้ง ในอาเซียนตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ในการเลือกตั้งของสิงคโปร์ที่ผ่านมา ซึ่ง โซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เข้ามามีบทบาทมากในการสูญเสียที่นังนสภาของพรรครัฐบาล และที่เป็นที่กล่าวถึงกันมากคือ นิโคล เซียฮ ผุ้สมัครหน้าใหม่วัย 24 ปี ซึ่งแม้จะแพ้การเลือกตั้ง แต่ แฟนเพจของเธอในเฟสบุค มีคนสนับสนุนทะลุ 1 แสน "Like"แซงหน้า แฟนเพจของผุ้ทรงคุณวุฒิในประเทศเรียบร้อยแล้ว
สำหรับในไทย ปัจจุบันกฎหมายได้ระบุห้ามหาเสียงเลือกตั้งโดยใช้สื่อโฆษณาไทรทัศน์ ส่งผลให้นักการเมืองหันมาใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค กันอย่งล้นหลามในการเลือกตั้งที่ผ่านมา โดยเฉพาะทาง ทิวตเตอร์ และยูทูป ซึ่งโฆษณาพรรคการเมืองบางชิ้นมีคนรับชมไปแล้วกว่า 1 แสนครั้ง
เมื่อปี 2007 มีนักสถิติผุ้อยุ่เบื้องหลังความสำเร็จของนักการเมืองอเมริกันหายคน เขียนหนังสือเล่มหนึ่งโดยมีทฤษฎีว่า โลกปัจจุบันมีเทรนด์เล็กน้อยเกิดขึ้นมากมาย และเทรนด์เหล่านี้เป็นตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนของโลก หากนักการเมืองสามารถระบุเทรดน์เหล่านี้ได้ ก็จะสามารถชนะการเลือกตั้งได้ไม่ยาก เขาระบุว่าที่มาสำคัญของเทรนด์เหล่านี้คือ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
ปรากำการณ์ที่ 4 อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยแห่งใหม่
แม้คนส่วนใหญ่มักจะเชื่อว่า ผุ้ใช้โซเชียล เน็ตเวิร์คส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชน แต่ที่จริงแล้วราวๆ 4 ใน 5 ของผุ้ใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์คในอาเซียนนเป็นผุ้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งหมายความว่า โซเชียลเน๊ตเวิร์ค อาจมีผลต่อความคิดทางการเมือง ทัศนาคติทางสังคมของผุ้มีสิทธิ์เลือกตั้งกว่า 12% ในอาเซียน
คะแนนนิยมในโลกออนไลน์จึงไม่ได้จำกัดอยู่ในโลกออนไลน์เท่านั้น โซเลียลเน๊ตเวิร์คได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการหล่อหลอมความคิด รวบรวมผุ้ที่คิดเห็นตรงกัน และเป็นเครื่องมือสำคัญในการนัดหมาย หรือ "ชุมนุม" ของประชาชนที่ "เคอร์ฟิง" ใดๆ ไม่มีผลเมื่อใดก็ตามที่แนวคิดเล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้ซึ่งเป็น ไมโครเทรนด์ ได้รวมตัวกันใหญ่ขึ้นกลายมาเปิ็น "เมกกะเทรน" ก็อาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญทางการเมืองครั้งสำคัญได้ ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดคือ เหตุการณืลุกฮืของประชาชนที่เกิดขึ้นในตะวันออกกลางที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามใช่ว่า โซเชียลเน็ตเวิร์คจะมีเสรีภาพซะทุกอย่าง นอกจากการบล็อคเว็บไซต์ เองแลว "เคอร์ฟิวออนไลน์"สำหรับการจัดตั้งกลุ่มใน โซเชียลที่ "อาจเป็นภัยทางการเมือง" ก็มีอยู่เช่นนดัน เช่น เฟสบุ๊ค ตัดสินใจที่จะนำกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรงต่อต้านอิสราเอลบางหลุ่มออก ซึ่งทำให้ โวเชียล เน็ตเวิร์ค ถูกมองว่า สุดท้ายแล้วก็เป็นเครื่องมือทางการเมืองของรัฐบาลบางประเทศ
ปรากฎการณ์ที่ 5 กุญแจสำคัญของภาคประชาสังคม
โซเชียลฯ เชื่อมโลกเข้าด้วยกันไม่เพียงแค่ในแนวนอน (คนที่อยุ่ในสถรนะทางสังคมเดียวกัน) แต่รวมถึง แนวดิ่ง ซึ่งเป็นการเปิดประตูสู่ผุ้ด้วยโอกาส อาทิ การรวมตัวกันบริจาคสิ่งของให้ผุ้ด้อยโอากส หรือสอนหนังสือเด็กในสลัม ของคนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน โดยมีโซเชียลฯ เป็นสื่อ ซึ่งกิจกรรมแบบนี้ในโลก "ออฟไลน์" จะต้องใช้ทรัพยากรมหาศาล
ในช่วงวิกฤตต่างๆ ที่ผ่านมาในอาเซียนและบ้านใกล้เรือนเคียง ทำให้โซเชียลฯ ด้แลายเป็นพระเอกทั้งเรื่องการระดมเงินทุนหรือแรงเพื่อช่วยเหลือได้ทันท่วงที ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณืน้ำท่วมในเมืองไทย พายุถล่มในเมียนมาร์ แผ่นดินไหว แรอืสึนามิในญี่ปุ่นฯ
ปรากฎการณืที่สำคัญอีกย่างคือ การ ไมโคร-ไฟแนนต์ ผ่านเว็บไซต์ ในเน็ตเวิร์ค ที่จับกลุ่มผุ้ให้กุ้" และ "ผู้กู้" มาเจอกัน เพื่อช่วยคนอีกซึกหนึ่งของมุมโลก โดยไม่ต้องรอพึ่งรัฐบาล องคก์การระหว่างประเทศ หรือกระทั่งองค์กรการกุศลต่างๆ
ในฟิลิปปินส์มีตังอย่างการประสบความสำเร็จของหญิงสาวชาวบ้านคนหนึ่งที่กุ้ยืมเงินแบบ ไมโคร-ไฟแนนต์ จากผุ้จนใน เน็ตเวิร์ค ไปลงทุนในธุรกิจทำถงช้อปปิ้งจากวัศดุรีไซเคิล เพื่อซื้อเครื่องจักร เธอจ่ายคืนและกุ้ใหม่เพื่อซื้อเครื่องจักรรีโซเคิล เพื่อขยายกิจการ จนกระทั่งธุรกิจของเธอสามารถยืนบนลำแข้งตัวเองได้กี โดยเร่ิมต้นด้วยเงินกู้จาคนแปลกหน้า แม้ว่า ดิจิตอล เดวิด จะเป็นประเด็นสำคญในเวทีโลก และเป็นหนึ่งในปัญหาหลักของอาเซียน แต่ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ก็ได้เข้ามามีบทบาทในการลด "ช่องว่าง" ให้กับคนบางกลุ่มในสังคม และได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญของภาคประชาสังคม ในอาเวียน ภาคประชาสังคม ในที่นี้ไม่ได้หมายคึวามเพียงองค์กรการกุศลที่จะทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงกลุ่มคนที่เป็นประชาชนธรรมดาที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงสังคม ด้วยพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ ขงงตน และช่วยขับเคลื่อนอาเซียนไปข้าหน้าอย่างช้าๆ
ปรากฎการณืที่ 6 ปฏิวัติการทูตสาธารณะ แต่เดิมนั้นถุกจำกัดอยู่แค่ "การใช้สื่อกระแสหลักผสื่อสารทางเดียว) " โดยการสื่อสารสองทางเป็นไปได้ในกรณีของการจัดคณะสัญจร ซึ่งส้ินเปลื่องเวลาและงบประมาณมหาศาล
โซเชียล เน็ตเวิร์ค ได้ให้ทางเลือกตรงกลางระหว่างสองวิธีนี้ ดดยให้ช่องทางรัฐบาลได้ "พบปะกับประชาชน แบบสองทาง โดยผ่านสื่อ" ซึ่งสะดวกรวดเร็ว ประหยัด และสื่อสารได้ในวงกว้าง เป็นการปฏิวัติการทูตสาธารณะไปอย่างสิ้นเชิง ดดยรัฐบาลจะได้ประโยชน์จากเอกลัษณืของสื่อสังคมออนไลฯ์ ซึ่งต่างจากสื่อทั่วไป คือไม่ใช่การสื่อสารทางเดียวในลักษระป้อนขช้อมุล (หรือที่เรียกในทางบลว่า การโฆษณชาวเชื่อ)
ตรงกันข้าม โซเชียล เน็ตเวิร์ค ทำให้รัฐบาลมีช่องทางในการโต้ตอลและน้อมรับความคิดเห็นของประชาชน เปลี่ยนจากการใช้สื่อเพียนงแค่ "การส่งข่าวสารของรัฐ" กลายเป็น "การสร้างความไว้วางใจ" ในแบบที่ผุ้เสพไม่รุ้ตัว โดยอาศัยการสื่อสารถึงความรู้สึกของความเป็นมนุษย์ทืี่อยู่เบื้องหลังองค์กรนั้นๆ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนและสื่อผุ้ทรงอิทธพลเกิดความเข้าใจและเห็นใจองค์กร เป็นการผูกมิตร กับประชาชน ที่จะสร้างอิทธิพลให้กับหน่วยงานอย่างยั่งยืน
แม้ว่าในอาเซียน การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาธารณะอาจจะยังไม่สามารถเรียกเต็มปกาเต็มคำได้ว่า เป็นการ "ปฏิวัติฎ กต่หลายประเทศในอาเซียนได้เร่ิมใช้ โซเชียล เป็นช่องทางสำหรบการทูตสาธารณะแล้วเช่นกัน ความสำเร็จของการใช้ โซเชียล ในการทูตสาธารณะ ขึ้นอยู่กับความเข้าใจธรรมชิติของ โซเชียล เน็ตเวิร์ค เพื่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด ผู้ใช้จะต้องไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิมๆ มเิช่นันแล้ว การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาะารณะที่ว่าก็จะไม่ต่างจาก "โฆษณฯาชวนเชื่อ แบบเดิม..
ปรากฏการที่ 7 ช่ยส่งเสริม People-Center ASEAN ซึ่งยังไม่ไดด้เกิดขึ้นจริงเท่าใดนัก แต่อาเซียนก้มีศักยภาพที่จะสามารถผลึกดันต่อไปได้นั้นคือ การใช้โซเชียล เป้ฯเครื่องมือในการผลักดันอาเซียนให้กลายเป็น พีเพิล เซนเตอร์ อาเซียน อย่างเต็มตัว เพื่อมุ่งไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน..
อย่างไรก็ดี ก็ได้มีจุดเริ่มต้นในการช้สื่อโปรโมทความเป็ฯ "ประชาคมอาเซียน" ทั้งสื่อกระแสหลัก และการใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ด ซึ่งอาจจะยังไม่แพร่หลายนัก ของสำนักเลขาธิการอาเซียน และ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบัน...นอกจากการส่งเสริมอัตลักษณ์ของความเป็น "ประชาคมอาเซียน" แล้ว โซเชียลฯ ยังสามาถใช้ช่วยในกาแก้ปัญหาต่างๆ ในอาเวียนได้โดยอาศัยการให้ "คน" เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาอย่งถูกจุด ทั้งนี้ โซเชียลเน็ตเวิร์คเปรียบเสมือนฐานข้อมูลพลวัติ ขั้นยอด...
www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121204-123333-720587.pdf
วันพุธที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Fillipine Cutural Group
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรุ้จากกัและกัน และร่วมใช้อยุ่ในหมุ่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา
วัฒนธรรมภูมภาคจำนวนมากได้ับอิทธิพลจากการติดต่อกับภุมิภาคอื่น เช่นการเป็นอาณานิคม การต้าขาย การย้อยถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา
เกือบทุกประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้รับอิทธิพลอย่างต่อเนื่องจากวัฒนธรรมของชนพ้ืนถิ่นเดิม แม้จะได้รับผลกระทบจากอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรปบ้าง โดยเฉพาะฟิลิปปินส์และเกือบทุกประเทศในหมู่เกาะโปลินีเซียนับถือศาสนาคริสต์ ประเทศอื่นๆ เช่นออสเตรเลียและนิวซีแล้นด์ถูกครอบงำโดยผุ้อพยพที่เป็นชนผิวขาวและลูกหลายของพวกชนเหล่านี้ แต่ถึงกระนั้นวัฒนธรรมพื้นถิ่นออสเตรเลียและวัฒนธรรมเมารีในนิวซีแล้นด์ก็ยังปรากฎให้เห็นชัดเจนth.wikipedia.org/wiki/วัฒนธรรม#.E0.B9.81.E0.B8.9B.E0.B8.8B.E0.B8.B4.E0.B8.9F.E0.B8.B4.E0.B8.81
ประเทศฟิลิปปินส์ที่ประกอบไปด้วยเกาุะต่างๆ และมีชนเผ่าดั้งเดิมหมายชนเผ่า หลายชาติพันธุ์ รวมทั้งกลุ่มที่เข้ามาไม่วากลุ่มชาวคริสเตียนจากตะวันตก ชาวจีนที่เข้ามาทำการค้าตั้งแต่สมัยสเปนเข้ามาครอบครอง ซึ่งล้วนแล้วแต่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง ทำให้ภาษาและวัฒนธรรมในฟิลิปปินส์มีความหลากหลายไปด้วย รวมทั้งการพัฒนาของสังคมดั้งเดิมไปสู่ีการเมืองขึ้นภายใต้การปกครองของสเปนและสหรัฐอเมริกา ทำให้ชาวฟิลิปปินส์มีการผสมผสานทางวัฒรธรรมของ วัฒนธรรมพื้นเมือง วัฒนธรรมมุสลิม วัฒนธรรมสเปนและวัฒนธรรอเมริกานั้นคือ มัลัการะครอบครัวที่ใกล้ชิดแบบสเปน แต่มีความทั้มัยแบบอเมริกา โดยเฉพาะในสังคมเมือง
จากการที่สเปนเข้ามาครอบครอง จึงได้มีศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลัิกเข้ามาเผยแพร่เพื่อเป็นเครื่องมือในการปกครอง ซึ่งทำให้ฟิลิปปินส์ในปัจจุบันเป็นประเทศที่มีคนนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก คิดเป็นประมาณร้อยละ 83 ของชาวฟิลิปปินส์ วิถีชีวิตของชาวฟิลิปปินส์เกี่ยวพันกับศาสนาตั้งแต่เกิจนตาย การคุมกำเนิดเป็นเรื่องขัดกับหลักศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก จึงทำให้มีบุตรมาก เป็นครอบครัวใหญ่ ทั้งรับอิทธิพลระบบเจ้ารขุนมูลนายและระบบอุปถัมภ์จากสเปน และค่านิยมทางครอบครัวที่เป็นแบบประเพณีนิยม อบรมให้เคารพแลฃะเชื่อฟังผุ้อาวุโสเด็กจะถูกอบรมสั่งสอนให้ยอมรับอำนาจของผุ้อาวุโสกว่า จึงทำให้เกิดเป็ฯพฤติกรรมที่ยอมรับอำนาจนิยม
วัฒนธรรมในการดำเนินชีวิดตของชาวฟิลิปปินส์ เป้นวัฒนธรรมแบบผสมผานของเอเชีย ยุโรปและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอเมริกาได้ปลูกฝังความเชื่อมั่นในตนเองให้กับชาวฟิลิปปินส์ ทำให้กล้าแสดงออกในความคิดเห็นของตนเอง กล้าวิพากษืวิจารณ์มไม่ว่าเรื่องนั้นจะรุนแรงแค่ไหนhttp://thailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=895&filename=aseanknowledge
วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันอตกและตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับ อิทธิพลจากสเปน จีนและอเมริกัน
อิทธิพลจากสเปน และเม็กซิโก เรียกว่า Hispanic Influences ที่มีมากว่า 300 ปี ในช่วงการปกครองแบบอาณานิคม จะเห้นได้จากความเชื่อ ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปีฟิลิปปินส์ จะมารื่นเริงที่เรียกว่า Barrio Fiesta เป็นการฉลองนักบุญของเมือง หมุ่บ้าน และเขตปกครองต่างๆ มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินพาเรดในเมือง ฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ การประกวดความงามและการเต้นรำ รวมท้้งมีการตีไก่
อิทธิพลจากจีน จะพบได้จากอาหารซึ่งอาหารของฟิลิปปินส์นั้นจัดได้ว่าคล้าย อาหารจีน มีรสชาติค่อนข้างไม่เผ็นร้อนนักไม่เหมือนอาหารพื้นบ้านของไทย ฟิลิปปินส์นิยม กินก๋วยเตี๋ยวทีเป็นเส้น เรียกว่า Mami เช่นเดียวกับ อาหารจานเนื้ออื่นๆ นอกจากนี้ ภาษาจีนคือ ภาษาที่ชาวจีนในฟิลปปินส์นิยมพูดกันในชุมชนของตน
http://www.asean-info.com/asean_members/philippines_culture.html
อิทธิพลากอเมริกัน เนื่องจากฟิลิปปินส์อยู่ใต้การปกครองของประเทศสหรัฐฯ กว่า 14 ปี และได้รับอิทธิพลจากอเมริกันอย่างมาก ประเทศสหรัฐเป็นแหล่งที่คน มีการศึกษาในฟิลิปปินส์นิยมไปแสวงหาโชค และหางานทำมากมี่สุด อิทธพลทางวัฒนธรรมจากอเมริกัน นับว่ามีการแพร่หลาย ดังเช่น การพูดและใช้ภาษาอังกฤษ ในด้านกีฬจะเห็นได้จากกีฬาบาสเก็ตบอล ซึ่งเป้นกีฬายอดนิยมของฟิลิปปินส์ ร้านอาหารจารด่วน หรือฟาสฟูดส์ ก็ได้รับอิทธิพลจากอเมริกัน
ชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศหมุ่เกาะที่ประกอบด้วยเกาะจำนวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุรแปซิฟิก ห่างจากเอเชียแผ่นดินใหญ่ทงตะวันออกเแียงใต้ ประเมาณ 100 กิโลเมตร และมีลักษณะพิเศษ คือ เป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ตอต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก พี้นที่ กว่าสองแสนเก้าหมื่นตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3/5 ของประเทศไทย) เมืองหลวงคือกรุงมะนิลา ประชากร 88.7 ล้านคน(พ.ศ. 2550) เป็นประเทศมรสุมเขตร้อน ได้รับความชุ่มชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2ฤดู ได้รับฝนจากลมพายุใต้ฝุ่น และดีเปรสชั้น
ภาษาที่ใช้ กว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี 2530 รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษเป้ฯภาษาราชการ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่ใช้กันมากในฟิลิปปินส์ทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ ภาษาตาการล็อก จีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแต้จิ้ว ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาซินด์ ภาษาปัญจาบ ภาษาเกาหลี และภาษาอาหรับ โดยฟิลิปปินส์ มีภาษาประจำชาติคือ ภาษาตากาล็อกhttp://www.bpp32.com/2555/acc/b0006.html
ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับ ภาษาอินโดนีเซียน ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาาากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยใช้ภาษาอังกฤษมากว่า
คำว่าตากาล็อกมาจาก taga-ilog โดย taga หมายถึงท้องถ่ิน และ ilog หมายถึงแม่น้ำ รวมแล้วหมายถึงผู้อาศัยอยู่กับแม่น้ำ ไม่มีตัวอย่งการเขียนของภาษาตากาล็อก ก่อนการมาถึงของสเปนในพุทธศตวรรษที่ 21 เหลืออยู่เลย ประวัติศาสตร์ของภาาาจึงเหลืออยู่น้อยมาก คาดว่าภาษานี้กำเนิดในฟิลิปปินส์ตอนกลางจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนาหรือวิซายาตะวันออก
หนังสื่อเล่มแรกที่เขียนด้วยภาษาตากาล็อกคือ Doctrina Cristiana ใน พ.ศ. 2136 โดยในหนังือเล่มนี้เขียนด้วยภาษาสเปนและภาษาตากาล็อก 2 รูปแบบคือใช้อักษรละตินและอักษรบายบายิน ในช่วงที่สเปนยึดครองอยู่ 333 ปี มีไวยากรณ์และพจนานุกรมเขียนโดยบาทหลวงชาวสเปน
ใน พ.ศ. 2480 ได้มีการสร้างภาษาประจำชาติโดยสภาบันภาษาแห่งชาติโดยใช้ภาษาตากาล็อกเป็นพื้นฐาน ภาษาประจำชาติที่เคยตั้งชื่อว่า Wikang pambansa (ภาษาแห่งชาติ)ดยประธานาธิบดีม มานูแอล เอเล. เกซอน เมื่อ พ.ศ. 2482 ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาปิลิปีโน ใน พ.ศ. 2502 แต่การเปลี่ยนชื่อนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากผู้ที่ไม่ได้พูดภาาาตากาล็อก โดยเฉพาะผู้พูดภาษาเซบัวโน
ใน พ.ศ. 2514 เกิดหัวข้อทางด้านภาษาขึ้นอีกคร้งหนึ่ง ทำให้เปลี่ยนชื่อภาษประจำชาติจากภาาปิลิปีโนเป็นภาษาฟิลิปีโน โดยภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาที่ผสมลักษณะของภาษาตากาล็อกสำเนยงลูชอนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
ภาษาตากาล็อกถูกประกาศให้เป็นภาษาราชากรเมืองโดยสถาบันไบก์นาบาโตเมือง พ.ศ. 2440 ในพ.ศ. 2478 ได้ยกเลิกการใช้ภาาอังกฤษและภาษาสเปนเป้นภาษาราชาการ และได้พัฒนาภาาาราชการใหม่ขึ้นมา หลังจากการประชุมของถบันภาษาแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน 7 คน จากส่วนต่างๆ ของฟิลิปปินส์ได้เลือกภาษาตากาล็อกใ้เป็นพี้นฐานมาจากภาษาตากาล็อกว่า วีกัง ปัมบันซา (ภาษาประจำชาติ) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป้นภษปิลิปีโน ในปีเดียวกัน
ใน พ.ศ. 2516 ได้ประกาศยกเลิกการใช้ภาาปิลิปีโนเป้ฯภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษ และได้พัฒนาภาษาประจำชาติขึ้นใหม่ ซึ่งเป็ฯที่รู้จักในชื่อภาาฟิลิปินโน th.wikipedia.org/wiki/ภาษาตากาล็อก
ภาษาฟิลิปปิโน หรือ ภาษาฟิลิปีโน เป้ฯภาษาประจำชาติและภาษาราชการหนึ่งของประเทศฟิลิปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมือ่ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตาการล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป้ฯภาษาฟลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515
เริ่มแรก Balarila ng Wikang Pambansa นำอักษร 20 ตัวที่แสดงเสียงใภาษาตากาล็อก ได้แก่ a b k d e g h i l m n ng (ng ถือเป็นอักษรตัวเดียว) o p r s t u w y สภาบัภาษแห่งชาติเร่ิมภาษาใหม่เมื่อ พ.ศ. 2516 แลพเพิ่มอักษรเป็น 31 ตัวเมือง พ.ศ. 2519 คืออักษร 26 สำหรับภาาอังกฤษ และอักษรจากภาษาสเปนคือñ, ll, rr,และ ch, ng จากภภาษาตากาล็อก ต่อมา พ.ศ. 2530 ตัดอักษร rr,ll,ch ออกไปโดยเหลือเพียง 28 ตัว th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฟิลิปีโน
วัฒนธรรมภูมภาคจำนวนมากได้ับอิทธิพลจากการติดต่อกับภุมิภาคอื่น เช่นการเป็นอาณานิคม การต้าขาย การย้อยถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา
เกือบทุกประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้รับอิทธิพลอย่างต่อเนื่องจากวัฒนธรรมของชนพ้ืนถิ่นเดิม แม้จะได้รับผลกระทบจากอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรปบ้าง โดยเฉพาะฟิลิปปินส์และเกือบทุกประเทศในหมู่เกาะโปลินีเซียนับถือศาสนาคริสต์ ประเทศอื่นๆ เช่นออสเตรเลียและนิวซีแล้นด์ถูกครอบงำโดยผุ้อพยพที่เป็นชนผิวขาวและลูกหลายของพวกชนเหล่านี้ แต่ถึงกระนั้นวัฒนธรรมพื้นถิ่นออสเตรเลียและวัฒนธรรมเมารีในนิวซีแล้นด์ก็ยังปรากฎให้เห็นชัดเจนth.wikipedia.org/wiki/วัฒนธรรม#.E0.B9.81.E0.B8.9B.E0.B8.8B.E0.B8.B4.E0.B8.9F.E0.B8.B4.E0.B8.81
ประเทศฟิลิปปินส์ที่ประกอบไปด้วยเกาุะต่างๆ และมีชนเผ่าดั้งเดิมหมายชนเผ่า หลายชาติพันธุ์ รวมทั้งกลุ่มที่เข้ามาไม่วากลุ่มชาวคริสเตียนจากตะวันตก ชาวจีนที่เข้ามาทำการค้าตั้งแต่สมัยสเปนเข้ามาครอบครอง ซึ่งล้วนแล้วแต่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง ทำให้ภาษาและวัฒนธรรมในฟิลิปปินส์มีความหลากหลายไปด้วย รวมทั้งการพัฒนาของสังคมดั้งเดิมไปสู่ีการเมืองขึ้นภายใต้การปกครองของสเปนและสหรัฐอเมริกา ทำให้ชาวฟิลิปปินส์มีการผสมผสานทางวัฒรธรรมของ วัฒนธรรมพื้นเมือง วัฒนธรรมมุสลิม วัฒนธรรมสเปนและวัฒนธรรอเมริกานั้นคือ มัลัการะครอบครัวที่ใกล้ชิดแบบสเปน แต่มีความทั้มัยแบบอเมริกา โดยเฉพาะในสังคมเมือง
จากการที่สเปนเข้ามาครอบครอง จึงได้มีศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลัิกเข้ามาเผยแพร่เพื่อเป็นเครื่องมือในการปกครอง ซึ่งทำให้ฟิลิปปินส์ในปัจจุบันเป็นประเทศที่มีคนนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก คิดเป็นประมาณร้อยละ 83 ของชาวฟิลิปปินส์ วิถีชีวิตของชาวฟิลิปปินส์เกี่ยวพันกับศาสนาตั้งแต่เกิจนตาย การคุมกำเนิดเป็นเรื่องขัดกับหลักศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก จึงทำให้มีบุตรมาก เป็นครอบครัวใหญ่ ทั้งรับอิทธิพลระบบเจ้ารขุนมูลนายและระบบอุปถัมภ์จากสเปน และค่านิยมทางครอบครัวที่เป็นแบบประเพณีนิยม อบรมให้เคารพแลฃะเชื่อฟังผุ้อาวุโสเด็กจะถูกอบรมสั่งสอนให้ยอมรับอำนาจของผุ้อาวุโสกว่า จึงทำให้เกิดเป็ฯพฤติกรรมที่ยอมรับอำนาจนิยม
วัฒนธรรมในการดำเนินชีวิดตของชาวฟิลิปปินส์ เป้นวัฒนธรรมแบบผสมผานของเอเชีย ยุโรปและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอเมริกาได้ปลูกฝังความเชื่อมั่นในตนเองให้กับชาวฟิลิปปินส์ ทำให้กล้าแสดงออกในความคิดเห็นของตนเอง กล้าวิพากษืวิจารณ์มไม่ว่าเรื่องนั้นจะรุนแรงแค่ไหนhttp://thailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=895&filename=aseanknowledge
วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นการผสมผสานกันระหว่างตะวันอตกและตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับ อิทธิพลจากสเปน จีนและอเมริกัน
อิทธิพลจากสเปน และเม็กซิโก เรียกว่า Hispanic Influences ที่มีมากว่า 300 ปี ในช่วงการปกครองแบบอาณานิคม จะเห้นได้จากความเชื่อ ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปีฟิลิปปินส์ จะมารื่นเริงที่เรียกว่า Barrio Fiesta เป็นการฉลองนักบุญของเมือง หมุ่บ้าน และเขตปกครองต่างๆ มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินพาเรดในเมือง ฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ การประกวดความงามและการเต้นรำ รวมท้้งมีการตีไก่
อิทธิพลจากจีน จะพบได้จากอาหารซึ่งอาหารของฟิลิปปินส์นั้นจัดได้ว่าคล้าย อาหารจีน มีรสชาติค่อนข้างไม่เผ็นร้อนนักไม่เหมือนอาหารพื้นบ้านของไทย ฟิลิปปินส์นิยม กินก๋วยเตี๋ยวทีเป็นเส้น เรียกว่า Mami เช่นเดียวกับ อาหารจานเนื้ออื่นๆ นอกจากนี้ ภาษาจีนคือ ภาษาที่ชาวจีนในฟิลปปินส์นิยมพูดกันในชุมชนของตน
http://www.asean-info.com/asean_members/philippines_culture.html
อิทธิพลากอเมริกัน เนื่องจากฟิลิปปินส์อยู่ใต้การปกครองของประเทศสหรัฐฯ กว่า 14 ปี และได้รับอิทธิพลจากอเมริกันอย่างมาก ประเทศสหรัฐเป็นแหล่งที่คน มีการศึกษาในฟิลิปปินส์นิยมไปแสวงหาโชค และหางานทำมากมี่สุด อิทธพลทางวัฒนธรรมจากอเมริกัน นับว่ามีการแพร่หลาย ดังเช่น การพูดและใช้ภาษาอังกฤษ ในด้านกีฬจะเห็นได้จากกีฬาบาสเก็ตบอล ซึ่งเป้นกีฬายอดนิยมของฟิลิปปินส์ ร้านอาหารจารด่วน หรือฟาสฟูดส์ ก็ได้รับอิทธิพลจากอเมริกัน
ชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศหมุ่เกาะที่ประกอบด้วยเกาะจำนวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุรแปซิฟิก ห่างจากเอเชียแผ่นดินใหญ่ทงตะวันออกเแียงใต้ ประเมาณ 100 กิโลเมตร และมีลักษณะพิเศษ คือ เป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ตอต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก พี้นที่ กว่าสองแสนเก้าหมื่นตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3/5 ของประเทศไทย) เมืองหลวงคือกรุงมะนิลา ประชากร 88.7 ล้านคน(พ.ศ. 2550) เป็นประเทศมรสุมเขตร้อน ได้รับความชุ่มชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2ฤดู ได้รับฝนจากลมพายุใต้ฝุ่น และดีเปรสชั้น
ภาษาที่ใช้ กว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-โปลินีเซียนตะวันตก แต่ในปี 2530 รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษเป้ฯภาษาราชการ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่ใช้กันมากในฟิลิปปินส์ทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ ภาษาตาการล็อก จีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแต้จิ้ว ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาซินด์ ภาษาปัญจาบ ภาษาเกาหลี และภาษาอาหรับ โดยฟิลิปปินส์ มีภาษาประจำชาติคือ ภาษาตากาล็อกhttp://www.bpp32.com/2555/acc/b0006.html
ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับ ภาษาอินโดนีเซียน ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาาากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยใช้ภาษาอังกฤษมากว่า
คำว่าตากาล็อกมาจาก taga-ilog โดย taga หมายถึงท้องถ่ิน และ ilog หมายถึงแม่น้ำ รวมแล้วหมายถึงผู้อาศัยอยู่กับแม่น้ำ ไม่มีตัวอย่งการเขียนของภาษาตากาล็อก ก่อนการมาถึงของสเปนในพุทธศตวรรษที่ 21 เหลืออยู่เลย ประวัติศาสตร์ของภาาาจึงเหลืออยู่น้อยมาก คาดว่าภาษานี้กำเนิดในฟิลิปปินส์ตอนกลางจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนาหรือวิซายาตะวันออก
หนังสื่อเล่มแรกที่เขียนด้วยภาษาตากาล็อกคือ Doctrina Cristiana ใน พ.ศ. 2136 โดยในหนังือเล่มนี้เขียนด้วยภาษาสเปนและภาษาตากาล็อก 2 รูปแบบคือใช้อักษรละตินและอักษรบายบายิน ในช่วงที่สเปนยึดครองอยู่ 333 ปี มีไวยากรณ์และพจนานุกรมเขียนโดยบาทหลวงชาวสเปน
ใน พ.ศ. 2480 ได้มีการสร้างภาษาประจำชาติโดยสภาบันภาษาแห่งชาติโดยใช้ภาษาตากาล็อกเป็นพื้นฐาน ภาษาประจำชาติที่เคยตั้งชื่อว่า Wikang pambansa (ภาษาแห่งชาติ)ดยประธานาธิบดีม มานูแอล เอเล. เกซอน เมื่อ พ.ศ. 2482 ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาปิลิปีโน ใน พ.ศ. 2502 แต่การเปลี่ยนชื่อนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากผู้ที่ไม่ได้พูดภาาาตากาล็อก โดยเฉพาะผู้พูดภาษาเซบัวโน
ใน พ.ศ. 2514 เกิดหัวข้อทางด้านภาษาขึ้นอีกคร้งหนึ่ง ทำให้เปลี่ยนชื่อภาษประจำชาติจากภาาปิลิปีโนเป็นภาษาฟิลิปีโน โดยภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาที่ผสมลักษณะของภาษาตากาล็อกสำเนยงลูชอนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
ภาษาตากาล็อกถูกประกาศให้เป็นภาษาราชากรเมืองโดยสถาบันไบก์นาบาโตเมือง พ.ศ. 2440 ในพ.ศ. 2478 ได้ยกเลิกการใช้ภาาอังกฤษและภาษาสเปนเป้นภาษาราชาการ และได้พัฒนาภาาาราชการใหม่ขึ้นมา หลังจากการประชุมของถบันภาษาแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน 7 คน จากส่วนต่างๆ ของฟิลิปปินส์ได้เลือกภาษาตากาล็อกใ้เป็นพี้นฐานมาจากภาษาตากาล็อกว่า วีกัง ปัมบันซา (ภาษาประจำชาติ) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป้นภษปิลิปีโน ในปีเดียวกัน
ความต่างของภาษาตากาล็อกและภาษาฟิลิปีโน |
ภาษาฟิลิปปิโน หรือ ภาษาฟิลิปีโน เป้ฯภาษาประจำชาติและภาษาราชการหนึ่งของประเทศฟิลิปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมือ่ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตาการล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป้ฯภาษาฟลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515
เริ่มแรก Balarila ng Wikang Pambansa นำอักษร 20 ตัวที่แสดงเสียงใภาษาตากาล็อก ได้แก่ a b k d e g h i l m n ng (ng ถือเป็นอักษรตัวเดียว) o p r s t u w y สภาบัภาษแห่งชาติเร่ิมภาษาใหม่เมื่อ พ.ศ. 2516 แลพเพิ่มอักษรเป็น 31 ตัวเมือง พ.ศ. 2519 คืออักษร 26 สำหรับภาาอังกฤษ และอักษรจากภาษาสเปนคือñ, ll, rr,และ ch, ng จากภภาษาตากาล็อก ต่อมา พ.ศ. 2530 ตัดอักษร rr,ll,ch ออกไปโดยเหลือเพียง 28 ตัว th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฟิลิปีโน
วันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
Malayu Land
กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย-อินโดนีเซีย-บรูไน ดารุสซาลาม-สิงคโปร์
เป็นกลุ่มประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถื่อศสนาอิสลาม แต่ก็มีประชาชนส่วนหนึ่งนับถื่อศาสนาพุทธ คริสต์ และฮินดุด้วยสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ดังนั้น วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์เป็นสังคมผสมผสานระหว่างจีน-มาเลย์-อินเดีย ดังนั้น จึงมีคตวามหลากหลายของวัฒนธรรม
ดินแดนคาบแหลมมลายู โดยเฉพาะปลายแหลมมลายูนั้นเป้นพื้นที่ส่วนหนึ่งของ อาณาจักรศรีวิชัยมาก่อน บนเกาะสุมาตรานั้นเป็นที่ตั้งของเมืองปาเล็มบัง ซึงเมือหลวงของอาณาจักรศรีวิชัย ได้ลี้ภัยหนีข้าศึก ต่อมาเมืองอาณาจักรศรีวิชัยหมดอำนาจลง จึงลี้ภัยไปอยู่ยังเกาะสิงหปุระหรือสิงคโปร์ในปัจจุบัน อาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) จึงนำกำลังเข้ายึดเมืองไว้ได้
เมืองมะละกามีตำนานเล่าว่า พระปรเมศวร หรือสุลต่าน อิสกันดาร์ซาห์ นั้นได้เสอด็จอพยพจากเมืองมูอาร์ เพื่อล่าสัตว์ โดยติดตามสุนัขล่าเนื้อของพระองค์ได้ไล่ตามกระจงได้ปรากฎว่ากระจงตัวนั้นหันกลับมาอย่างกะทันหัน เข้าต่อสุ้กับสุนัขล่าเนื้อของพระองค์แล้วดีดสุนัขจนหนี พระองค์จึงรัสว่า "ตรงนี้แหละเป้นสถานที่ดี ที่จะสร้างบ้านเมือง ด้วยเหตุที่กระจงมันังหันมาสู้กับสุนัขอย่างสุดฤทธิ์" พระปรเมศวรจึงให้ไพรพลของพระองค์ได้สร้างเมืองขึ้นตรงสถานแห่งนี้ และตั้งชื่อเมืองนี้ดามช่ื่อต้นไม้ที่พระองค์ใช้ยืนประทับอยู่คือ ต้นมะละกา ว่าเมื่องมะละกา..
ต่อมามะละกาก็มีปัญหากับอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) และอาณาจักสยามต่างอ้างสิทธิในการครอบครองคาบสมุทรมลายูและดินแดนมะละกา มะละกาจึงยอมที่จะมีสัมพันธ์ไมตรีกับอาณาจักรสยาม ดดยส่งทาองคำ 40 ออนซื เป็นเครื่องบรรณาการและอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) เพื่อสงบสงคราม โดยมีการส่งข้าวมาให้เมืองมะละกา มะละกาจึงหาโอกาสฟื้นฟูเมืองต่อไป
ต่อมาในปี พ.ศ. 1946 หยินซิง ขันที่ซึ่งเป็นทูตจากจีนนำผ้าไหมมายังมะละกา พระปรเมศวรจึงถือโอกาสขอความช่วยเหลือจาก พระเจ้าเซ็งสูหรือหยุงโล้ จักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง ให้ช่วยป้องกันมิให้อาณาจัการสยามรุกราน ในปี พ.ศ. 1948 ปรเมศวร จึงส่งทุตเมืองมะละกาไปติดตอกับจีน ครั้งนั้นจีนได้รับรองเมือง (เรือสินค้ายอมจ่ายค่าเดินทงผ่าน) ทำให้เมืองมมะละกาเป็นศุย์กลางการต้าขายที่สำคัญ ของคาบสมุทรมลายู เป็นเส้นทางเครื่องเทศจากหมู่เกาะโมลุกกะ ที่จะต้องแวดเมืองท่านี้ ก่อนจะเดินทางไปอินเดียและชวาdooasia.com/thaihistory/h007c005.shtml
ภาษามลายูเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมลายู อยู่ในตระกูลภาษามเลโย-โพลิเนเซียน หรือ ออสโตรเนเซียน เดิมที่ผุ้คนใช้ภาษามลายูจำนวนไม่มาก คือ เป็นภาษาของผุ้คนที่อาศัยอยุ่ในแถบคาบสทุรามลาย หมุ่เกาะเรียว และสุมาตราใช้กัน แต่ประวัติศาสตร์จารึกไว้ว่า ภาาามลายู เป็นภาษาสื่อกลาง ในบริเวณหมู่เกาะมลายูมานานแล้ว อิสมาอิล หามิด สรุปไว้ว่า "ภาษามฃลายู" เร่ิมสร้างประวัติศาสตร์ให้กับตนเองมาตั้งแต่ได้มีการก่อตั้งอาณาจักรมลายูที่เมือง "ฌัมบี" ในสุมาตรา ซึ่งตามหลักฐานจีนบันทึกว่าราชกาณาจักรมลายูฌัมบีนีเคยส่งทูตสันทวไมตรีไปยังพระเจ้ากรุงจีน
ในสมัยที่อาณาจักรศรีวิชันรุ่งเรืองนั้น ภาษามลายูเปนภาษาสื่อกลางในการสอนภาษาสันสกฤตและและสอนปรัชญาทางศาสนาพุทธ และเป็นภาาาสื่อกลางของผุ้คนซึ่งตั้งถิ่นฐานอาศยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู ตลอดจนผู้คนต่างชาติที่ เช่น พวกพ่อค้าจากยุโรป และตะวันออกกลาง รวมทั้งพวกสัญจรไปมาจากอินเดียและจีนด้วย
ภาษามลายูในยุคต้นนั้นได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียและลัทธิฮินดุมาประวัติศาสตร์ได้จารึกว่าศาสนาฮินดูได้ผนวกเข้าไปในสังคมของหมุ่เกาะมลายูตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรมลายูฮินดู ราวคริตศตวรรษที่ 1 และเจริญรุ่งรืองมากที่สุดในราว คริตศตวรรษที่ 4 วัฒณธรรมอินเดียจึงมีอิทธิพลและมีบทบาทต่อวิถีชีวติของชนชาติในอาณาบริเวณหมู่เกาะมลายู ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์ ที่เป็นฮินดูนี้มาก อีกประการคือชนชั้นปกครองนี้นิยมใช้ภาาาสันสกฤตในชีวิตประจำวัน และภาษาสันสกฤตเป็นภาษาคัมภร์พระเวทย์ที่ผุ้นับถื่อศาสนาฮินดูต้องศึกษา จึงทำให้ภาษาสันสกฤตถูกนำไปใช้ในชวิตประจำวันของผู้คนเหล่านั้นอย่างแพร่หลาย และมีอิทธิพลต่อความเปลี่ยนแปลงของบทบาทภาษามลายูต่อมา.. หลังจากตกอยู่ภายใต้การปกครองของชวา ด้วยคุณลักษณะของภาษามลายูที่ง่ายแก่การนำไปใช้ มีโครงสร้างง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อนมากจนเกินไป มีความสะดวกและสามารถนำไปปรับใช้กับภาษาอื่นๆ ได้ดีกว่า จึงทำให้ภาษามลายูมีบทบาทในสังคมของชนชาติที่อาศัยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู แลเพียงเวลาอันสั้นเท่านั้น ภาษามลายูสามารถมีบทบาทเหนือกว่าภาษาชวาและภาษาบาตัก
http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
เมื่ออำนาจของมัชปาหิตเสื่อมลงอิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียก็เสื่อมลง ชนชาติต่างๆ ในหมุ่เกาะมลายูในช่วงนี้อยู่ภายใต้อิทธิพลของกษัตริย์มลายูที่นับถือศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยที่อาณาจักรมลายูที่ศุนยกลางอยู่ที่เมืองมะละกา ตั้งแต่คริสตวรรษที่13 นั้น ภาษามลายู เจริญรุ่งเรืองมากที่สุด และในระยะนี้เองที่ศาสนาอิสลามได้แผ่ขยายเข้าสู่สังคมของชนชาตในบริเวณคาบสมทุรมลายูอย่างรวดเร็ว จนสามารุเข้าไปแทนทีอิทธิพลของวัฒนธรรมฮินดู-พุทธได้สำเร็จ ผลจากการเข้ามาของศาสนาอิสลามในช่วงนี้ทำให้มีการใช้อักษรอาหรับ (อักษรที่เขียนในพระมหาคัมภีร์กุรอาน) ในการเขียนภาษามลายู ที่เรียกว่า "อักษรยาวี" พร้อมกันนั้นก็รับเอาคำภาษาอาหรับที่ให้ความหมายทางธรรมเนียมอิสลามด้วย และมีที่สำคัญยิ่งคือเป็นช่วงที่ภาษามลายูได้วิวัฒนาการเข้าสู่ระดับภาษาแห่งวรรณกรรม และมีความเป็นภาษาศิลป์(วรรณกรรมมลายูเรพ่มมีการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกหลังคริสตวรรษที่ 14)
ความสัมพันธ์ของโลกมลายูและโลกอาหรับ
ด้านวัฒนธรรม ก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเข้ามามีบทบาทในแหลมมลายูปลายศตวรรษที่ 13 นั้น ภูมิภาคแห่งนี้ตกอยุ่ใต้อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพุทธ มาก่อน ปัจจุบันร่อยรอยอิทธิพลของศาสนาเหล่านั้นยังพอม่ให้เห็นอยู่มาก ผลจากการเข้ามาของศาสนอิสลามนั้น ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแผลงของสังคมมลายูในหลายๆ ด้าน เช่นการตั้งชื่อของชาวมุสลิม ส่วนใหญ่ใช้ชื่อภาษาอาหรับ อันเป็นชื่อของบรรดาศาสนทูต ของพรเจ้า หรือบุคคลที่มีชื่อเสีย กาแต่งกายก็เช่นเดียวกน ได้รับอทธิพลมาจากอาหรับ เช่นชุดโตป (ชุดยาว) สำหรับผุ้ชาย และชุดญบะฮ์ (ชุดยาว) สำหรับผุ้หญิง
ในด้านความเชื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงจากความเชื่อในสิ่งศักดิ์ิทธิ บูชาบรรพบุรุษและภูตผี ปีศาจ มาสู่การศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว และที่สำคัญประการหนึ่งของอิทธิพลศาสนาอิสลามต่อโลกมลายู คือ ภาษาอาหรับ อันเป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน ซึ่งเป็นคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม ภาษามลายูจึงหยิบยืมตัวอักษรอาหรับและพัฒนากลายเป็นตัวเขียนอักษรยาวี ซึ่งถูกนำมาใช้อย่งกว้างขวางในแหลมมลายู
ความสัมพันธ์ทางด้านภาษา ภาษาอาหรับมีอิทธพลมากในโลกมลายู อันเนื่องมาจากอิทธิพลทางศาสนาดังที่กล่าวมาข้างต้น
อักษรยาวี ภาษามลายูที่ตัวภาษา หรือเนื้อภาษาเท่านั้น ไม่มีตัวเขียนเป็นของตัวเอง จึงต้องอาศยตัวเขียนของภาษาอื่น ในปัจจุบันึงพบว่ามีตัวเขียน หือลักษณะอักษรอยู่ องชนิดคือ ลักษณะที่เป็นอักษรโรมัน เรียกว่า แบบรูมี และลักษณะที่เรียกว่าแบบยาวี คำยืมจากภาษาอาหับ มีอย่างกว้างขวาง ชาวมลายูสวนใหญ่ไม่ได้ใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาแม่ แต่สามารถอ่านภาษาอาหรับที่เป็นภาษาคัมภีร์อัลกุรอ่าน และเอกสารที่เกี่ยวกับศาสนาได้ นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์ทางภาษาทางด้านวรรณกรรม และวรรณคดีอีกด้วยhttp://www.islammore.com/view/1175
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 มลายุตกอยุ่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ นั้นยังใช้ภาษามลายูในการติดต่อราชการ สำหรับพวกเจ้าหน้าที่ต่างชาติที่เข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ดังกล่าวนี้ก็มีการบังคับให้เรียนและจะต้องสอบวิชาาภาษามลายูให้ผ่านก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งด้วย เจ้าหน้าที่เหล่านี้บางคนได้กลายเป็นนักวิชาการและผุ้เชียวชาญทางด้านภาษมลายูในเวลต่อมา
หลังสงครามโลกครั้งีที่ 2 เมื่อเจ้าหน้าที่อังกฤษที่มาจาฝ่ายทหารเข้ามาเป็น "เจ้า" ปกครองแผ่นดินซึ่งปรากฎว่าไม่เพียงแต่ภาษามลายูเท่านั้นที่ถูกทำลาย หากวิถีของผุ้คนในประเทศก็ถุกทำลายด้วยเช่นกัน ภาษามลายูในสมัยั้นมีฐานเป็นเพียงภาษาของชนชั้นต่ำ และใช้เป็นภาษาในการเรียนการสอนเฉพาะในโรงเรียนระดับต้น และโรงเรียนอาหรับส่วนพวกชนชั้นสูงจะใช้ภาษาอังกฤษ และแม้แต่ในรัฐต่างๆ ที่อยู่ในสหพันธรัฐ ก็ใช้ภาาอังกฤษในการติดต่องานราชการด้วยงานวรรณกรรมที่เขียนขึ้นในช่วงนี้จึงเป้ฯผลงายของพวกปัญญาชนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนมลายู หรือโรงเรียนอาหรับ
ในสมันนี้เองภาษามลายุจึงเริ่มมีความสัมพันธ์กับภาษาของชาติตะวันตก โดยมีการยืมคำโปรตุเกส ฮอลันดา และอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีการรับเอาภาาาจีน ทมิฬ อาหรับและเปอร์เซียอีกด้วย...http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
เป็นกลุ่มประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถื่อศสนาอิสลาม แต่ก็มีประชาชนส่วนหนึ่งนับถื่อศาสนาพุทธ คริสต์ และฮินดุด้วยสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ดังนั้น วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์เป็นสังคมผสมผสานระหว่างจีน-มาเลย์-อินเดีย ดังนั้น จึงมีคตวามหลากหลายของวัฒนธรรม
ดินแดนคาบแหลมมลายู โดยเฉพาะปลายแหลมมลายูนั้นเป้นพื้นที่ส่วนหนึ่งของ อาณาจักรศรีวิชัยมาก่อน บนเกาะสุมาตรานั้นเป็นที่ตั้งของเมืองปาเล็มบัง ซึงเมือหลวงของอาณาจักรศรีวิชัย ได้ลี้ภัยหนีข้าศึก ต่อมาเมืองอาณาจักรศรีวิชัยหมดอำนาจลง จึงลี้ภัยไปอยู่ยังเกาะสิงหปุระหรือสิงคโปร์ในปัจจุบัน อาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) จึงนำกำลังเข้ายึดเมืองไว้ได้
มะละกา |
ต่อมามะละกาก็มีปัญหากับอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) และอาณาจักสยามต่างอ้างสิทธิในการครอบครองคาบสมุทรมลายูและดินแดนมะละกา มะละกาจึงยอมที่จะมีสัมพันธ์ไมตรีกับอาณาจักรสยาม ดดยส่งทาองคำ 40 ออนซื เป็นเครื่องบรรณาการและอาณาจักรมัชฌาปาหิต (ชวา) เพื่อสงบสงคราม โดยมีการส่งข้าวมาให้เมืองมะละกา มะละกาจึงหาโอกาสฟื้นฟูเมืองต่อไป
ต่อมาในปี พ.ศ. 1946 หยินซิง ขันที่ซึ่งเป็นทูตจากจีนนำผ้าไหมมายังมะละกา พระปรเมศวรจึงถือโอกาสขอความช่วยเหลือจาก พระเจ้าเซ็งสูหรือหยุงโล้ จักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง ให้ช่วยป้องกันมิให้อาณาจัการสยามรุกราน ในปี พ.ศ. 1948 ปรเมศวร จึงส่งทุตเมืองมะละกาไปติดตอกับจีน ครั้งนั้นจีนได้รับรองเมือง (เรือสินค้ายอมจ่ายค่าเดินทงผ่าน) ทำให้เมืองมมะละกาเป็นศุย์กลางการต้าขายที่สำคัญ ของคาบสมุทรมลายู เป็นเส้นทางเครื่องเทศจากหมู่เกาะโมลุกกะ ที่จะต้องแวดเมืองท่านี้ ก่อนจะเดินทางไปอินเดียและชวาdooasia.com/thaihistory/h007c005.shtml
ภาษามลายูเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมมลายู อยู่ในตระกูลภาษามเลโย-โพลิเนเซียน หรือ ออสโตรเนเซียน เดิมที่ผุ้คนใช้ภาษามลายูจำนวนไม่มาก คือ เป็นภาษาของผุ้คนที่อาศัยอยุ่ในแถบคาบสทุรามลาย หมุ่เกาะเรียว และสุมาตราใช้กัน แต่ประวัติศาสตร์จารึกไว้ว่า ภาาามลายู เป็นภาษาสื่อกลาง ในบริเวณหมู่เกาะมลายูมานานแล้ว อิสมาอิล หามิด สรุปไว้ว่า "ภาษามฃลายู" เร่ิมสร้างประวัติศาสตร์ให้กับตนเองมาตั้งแต่ได้มีการก่อตั้งอาณาจักรมลายูที่เมือง "ฌัมบี" ในสุมาตรา ซึ่งตามหลักฐานจีนบันทึกว่าราชกาณาจักรมลายูฌัมบีนีเคยส่งทูตสันทวไมตรีไปยังพระเจ้ากรุงจีน
ในสมัยที่อาณาจักรศรีวิชันรุ่งเรืองนั้น ภาษามลายูเปนภาษาสื่อกลางในการสอนภาษาสันสกฤตและและสอนปรัชญาทางศาสนาพุทธ และเป็นภาาาสื่อกลางของผุ้คนซึ่งตั้งถิ่นฐานอาศยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู ตลอดจนผู้คนต่างชาติที่ เช่น พวกพ่อค้าจากยุโรป และตะวันออกกลาง รวมทั้งพวกสัญจรไปมาจากอินเดียและจีนด้วย
ภาษามลายูในยุคต้นนั้นได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียและลัทธิฮินดุมาประวัติศาสตร์ได้จารึกว่าศาสนาฮินดูได้ผนวกเข้าไปในสังคมของหมุ่เกาะมลายูตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรมลายูฮินดู ราวคริตศตวรรษที่ 1 และเจริญรุ่งรืองมากที่สุดในราว คริตศตวรรษที่ 4 วัฒณธรรมอินเดียจึงมีอิทธิพลและมีบทบาทต่อวิถีชีวติของชนชาติในอาณาบริเวณหมู่เกาะมลายู ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์ ที่เป็นฮินดูนี้มาก อีกประการคือชนชั้นปกครองนี้นิยมใช้ภาาาสันสกฤตในชีวิตประจำวัน และภาษาสันสกฤตเป็นภาษาคัมภร์พระเวทย์ที่ผุ้นับถื่อศาสนาฮินดูต้องศึกษา จึงทำให้ภาษาสันสกฤตถูกนำไปใช้ในชวิตประจำวันของผู้คนเหล่านั้นอย่างแพร่หลาย และมีอิทธิพลต่อความเปลี่ยนแปลงของบทบาทภาษามลายูต่อมา.. หลังจากตกอยู่ภายใต้การปกครองของชวา ด้วยคุณลักษณะของภาษามลายูที่ง่ายแก่การนำไปใช้ มีโครงสร้างง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อนมากจนเกินไป มีความสะดวกและสามารถนำไปปรับใช้กับภาษาอื่นๆ ได้ดีกว่า จึงทำให้ภาษามลายูมีบทบาทในสังคมของชนชาติที่อาศัยอยุ่ในบริเวณหมุ่เกาะมลายู แลเพียงเวลาอันสั้นเท่านั้น ภาษามลายูสามารถมีบทบาทเหนือกว่าภาษาชวาและภาษาบาตัก
http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
อาณาจักรศรีวิชัย |
ความสัมพันธ์ของโลกมลายูและโลกอาหรับ
ด้านวัฒนธรรม ก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเข้ามามีบทบาทในแหลมมลายูปลายศตวรรษที่ 13 นั้น ภูมิภาคแห่งนี้ตกอยุ่ใต้อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพุทธ มาก่อน ปัจจุบันร่อยรอยอิทธิพลของศาสนาเหล่านั้นยังพอม่ให้เห็นอยู่มาก ผลจากการเข้ามาของศาสนอิสลามนั้น ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแผลงของสังคมมลายูในหลายๆ ด้าน เช่นการตั้งชื่อของชาวมุสลิม ส่วนใหญ่ใช้ชื่อภาษาอาหรับ อันเป็นชื่อของบรรดาศาสนทูต ของพรเจ้า หรือบุคคลที่มีชื่อเสีย กาแต่งกายก็เช่นเดียวกน ได้รับอทธิพลมาจากอาหรับ เช่นชุดโตป (ชุดยาว) สำหรับผุ้ชาย และชุดญบะฮ์ (ชุดยาว) สำหรับผุ้หญิง
ในด้านความเชื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงจากความเชื่อในสิ่งศักดิ์ิทธิ บูชาบรรพบุรุษและภูตผี ปีศาจ มาสู่การศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว และที่สำคัญประการหนึ่งของอิทธิพลศาสนาอิสลามต่อโลกมลายู คือ ภาษาอาหรับ อันเป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน ซึ่งเป็นคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม ภาษามลายูจึงหยิบยืมตัวอักษรอาหรับและพัฒนากลายเป็นตัวเขียนอักษรยาวี ซึ่งถูกนำมาใช้อย่งกว้างขวางในแหลมมลายู
ความสัมพันธ์ทางด้านภาษา ภาษาอาหรับมีอิทธพลมากในโลกมลายู อันเนื่องมาจากอิทธิพลทางศาสนาดังที่กล่าวมาข้างต้น
ต้นมะละกา หรือ มะขามป้อม |
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 มลายุตกอยุ่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ นั้นยังใช้ภาษามลายูในการติดต่อราชการ สำหรับพวกเจ้าหน้าที่ต่างชาติที่เข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ดังกล่าวนี้ก็มีการบังคับให้เรียนและจะต้องสอบวิชาาภาษามลายูให้ผ่านก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งด้วย เจ้าหน้าที่เหล่านี้บางคนได้กลายเป็นนักวิชาการและผุ้เชียวชาญทางด้านภาษมลายูในเวลต่อมา
หลังสงครามโลกครั้งีที่ 2 เมื่อเจ้าหน้าที่อังกฤษที่มาจาฝ่ายทหารเข้ามาเป็น "เจ้า" ปกครองแผ่นดินซึ่งปรากฎว่าไม่เพียงแต่ภาษามลายูเท่านั้นที่ถูกทำลาย หากวิถีของผุ้คนในประเทศก็ถุกทำลายด้วยเช่นกัน ภาษามลายูในสมัยั้นมีฐานเป็นเพียงภาษาของชนชั้นต่ำ และใช้เป็นภาษาในการเรียนการสอนเฉพาะในโรงเรียนระดับต้น และโรงเรียนอาหรับส่วนพวกชนชั้นสูงจะใช้ภาษาอังกฤษ และแม้แต่ในรัฐต่างๆ ที่อยู่ในสหพันธรัฐ ก็ใช้ภาาอังกฤษในการติดต่องานราชการด้วยงานวรรณกรรมที่เขียนขึ้นในช่วงนี้จึงเป้ฯผลงายของพวกปัญญาชนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนมลายู หรือโรงเรียนอาหรับ
ในสมันนี้เองภาษามลายุจึงเริ่มมีความสัมพันธ์กับภาษาของชาติตะวันตก โดยมีการยืมคำโปรตุเกส ฮอลันดา และอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีการรับเอาภาาาจีน ทมิฬ อาหรับและเปอร์เซียอีกด้วย...http://bahasatsu.blogspot.com/2009/06/sejarah-bahasa-melayu.html
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...