ในปัจจุบันการสื่อสารรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โซเชียล เนตเวิร์ค หรือ "เครือข่ายสังคมออนไลน์" ได้เข้ามาแทนที่สื่อสารรูปแบบเก่าในปัจจุบัน โดยเฉพาะกับคนยุค Gen y (คนที่เกิดปี 80's) ที่ติดตามเพื่อฝูงจากอีกฟากฝั่งของโลกอย่างใกล้ชิดใน Facebook จากหน้าจอโทรศัพม์มือถือ ตามข่าวสารที่กระชับและรวมเร็วจาก Twitter แสดงความเห็นผ่าน Blog และ You Tube สนุกกับ Google+ ของเล่นชิ้นใหม่ และจับตาดุ Microsoft ว่าจะเขช้ามาสุ้เจ้าของตลาดเดิมได้หรือไม่
อิทธิพลของ โซเชียล เนตเวิร์ค ขยายไปทั่วโลก แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือ การเจริญเติบโตของเครื่อข่ายสังคมออนไลน์ ในประเทศอาเซียนที่ได้กลายมาเป็นปรากฎการณืสำคัญ 7 ประการ ที่ทำให้โลกโซเชียล ไม่ได้เป็นแค่ "ของเล่น" ของคนยุคใหม่เท่านั้น
ปรากฎการที่ 1 ไม่ต่ำกว่า 16% ของชาวอาเซียนใช้ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
เมื่อเดือนมีนาคม 2553 เว็บไซต์ อย่าง Facebook ก็ขึ้นแซงหน้าเสิร์ชเอ็นจิ้น อย่าง Google ในฐานะเว็บไซต์ยอดนิยมอันดับหนึ่งของโลกได้สำเร็จซึ่งหมายความว่า ทุกวันนี้คนลนดฃกออนไลฃน์รับข้อมุลต่างๆ จาก โซเชียลเน็ตเวิร์ค มากกว่าการต้รคว้าเว็บไซต์ สิ่งที่น่าสนใจ คือ ประเทศที่มีผุ้ใช้ เฟสบุ๊คมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐฯ นั้นคือ ประเทศอินโดนีเซีย มีผุ้ใช้เฟสบุ๊คกว่า 39 ล้านคน ขณะที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีผุ้ใช้เยอะไม่แพ้กัน ฟิลิปปินส์ 25 ล้าคน มาเลเซีย 11 ล้านคน และไทย 10 ล้านคน
ปัจจุบัน อาเซียนมีผุ้ใช้ เฟสบุ๊ค รวมถึง 92 ล้านคน หรือราว 16% ของประชากรในอาเซียน และยังไม่นับรวม โซเชียลเน็ตเวิร์คอื่นๆ ที่กำลังมาเแรงพร้อมๆ กับตลาดสมาร์ทโฟนที่เติบโตอย่างรวดเร็วในภุมิภาคนี้
ปรากฎการณ์ที่ 2 จากแหลงข้อมูลชั้นยอดของโซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เปลี่ยนวิะีการเสพข่าวสารของประชาชน กลาเป็นการเสพข่าวจาก "สื่อใหม่" ที่รวมเร็วกว่าในแบบ real time จากผุ้สื่อข่าวที่ดดยปกติแล้วจะต้องรอ air time ที่จะปรากฎตัวในส่อกระแสหลัก
นอกจากนี้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ยังได้ให้กำเนิดสิ่งที่เรียกว่า Citizen Journalism หรือการที่บุคคลธรรมดาได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นนักข่าว ดดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่กิดวกฤตต่างๆ เมื่อพวกเขาเลห่านั้นได้นำเสนอข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิ ด้วยตนเองข้อมุลจากแหล่งข่าวปฐมภูมิเหล่านี้ ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลงวิธีการเสพข่าวสารของชาวอาเซียนเท่านั้น แต่ข้อมูล พร้อมหลักฐาน อาทิ ภาพถ่ายจากเหตุการณ์จริง ได้ส่งผลมากต่อการรับรุ้ข้อเท็จจริงของคนในสังคม ซึ่งทำให้การปกปิด (เซ็นเซอร์สื่อกระแสหลัก อาทิ โดยรัฐบาลหรือผุ้ทรงอิทธิพลป ไม่มีผลอีกต่อไป
ปรากฎการณ์ที่ 3 ปฏิวัติการโฆษณาและการหาเสียง
สิ่งที่ทำให้โซเชียล เน็ตเวิร์ค แตกต่างจากส่อโดยทั่วไป คือ เป็นการ "สื่อสารสองทาง" และทำให้เกิดปรากฎการณ์ไวรับ หรือ "ปากต่อปาก" " ในดลกดิจิตอล ซึ่งกลายเป็นเครื่องมืออันล้ำค่าไๆม่เพียงแต่กับนักการตลาด แต่ยังรวมถึง นักการเมืองอีกด้วย
อดีตประธารนาธิบดี บารัค โอบามา เป็นผู้แรกที่ริเร่ิมการใช้ ทวิตเตอร์ ในการหาเสียงจนชนะการเลือกตั้ง ในอาเซียนตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ในการเลือกตั้งของสิงคโปร์ที่ผ่านมา ซึ่ง โซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้เข้ามามีบทบาทมากในการสูญเสียที่นังนสภาของพรรครัฐบาล และที่เป็นที่กล่าวถึงกันมากคือ นิโคล เซียฮ ผุ้สมัครหน้าใหม่วัย 24 ปี ซึ่งแม้จะแพ้การเลือกตั้ง แต่ แฟนเพจของเธอในเฟสบุค มีคนสนับสนุนทะลุ 1 แสน "Like"แซงหน้า แฟนเพจของผุ้ทรงคุณวุฒิในประเทศเรียบร้อยแล้ว
สำหรับในไทย ปัจจุบันกฎหมายได้ระบุห้ามหาเสียงเลือกตั้งโดยใช้สื่อโฆษณาไทรทัศน์ ส่งผลให้นักการเมืองหันมาใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ค กันอย่งล้นหลามในการเลือกตั้งที่ผ่านมา โดยเฉพาะทาง ทิวตเตอร์ และยูทูป ซึ่งโฆษณาพรรคการเมืองบางชิ้นมีคนรับชมไปแล้วกว่า 1 แสนครั้ง
เมื่อปี 2007 มีนักสถิติผุ้อยุ่เบื้องหลังความสำเร็จของนักการเมืองอเมริกันหายคน เขียนหนังสือเล่มหนึ่งโดยมีทฤษฎีว่า โลกปัจจุบันมีเทรนด์เล็กน้อยเกิดขึ้นมากมาย และเทรนด์เหล่านี้เป็นตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนของโลก หากนักการเมืองสามารถระบุเทรดน์เหล่านี้ได้ ก็จะสามารถชนะการเลือกตั้งได้ไม่ยาก เขาระบุว่าที่มาสำคัญของเทรนด์เหล่านี้คือ โซเชียลเน็ตเวิร์ค
ปรากำการณ์ที่ 4 อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยแห่งใหม่
แม้คนส่วนใหญ่มักจะเชื่อว่า ผุ้ใช้โซเชียล เน็ตเวิร์คส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชน แต่ที่จริงแล้วราวๆ 4 ใน 5 ของผุ้ใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์คในอาเซียนนเป็นผุ้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งหมายความว่า โซเชียลเน๊ตเวิร์ค อาจมีผลต่อความคิดทางการเมือง ทัศนาคติทางสังคมของผุ้มีสิทธิ์เลือกตั้งกว่า 12% ในอาเซียน
คะแนนนิยมในโลกออนไลน์จึงไม่ได้จำกัดอยู่ในโลกออนไลน์เท่านั้น โซเลียลเน๊ตเวิร์คได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการหล่อหลอมความคิด รวบรวมผุ้ที่คิดเห็นตรงกัน และเป็นเครื่องมือสำคัญในการนัดหมาย หรือ "ชุมนุม" ของประชาชนที่ "เคอร์ฟิง" ใดๆ ไม่มีผลเมื่อใดก็ตามที่แนวคิดเล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้ซึ่งเป็น ไมโครเทรนด์ ได้รวมตัวกันใหญ่ขึ้นกลายมาเปิ็น "เมกกะเทรน" ก็อาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญทางการเมืองครั้งสำคัญได้ ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดคือ เหตุการณืลุกฮืของประชาชนที่เกิดขึ้นในตะวันออกกลางที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามใช่ว่า โซเชียลเน็ตเวิร์คจะมีเสรีภาพซะทุกอย่าง นอกจากการบล็อคเว็บไซต์ เองแลว "เคอร์ฟิวออนไลน์"สำหรับการจัดตั้งกลุ่มใน โซเชียลที่ "อาจเป็นภัยทางการเมือง" ก็มีอยู่เช่นนดัน เช่น เฟสบุ๊ค ตัดสินใจที่จะนำกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรงต่อต้านอิสราเอลบางหลุ่มออก ซึ่งทำให้ โวเชียล เน็ตเวิร์ค ถูกมองว่า สุดท้ายแล้วก็เป็นเครื่องมือทางการเมืองของรัฐบาลบางประเทศ
ปรากฎการณ์ที่ 5 กุญแจสำคัญของภาคประชาสังคม
โซเชียลฯ เชื่อมโลกเข้าด้วยกันไม่เพียงแค่ในแนวนอน (คนที่อยุ่ในสถรนะทางสังคมเดียวกัน) แต่รวมถึง แนวดิ่ง ซึ่งเป็นการเปิดประตูสู่ผุ้ด้วยโอกาส อาทิ การรวมตัวกันบริจาคสิ่งของให้ผุ้ด้อยโอากส หรือสอนหนังสือเด็กในสลัม ของคนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน โดยมีโซเชียลฯ เป็นสื่อ ซึ่งกิจกรรมแบบนี้ในโลก "ออฟไลน์" จะต้องใช้ทรัพยากรมหาศาล
ในช่วงวิกฤตต่างๆ ที่ผ่านมาในอาเซียนและบ้านใกล้เรือนเคียง ทำให้โซเชียลฯ ด้แลายเป็นพระเอกทั้งเรื่องการระดมเงินทุนหรือแรงเพื่อช่วยเหลือได้ทันท่วงที ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณืน้ำท่วมในเมืองไทย พายุถล่มในเมียนมาร์ แผ่นดินไหว แรอืสึนามิในญี่ปุ่นฯ
ปรากฎการณืที่สำคัญอีกย่างคือ การ ไมโคร-ไฟแนนต์ ผ่านเว็บไซต์ ในเน็ตเวิร์ค ที่จับกลุ่มผุ้ให้กุ้" และ "ผู้กู้" มาเจอกัน เพื่อช่วยคนอีกซึกหนึ่งของมุมโลก โดยไม่ต้องรอพึ่งรัฐบาล องคก์การระหว่างประเทศ หรือกระทั่งองค์กรการกุศลต่างๆ
ในฟิลิปปินส์มีตังอย่างการประสบความสำเร็จของหญิงสาวชาวบ้านคนหนึ่งที่กุ้ยืมเงินแบบ ไมโคร-ไฟแนนต์ จากผุ้จนใน เน็ตเวิร์ค ไปลงทุนในธุรกิจทำถงช้อปปิ้งจากวัศดุรีไซเคิล เพื่อซื้อเครื่องจักร เธอจ่ายคืนและกุ้ใหม่เพื่อซื้อเครื่องจักรรีโซเคิล เพื่อขยายกิจการ จนกระทั่งธุรกิจของเธอสามารถยืนบนลำแข้งตัวเองได้กี โดยเร่ิมต้นด้วยเงินกู้จาคนแปลกหน้า แม้ว่า ดิจิตอล เดวิด จะเป็นประเด็นสำคญในเวทีโลก และเป็นหนึ่งในปัญหาหลักของอาเซียน แต่ โซเชียล เน็ตเวิร์ค ก็ได้เข้ามามีบทบาทในการลด "ช่องว่าง" ให้กับคนบางกลุ่มในสังคม และได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญของภาคประชาสังคม ในอาเวียน ภาคประชาสังคม ในที่นี้ไม่ได้หมายคึวามเพียงองค์กรการกุศลที่จะทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงกลุ่มคนที่เป็นประชาชนธรรมดาที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงสังคม ด้วยพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ ขงงตน และช่วยขับเคลื่อนอาเซียนไปข้าหน้าอย่างช้าๆ
ปรากฎการณืที่ 6 ปฏิวัติการทูตสาธารณะ แต่เดิมนั้นถุกจำกัดอยู่แค่ "การใช้สื่อกระแสหลักผสื่อสารทางเดียว) " โดยการสื่อสารสองทางเป็นไปได้ในกรณีของการจัดคณะสัญจร ซึ่งส้ินเปลื่องเวลาและงบประมาณมหาศาล
โซเชียล เน็ตเวิร์ค ได้ให้ทางเลือกตรงกลางระหว่างสองวิธีนี้ ดดยให้ช่องทางรัฐบาลได้ "พบปะกับประชาชน แบบสองทาง โดยผ่านสื่อ" ซึ่งสะดวกรวดเร็ว ประหยัด และสื่อสารได้ในวงกว้าง เป็นการปฏิวัติการทูตสาธารณะไปอย่างสิ้นเชิง ดดยรัฐบาลจะได้ประโยชน์จากเอกลัษณืของสื่อสังคมออนไลฯ์ ซึ่งต่างจากสื่อทั่วไป คือไม่ใช่การสื่อสารทางเดียวในลักษระป้อนขช้อมุล (หรือที่เรียกในทางบลว่า การโฆษณชาวเชื่อ)
ตรงกันข้าม โซเชียล เน็ตเวิร์ค ทำให้รัฐบาลมีช่องทางในการโต้ตอลและน้อมรับความคิดเห็นของประชาชน เปลี่ยนจากการใช้สื่อเพียนงแค่ "การส่งข่าวสารของรัฐ" กลายเป็น "การสร้างความไว้วางใจ" ในแบบที่ผุ้เสพไม่รุ้ตัว โดยอาศัยการสื่อสารถึงความรู้สึกของความเป็นมนุษย์ทืี่อยู่เบื้องหลังองค์กรนั้นๆ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนและสื่อผุ้ทรงอิทธพลเกิดความเข้าใจและเห็นใจองค์กร เป็นการผูกมิตร กับประชาชน ที่จะสร้างอิทธิพลให้กับหน่วยงานอย่างยั่งยืน
แม้ว่าในอาเซียน การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาธารณะอาจจะยังไม่สามารถเรียกเต็มปกาเต็มคำได้ว่า เป็นการ "ปฏิวัติฎ กต่หลายประเทศในอาเซียนได้เร่ิมใช้ โซเชียล เป็นช่องทางสำหรบการทูตสาธารณะแล้วเช่นกัน ความสำเร็จของการใช้ โซเชียล ในการทูตสาธารณะ ขึ้นอยู่กับความเข้าใจธรรมชิติของ โซเชียล เน็ตเวิร์ค เพื่อให้เกิดประโยชน์สุงสุด ผู้ใช้จะต้องไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิมๆ มเิช่นันแล้ว การใช้ โซเชียลฯ ในการทูตสาะารณะที่ว่าก็จะไม่ต่างจาก "โฆษณฯาชวนเชื่อ แบบเดิม..
ปรากฏการที่ 7 ช่ยส่งเสริม People-Center ASEAN ซึ่งยังไม่ไดด้เกิดขึ้นจริงเท่าใดนัก แต่อาเซียนก้มีศักยภาพที่จะสามารถผลึกดันต่อไปได้นั้นคือ การใช้โซเชียล เป้ฯเครื่องมือในการผลักดันอาเซียนให้กลายเป็น พีเพิล เซนเตอร์ อาเซียน อย่างเต็มตัว เพื่อมุ่งไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน..
อย่างไรก็ดี ก็ได้มีจุดเริ่มต้นในการช้สื่อโปรโมทความเป็ฯ "ประชาคมอาเซียน" ทั้งสื่อกระแสหลัก และการใช้ โซเชียล เน็ตเวิร์ด ซึ่งอาจจะยังไม่แพร่หลายนัก ของสำนักเลขาธิการอาเซียน และ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบัน...นอกจากการส่งเสริมอัตลักษณ์ของความเป็น "ประชาคมอาเซียน" แล้ว โซเชียลฯ ยังสามาถใช้ช่วยในกาแก้ปัญหาต่างๆ ในอาเวียนได้โดยอาศัยการให้ "คน" เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาอย่งถูกจุด ทั้งนี้ โซเชียลเน็ตเวิร์คเปรียบเสมือนฐานข้อมูลพลวัติ ขั้นยอด...
www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121204-123333-720587.pdf
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น