วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education System II

              ความร่วมมือด้านการศึกษาเป้นส่วนหนึ่งของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเวยน เมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษาา ครั้งแรกในช่วงเดือนตุลาคม 2518
              พม่าหรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กรุงเนปิดอว์ ประชากรประมาณ 55.7 ล้านคน เป็ฯประเทศกำลังพัฒนาที่รายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ในเกณฑ์ต่ำ การเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพหลักของคนพม่า
               หน่วยงานจัดการศึกษาขงพม่า คือ กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาของพม่า รัฐเป้นผุ้สนับสนุนด้านงบประมาณของทุกโรงเรียนโดยนักเรียนจะเสียค่าเล่าเรียนเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตาอนปลายเท่านันระบบการศึกษาแต่เดิมนั้นเป้ฯระบบบริหารซึ่งรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลางต่อมาได้มีการกระจายอำนาจการบริหารออกไปสู่ระดับรัฐและหัวเมืองต่างๆ โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษาเป้นผุ้ควบคุมดูและและประสานงานระบบ
             การศึกษาของพม่า เป้ฯระบบ 5+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 5-9 แบ่งได้เป็น
             1. ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 5 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็ฯการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
             2. ระดับมัธยมศึกษา
                         2.1) ระดับมัธยมศึกษาตานต้น เป้ฯช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 10-13 ปี
                          2.2) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป้ฯชวงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาเรียน 2 ปี  ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 14-15 ปี
            3. ระดับอาชีวศึกษา การศึกษาในระดับนี้ใช้เวลา 1-3 ปี
            4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี
           
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของพม่านั้น พม่าพยายามที่จะจัดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศแต่ยังมีปัญหาาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสุดุและอุกรณ์ให้กับโรงเรียนในบางท้องที่ได้ รัฐบาลพม่าได้ตั้งเป้าหมาย ที่จะให้มีโรงเรียนอย่างน้อยหึ่งแห่งในทุกมู่บ้าน กรมการเทคโนโลยี เกษตรและอาชีีวศึกษา เป้นหน่วยงานที่ดุแลจัดการศึกษาด้านเกษตรกรรม พณิชยกรรม วิศวกรรมเครื่องกล การประมงคหกรรมและการฝึกหันดครู ทางด้านช่วงเทคนิค การเรียน - การสอนมีทั้งเต็มเวลาและนอกเวลา มีทั้งหลักสูตรระยะยาวและระยะสั้น เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงานในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของพม่าที่กำลังเปลี่ยนแปลง
             สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีเมืองหลวงตั้งอยงู่ที่ กรุงมะนิลา มีประชากรประมาณ 107.6 ล้านคน ( 2014) เป็นประเทศเกษตรกรรม แต่มีเนื้อที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกอยุ่อย่างจำกัด จึงทำให้พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยู่บริเวณที่ราบต่ำและเนินเขาที่รปับให้เป้นขชั้นบันได พืชเศรฐกิจสำคัญ คือ มะพร้าว อ้อย ป่านอบากา และข้าวเจ้า นอกจากนี้ยังมีแร่ส่งออกที่สำคัญ คือ เลห็กโครไมต์ ทองแดง เงิน มีภาษาฟิลิปปิโน และ ภาษาอังกฤษเป็ฯภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
              หน่วยงานจัดการศึกษาของฟิลิปปินส์ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ทีทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยการศึกษาแบบที่เป็นทางการนั้นมีลำดับขั้นตอนของ
การเรียนอยุ่สามระดับนั่น คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาแบบเป็นทางการฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี จากอายุ 5-17 ปี แบ่งได้เป็น
             1 ระดับปฐมวัย ในระดับประถมศึกาานั้นจะใช้เวลาศึกษาภาคบังคัย 6 ปี ที่โรงเรียนของรัฐบาลหรือ 7 ปี ในโงเรียนของเอกชนนอกเหนือ จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยซึงนักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ โดยการศึกษาระดับนี้รวมไปถึงการเรียนชั้นอนุบาลและอาจเป็นหลักสูตรเตรียมประถมศึกษาก็ได้ นักเรียนที่มีอายุระหว่าง 3-4 ปีจะเข้าเรียนในสถานรับเลื้องเด็กก่อนวัยเรียนจนกระทั่งมีอายุครอบ 5-6 ปี จึงจะเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
            2. ระดับมัธยมึกษา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาใช้เวลา 4 ปี โดยนักเรียนต้องเรียนจบชั้นประถมึกษาตอนปลายก่อน นักเรียนส่วนใหญ่ที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาจะมีอายุ 12 ปี และเรียนจบเมื่ออายุ 15 ปี การเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
           3 ระดับอาชีวศึกษา รวมไปถึงหลักสูตรอาชีวศึกษา 2-3 ปีที่อาจไม่มีการมอบปริญญาได้ จะดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ด้านการพัฒนาทักษระและการศึกาาาด้านเทคนิคซึ่งยังมีหน้าที่ปบฒนิเทศ ให้การฝึกอบรมและการพัฒนาด้านทักษะอาชพแก่เยาวชนที่ไม่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนและผุ้ใหญ่ที่ว่งงาน
           4 ระดับอุดศึกษา ระดับอุดมศึกษานั้น นักเรียนส่วนใหญ่จะมีอายุประมาณ 16 ปี การศึกษาระดับนี้แบ่งเป็นระดับปรญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกในหลากลายสาขาวิชา
            ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ใกล้เคียงกับระบบการศึกษาแบบเป็นทางการของสหรัฐอเมริกาในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวิปเอเชียมักจะได้รับอทธิพลจากประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเนเธอร์แลนด์การศึกษาแบบไม่เป็นทางการซึ่งรวมถึงการรับความรู้นอกโรงเรียนันมีัตถุประสงค์หลักสำหรับผุ้รียนกลุ่มเฉพาะ เช่น เยาวชนหรือผุ้ใหญที่ไม่สามารถเข้าเรียต่อที่ดรเรียนหรือมหาวิทยาลัยได้
           การจัดการศึกษาแบบไม่เป็นทางการ หือนอกระบบโรงเรีย ได้แก่ หลักูตรการศ฿กษาผุ้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือจอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษาบางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาตากาล็อก
             สาธารณรัฐสิงคโปร์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ มีเมืองหลวงช่อเดียวกับประเทศที่ประชกรประมาณ 5.6 ล้านคน (2014) เป็นประเทศที่มีพื้นที่จำกัดและมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอยู่น้อย สินค้าส่งออกที่สำคัญจึงเป็นพวกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกร์และสวนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป แยงวงจรไฟฟ้า และสวนประกอบอากาศยานและอุปกรณืการบิน ส่วนสินค้านำเข้าที่สำคัญก็จะเป็นพวก พลังงาน อาหาร และวัตถถุดิบในงานอุตสาหรรม
           
หน่วงานจัดการศึกษาของสิงคโปร์ คือ กระทรวงศึกาธิการรัฐบาลสิคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก โดยถือว่าประชาชนเป้ฯทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุอขงประเทศ รัฐบาลได้ให้การอุดหนุนด้านการศึกษาจนเสมือนกับเป้ฯการศึกษาแบบให้เปล่า โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาล้วนเป็นโรงเรียนของรัฐบาลหรือกึ่งรัฐบาลสถานศึกาาของเอกชนในสิงคโป์ มีเฉพาะในระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษาควบคู่กันไป ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี ดังนี้
            1. ระดับปฐมวัย ใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรยนเมื่ออายุ 6 ปี การเลื่อเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบ เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาต่อไป ผลการเข้าสอบมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกาาต่อในระดับมัธยมศึกษา
            2 ระดับมธยมศึกษา ระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุ นักเรียนอยู่ระหว่าง 12-15 ปี กาศึกาในระดับมธยมึกาานั้น จะมี 3 หลักาุตรให้เลือกตามความสามารถและความสนใจ โดยใช้เวลา 4-5 ปี ด้แก หลักสูตรพิเศษ หลักสูตรเร่งรัด หลักสูตรปกติ เมื่อจบหลักสุตรจะมีการสอบโดยหลักสูตรพิเศษ และหลักสูตรเร่งรัดจะต้องผ่านประกาศนียลัตร GCB ในระดับ "O" Level ส่วนหลักสูตรปกติจะต้องผ่าน GCB "N" Level แต่ถ้าต้องศึกษาต่อในระดับเตรียมอุดมศึกาา ก็ต้องสอบให้ผ่าน GCB "O" Level เช่นเดียวกัน
           3 ระดับหลังมัธยมศึกษา
                   3.1) ระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษา ผุ้ที่จะเรียนตอในมหาวิทยาลัยก็จะเข้าศึกษาต่อใน จูเนียร์ คอลเลจ อีก 2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอบ GCE "A" Level เพื่อนำผลคะแนไปตัดสินการเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย จะต้องศึกษาขั้นเตรียมมหาิวทิยาลัยอีก 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 16-17 ปี
                   3.2) ระดับอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค ของสิงคโปร์มี 4 แห่ง ส่วนวิทยาัยผลิตครูของสิงคโปร์มีอยูเพียงแห่งเดียว นอกจากนี้ ยังมี สถาบันที่จัดการศึกษาสำหรับผุ้ตอ้งการทักษระทางช่าง และช่างฝีมือ
          4. ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยในสิงคโปร์มี 3 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะให้การศึกษาครอลคลุมเกือบทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี นานยาง จะเนนการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทัี้งวทิยาาสตร์ประยุกต์์ และสาขาธุรกิจ และการบัญชี และ มหววิทยาลัการจัดการ สิงคโปร์ เน้นเรื่องธุรกิจการจัดการ
              ประเทศไทย หน่วยงานจัดการศึกษาของไทย คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) 2545 มีการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแยวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจาการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอน ฉะนั้นแนวทางใหใาคือ สถานศึกาษสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรุ้ที่ 3 รูปแบบ
             ระบบการศึกษาของไทย เป็น ระบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
             1. ระดับปฐมวัย ระดับปรถมศึกษาใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับใน เกระ 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษา เมื่อต้องการจะเลื่อนเกรดเพื่อสึกษาต่อในระดับถัดไปในระดับปฐมวัย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จะต้องได้รับการทดสอบ O-NET
             2. ระดับมัธยมศึกษา
                     2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกาาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยูระหว่าง 12-14 ปี
                     2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกาา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี โดยหากนักเรียนต้องการจะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจำเป้นต้องได้รบการทดสอบ GAT และ PAT
         
3. ระดับอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
            4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี ระดับต่ำหล่าปริญญาและระดับปรญญา การใช้คำว่า "อุดมศึกษา"แทนคำว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
           สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
           เวียดนามหรือชื่อทางการว่า สาธารณะรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ กรุงฮานอย ประชากรประมาณ 93.4 ล้านคน (2014)
           หน่วยการจัดการศึกษาของเวียดนาม คือ กระทรวงศึกษาธิการและฝึกอบรม ระบบการศึกษาของเวียดนาม มีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประชาชนได้มีจิตวิญญาณในความเป้นสังคมนิยมมีเอกลัษณ์ประจำชาติและมีความสามารถ ในด้านอาชีพ ในปี พ.ศ. 2534 สภาแห่งชาติของเวยดนามได้ออกกฎหมายการกระจายการศึกษรระดับประถมศึกษา ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกว่าด้วยการศึกษาของเวียดนาม ระบบการศึกษาของเวียดนาม เป้ฯระบบ 5+4+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
           ระดับปฐมวัย ระดับประภมศึกษาใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่อายุ 6 ปี การศึกษาในะระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสสู่ระบบการศึกษา
           2 ระดับมัธยมศึกษา
                   2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นช่วงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 11-14 ปี
                   2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้ฯการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี
            3. ระดับอาชีวศึกษา มีเทียบเคียงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
            4. ระดับอุดมศึกาาแบงเป็นระดับอนุปรญญาและระดับปรญญา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาต่อเนื่องเป็นการศึกษาสำหรับประชาชนที่พลาดโอกาศการศึกษาในระบบสายสามัญและสายอาชีพ..http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...