ASEAN Education System

            ความร่วมมือด้านการศึกษาเป็นส่วนหนึีงของความร่วมมือเฉพาะดานของอาเซียน โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเซียนเมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษา ครั้งแรกในช่วงเดือนตุลาคม 2518
            ความสำคัญของการศึกษาในการขัดเคลื่อนประชาคมอาเวยนเป็นกลไกสำคัญในการนำอาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 โดยกำหนดให้อาเซียนมีวิสัยทัศน์สู่ภายนอก มีสันติสุข แลละมีการเชือมโยงเข้าด้วยกันในการเป็นหุ้นส่วนในสิ่งแวดล้อมของประชาธิปไตยและอยุ่ร่วมกันอย่างกลมกลืน กรพัฒนาที่มีพลวัตรและการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดและในสังคมที่เอื้ออาทรที่ระลึกถภึงสายสัมพันธ์แน่นแฟ้นทางประวัติศาสตร์ ตระกนักถึงความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมที่มีร่วมกันและเชื่อมโยงในอัตลักษณ์ของภูมิภาค
          เพื่อเป็ฯการสร้างความเข้าใจระบบการศึกษาของแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเซียน งานวิเทศสัมพันธ์ได้รวบรวมข้อมูลทางด้านการศึกษาของ 10 ประเทศในอาเซียน ดังนี้
           บรูไน ดารุสซาลาม
            หน่วยงานจัดการศึกษาของบรูไน คือ กระทรวงศึกษาธิการ โดยจะไม่มีการจัดการศึกษาภาคบังคับ แต่มีการจัดการศึกษราให้กับเด็กทุกคนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ยกเว้นโรเรียนสอนศาสนาซึ่งจะถูกควบคุมโดย กระทรวงกิจการศาสนา
         
  ระบบการศึกษาของบรูไน มีระบบการศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัดการศึษาสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจาชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
            1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดับปฐมวัยเริ่มต้นจาการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษารดับต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติเพื่อรับประกาศนียบัตรชั้นต้น ในแต่ละช่วงระดับการศึกษา
            2. ระดับมัธยมศึกษา
                    2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงกรศึกษาที่สูงขึ้นมาจาการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 12-14 ปี ผู้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะได้รับประกาศนียบัตร "รูไน BJCE"
                     2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-16 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของบรูไน จะได้รับประกาศนียบัตร " O Level"
           3. ระดับหลังมัธยมศึกษา ผู้ผ่านการศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษาของบรูไนจะได้รับประกาศนียบัตร
                      3.1 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา ประเทศบรูไนมีวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษาส่วนใหญ่สอนทางด้าน พยาบาลศาสตรื การเกาตร และหลักสูตรฝึกหันครูชั้นต้้น ทั้งนี้ระยะเวลาการสอนขึ้นอยุ่กับหลักสูตรของแต่ละวิทยาลัยซึ่งต้องได้รับการรับรองมาตรฐานจากทางรัฐบาล
                       3.2 หลักสูตรเตรียมอุดมศึกาา ครอบคลุมระยะเวลา 2 ปี เป็นหลักสูตรเพื่อเตรียมตัวนักเรียนเข้าสุ่การศึกษาชั้นสูงในระดับมหาวิทยาลัย
           4. ระดับวิทยาลัย สถาบันชั้นสูง และมหาวิทยาลัย หลักสุตรการศึกษาชั้นสูงเหล่านี้จะฝึกนักศึกษาเพื่อเขัาสู่การทำงานที่ต้องใช้ทักษรทางวิชาชีพและวิชาการขึ้นสูง ได้แก่ ประกาศนียบัตรชั้นสุง ปริญญาตรี ปรญญาโท ปริญญาเอก อนุปรัญญา เป็นต้น สถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในบรุไนนั้นมีมไ่ถึง 10 แห่ง มหาวิทยาลัยที่เป็นความภาคภูมิใจของคนบรูไนและเป้นหนึ่งในมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียนได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม ซึ่งเปิดการเรียนการสอนในหลักสูตร ที่หลากหลายทั้งวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
              สหราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ กัมพูชา มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงพนมเปญ มีประชากรประมาณ 15.5 ล้านคน ( 2014) โดยขึ้นชื่อเรื่องภาคเกษตรกรรม พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย นอกจากนี้ยังมีกาทำประมง น้ำจืดและป่าไม้ด้วย ส่วนภาคอุตสาหกรรมยังเป้ฯุอตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า เป็นต้น มีภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศษ เวียดนาม จีน และไทย ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
             หน่วยการศึกษาของกัมพุชา คือ กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และการกีฬา ระบอบการจัดการศึกษาของกัมพุชาได้บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศราฐกิจของประเทศซึค่งมัีป้าหมายเืพ่อให้การศึกษาเป็ฯกลไกสำคัญของประเทศในการขจัดความยากจน
               ระบบการศึกษาของกัมพุชา มีโครงสร้างปบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัการศึกษาสามารถแ่บ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจากชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
                1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดัีบปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าุ่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี
                 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 12-14 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัะยมศึกษาตอนต้นของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
                 3. ระดับหลังมัธยมศึกษา
                            3.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-17 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
                             3.2 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เป็นหลักสุตรตั้งแต่ 1 ปี หรือ 3-5 ปี การศึกษาในวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษายังไม่เป็นที่นิยมจากประชาชนประเทศกัมพุชา ส่วนมากเน้นการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเขัาสู่มหาวิทยาลัย
                4. ระดับอุดมศึกษา สภาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในกัมพูชามีจำนวน 88 แห่ง (2010) ประกอบด้วยสถาบันของรัฐ จำนวน 54 แห่ง สถาบันของเอกชนจำนวน 26 แห่ง การจัดการศึกษาะดับอุดมศึกษานี้ บางสถาบันศึกษาอยุ่ภายใต้การกำกับดุแลของกระทรวงเกษตรสาธารณสุขหรือแรงงาน การจัดการศึกษานอกระบบจะเนนการฝึกทักษะ ให้กับประชาชน
                 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ชื่อทางการว่าสาธารณรรัฐอินโดนีเซีย มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงจาการ์ตา มีประชากรประมาณ 253.6 ล้านคน ( 2014)  เป็นประเทศหมุ่กาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยขึ้นชื่อเรื่องทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ แร่ธาตุต่างๆ เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุก และเหล็ก รวมทั้งมีภูมิประเทศที่เอื้อต่อการทำประมงจับสัตว์น้ำและทำเกษตรกรรม โดยปลูกพืชแบบขึ้นบันได มีภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
               
หน่วยงานจัดการศึกษาของอินโดนีเซีย คือ กระทรวงศึกษาธิการแห่งชาติ การจัดการศึกษาของอินโดนีเซียมีรูปแบบการศึกษาที่หลากหลาย ทั้งการศึกษาขึ้นพื้นฐาน การศึกษาด้านอาชีวศึกษา การจัดการศึกษาพิเศษ การศึกษาด้านการสอนศาสนา การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นต้น ระบบการศึกษราของอินโดนีเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคึบังคับ 9 ปี จากอายุ 7-15 ปี มีเป้าหมายเพื่อจัดหาทักษะพื้นฐานในการพัฒนาตนเองในฐานะที่เป็นปัจเจกชน สมาชิกในสังคม ประชากรในประเทศและโลก เท่าๆ กับที่เตรียมก้าวเข้าสู่การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งไปด้เป็น
              1. ระดับปฐมวัย การศึกษรระดับปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 7 ปี ถึง 12 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี จะมีลักษระแตกต่างกัน 2 แบบ คือ โรงเรียนประถมศึกษาแบบทั่วไป และโรงเรียนประถมศึกษาพิเศษสำหรับเด็กพิการ การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ เพื่อรับประกาศนียบัตร
             2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่ง 13-15 ปี มีลักษณะแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษาคือ มีโรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผุ้จบการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 13-15  ปี มีลักษระแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษา คือ ีดรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผู้จบลการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้เวลาเรียน 3 ปี โดยมีรูปแบบของการจัดการศึกษาหลายแบบ เช่น แบบสามัญทั่วไป แบบสามัญวิชาชีพ แบบสามัญทางศาสนร แบบสามัญบริการ และแบบการศึกษาพิเศษ การเลื่อนเกรดจะทดสอบลนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
           3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 16-18 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทอสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
           4. ระดับวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เปิดการเรียนการสอนใน 40 หลักสูตรที่หลากหลายในสาขา เทคโนโลยีและวิศวกรรม สาธารณสุข ศิลปะสารสนเทศเทคโนโลยีและการสื่อสาร อุตสาหกรรมการเกษตร ธุรกิจเกษตร ธุรกิจและการจัดการ
           5. ระดับอุดมศึกษา การศึกษาระดับสูง หรืออุดมศึกษา เป็นการขยายไปจากการศึกษรระดับมัธยมศึกษา ระดับปริญญาตรีใช้เวลาเรียน 3-4 ปี ปริญญาโท 2 ปี และปริญญาเอก 3 ปี สถาบันที่ให้การศึกษาระดับสูงนี้มีลักษระเป็นสถาบันวิชาการ โพลีเทคนิค สถาบันการศึกษาและมหาวิทยาลัย
           สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาง มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ รครเวียงจันทน์ มีประชากร ประมาณ 6.8 ล้านคน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสุ่ทะเล ลาวมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบุรณื โดยมีผืนป่าและพื้นที่ทำการเกษตรขนาดใหญ่รวมทั้งมีแร่ธาตุต่างๆ และยังมีแหล่งน้ำสำหรับผลิตไฟฟ้าส่งออกที่สร้างรายได้ให้ประเทศอย่างมาก มีภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
           หน่วยงานจัการศึกษาของลาว คือ กระทรวงศึกษาธิการล ลาวให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาเศรษบกิจและสังคมของประเทศ ระบบการจัดการศึกษาประกอบด้วย การศึกษาในระดับอนุบาลและก่อนวัยเรยน และการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยุ่ในความดูแและรับผิดชอบของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
            ระบบการศึกษาของลาว มีดครงสร้างแบบ 5+3+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 6-10 ปี แบ่งได้เป็น
            1 ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในประเทศลาวใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมืออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป้นการศึกษาภาคลังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับขั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสูระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 10 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 5 ปี
            2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  เป้นช่วงการศึกษาที่สูขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 11-13 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
         
  3 ระดับมัะยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 14-16 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ ในกรณีได้รับโควตาให้เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือข้อสอบระดับชาติ ในกรณีไม่ได้รับโควต้า
            4 ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค การอุดมศึกษาหรือการศึกษาชั้นสุงรวมถึงการศึกษาด้านเทคนิค อยุ่ในความดุแลและรับผิดชอบของกรมอาชีวและมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้นการศึกษาเฉพาะทางซึ่งอย่ในความดูแลของกระทรวงอื่น โดยเมือเด็กจบการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาแล้ว จะมีการคัดเลือกนักเรียนเพื่อเสนอกระทรวงศึคกษาธิการให้เด็กได้เข้าศึกาาต่อในระดับที่สูงขึ้น มหาวิทยาลัยใช้เวลาศึกษา 4-6 ปี การศึกษาสายอาชีพ ใช้เวบาศึกษา 3 ปี ในวิทยาลัยเทคนิคต่างๆ เช่นทางด้านไฟฟ้า ่ก่อสร้าง บัญชี ป่าไม้ เป็นต้น
             สหพันธรัฐมาเลเซียน มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มีประชากรประมาณ 30 ล้านคน (2014) มีการเติบโตทางเศราฐกิจอย่างต่อเนื่อ เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่มีเศราฐกิจด้าวหน้าแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นรองจากสิงคโปร์ มีภาษามเลย์ หรือมลายู เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
             สถาบันการศึกาาส่วนใหญ่จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการสอน ระบบการเรียนการสอบแบบ ทวินนิ่ง โปรแกรม หรือหลักสูตรปรญญาร่วมระหว่งประเทศ ผุ้เรียนจะได้รับวุฒิปรญญาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับ ซึ่งเป็นระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มประเทสสหราชอาณาจักร อังกฤษ อเมริกา ออสเตรเลีย และแคนาดา หน่วยงานจัดการศึกษาของมาเลีย คือ 1)กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะดูแลการศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยม และระดับเตรียมอุดมศึกษา 2) กระทรวงอุดมศึกษา ดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกาา แบ่งระดับการบริหารเป็น 5 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำเภอ ระดับกลุ่มโรงเรียนและระดับโรงเรียน การบริหารากรศึกษาระดับชาติอยุ่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลกลาง การศึกษาทุกประเภททุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเว้นการศึกษาที่มีลักาณะเป็นการศึกษานอกระบบ จะมีกรมจากกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป้นต้น
         
 ระบบการศึกษาของมาเลเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคัย 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี แบ่งได้เป็น
             1 ระดับเตรียมความพร้อม คือ การศึกษาระดับอนุบาล ที่เป้ฯหลักสุตรเตรยมความพร้อมก่อนการเข้าสู่การศึกษาภาคบังคับ สำหรับเด็อายุ 4-6 ปี ซึ่งจากแผนแม่บทการศึกษามาเลเซีย เร่ิมให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาตั้งแต่ในระดับอนุลบาล ด้วยการกำหนดให้การศึกษาระดับอนุบาล เป็นส่วนหนึ่ของระบบการศึกษาชาติ
              ทั้งนี้ ในปี 2010 กระทรวงศึกษาธิการได้ลงประกาศข่าวของกระทรวงฯ ฉบับที่ 2 ว่า เงื่อนไขในการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนในระดับอุนบาล จะต้องเป็นเด็กสัญชาติมาเลย์เท่านั้น และจะทำการคัดเลือกโดยคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้ัวย ครูใหญ่ ผุ้ช่วยครูใหญ่ ครูผู้สอน ครูผุ้ช่วยและตัวแทนของชุมชนโดยสาเหตุของการจำกัดสัญชาติในการเข้าเรียนระดับอนุบาลนั้น เนื่องมาจากรัฐบาลมีการสนับสนนุเงินช่วยเหลือในการเล่าเรียน ทั้งค่าเล่าเรียน ค่าอาหาร ค่าช่วยเลหืออื่นๆ และค่าธรรมเนียมตะกาฟุล ซึ่งเป็นค่าธรรมเนียมการประกันตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติของมาเลเซีย
            2. ระดับปฐมวัย ระดับประุถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเริ่มเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นกาดรศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
            3. ระดับมัธยมศึกษา เป็นการศึกษาต่อเนื่องจการะดับประถมศึกษาที่มีระยะเวลาในการเียน 5 ปี ซึ่งแบ่งการเรียนออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับ Lower... (from 1-3) และระดับ Upper.. (from 4-6) โดยในระดับ Upper.. นั้นจะแบงออกเป็น 3 สาขาวิชา คือ เนนด้านวิชาการ เน้นเทคนิค และเน้นด้านวิชาชีพ สำหรับนักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค เมื่อจบแล้ว จะต้องสอบผ่านข้อสอบของรัฐ สวนักเรียนในสายวิชาชีพ จะต้องสอบผ่าน SPMV
           หากสำเร็จการศึกษาในระดับนี้ นักรียนจะได้รับวุฒิเที่ยบเท่ากับ วุฒิการศึกษาที่ใช้แบแผนการเรียนการสอนระบบอังกฤและนักเรียนสามารถเลือกได้ว่าจะเรียนต่อในสายวิชาชีพ หรือเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
            4. ระดับหลังมัธยมศึกษาหรือเตรียมอุดมศึกษา หลังจากจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว นักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค และผ่านเกณฑ์การสอบSPM แล้ว จะได้รับการคัดเลือกให้เข้าเรยนต่อในระดับ เตรียมอุดมศึกษาซึค่งแบ่งหลักสุตรออกเป็น 3 สาขา ใช้เวลาเรียน 1-2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอง STPM ที่เที่ยบเท่ากับ 'A' Level ของอังกฤษ ซึ่งเป็นคุณวุฒิที่ได้รัยการทั้งในสภบันอุดมศึกษาในประเทศและต่างประเทศ
           
นอกจากนี้ นักเรียนยังสามารถเลือกเรียนหลักสูตร ที่ต้องสมัครเรียนโดยตรงกับทางสถบัน มีระยะเวลาในการเรียน 1 ปี การเรียนการสอนครอบคลุมความรุ้พื้นฐานในการเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย และเนื่อหาวิชาไม่ซับซ้อน แต่ผลการเรียนในหลักสุตรนี้ จะสามารถใช้เข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาภายในมาเลเซียได้เท่านั้น
            5. ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค  ประกอบด้วยหลักสูตรต่างๆ หลากหลายสาขาวิชา และมีทั้งสถาบันของรัฐบาล และสภาบันของเอกชน ประกอบด้วย
              - หลักสูตรเซอฟิติเคทซ์ และหลักสูตร ดิโพลมา ซึ่งผุ้ที่้องการจะเรียนในหลักสูตรนี้ จะต้องสำเร็จวุฒิการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ผ่านเกณฑ์การสอบวัดระดับ SPM แล้ว
              - หลักสูตร ปริญญาตรี ผู้ที่จะเข้าเรียนหลักสูตรนี้ ต้องจบการศึกษาวุฒิเตรียมอุดมศึกษา หรือเที่ยบเท่า STPM หรือ GCE 'A' Level หรือเกณฑ์อื่นๆ ที่ทางสถบันกำหนดไว้
              - และหลักสูตร ระดับปริญญาโทและเอก ตามลำดับ...

                http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf
           



             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)