วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education development : Part 2

           ในการทำวิจัยเรื่อง "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์"  มีขั้นตอนดำเนินการวิจัยดังนี้
           1. ศึกษาเอกสาร ตำรางานวิจัยและเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน รวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ
           2. ดำเนินการศึกษานโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนรวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
                2.1 การศึกษาเฉพาะที่ เป็นการบรรยายถึงสภาวะทางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซยน .โดยยังมิได้มีการนำไปศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศใด ๆ โดยมีขั้นตอนการศึกษาดังนี้
                      2.1.1 ขั้นตอนที่ 1 การบรรยายหรือพรรณนา เป็นขั้นตอนการบรรยายเพื่อรวบรวมข้อมุลททางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยไม่ได้พิจารณาสภาพแวดล้อมอื่นๆ ซึ่งจะพิจารณารวบรวมข้อมูลจากงานวิจัย รายงานของหน่วยราชการ รายงานการประชุม หนังสือ วารสาร และเว็บไซต์ ฯลฯ
                      2.1.2 ขั้ตอนที่ 2 การตีความ เป็นขั้นตอนการตีความข้อมุลต่างๆ ที่บรรยายไว้ในขั้นตอนที่ 1 มาอธิบายโดยอาศัยความรุ้จากศาสตร์ แขนงอื่นๆ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาในแว่ประวัติศาสตร์ การเมืองาการปกครอง เศรษฐศาสตร์หรือในแง่สังคมและวัฒนธรรม เป็นต้น
               2.2 การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ เป้นการนำข้อมูลเรื่องราวเกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวยนรวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์สรุปให้เห็นว่า นโยบาย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศต่างๆ มีลักษณะคล้ายคลึงกัน หรือแตกต่างกันอย่างไร และสิ่งใดเป็นปัจจัยทีให้นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความคล้ายคลึงกัน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากข้อ 2.1.1 และ 2.1.2 มาเทียบเคียง เพื่อตรียมการวิเคราะห์เปรียบเทียบในขั้นตอนต่อไปซึงมีกระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้
                        2.2.1 ขั้นตอนการบรรยาย เป้นขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน รวมทั้งสิ้น 10 ประเทศมาเปรียบเทียบกัน
                        2.2.2 ขั้นตอนการแปลความ เป้นขั้นตอนการอธิบายข้อมูลต่างๆ ที่ได้มาจากข้อที่ 2.2.1 โดยวิธีเชิงสหวิทยาการมาอธิบายองค์ประกอบที่มีผลกระทบต่อระบบการศึกษาของประเทศนั้นๆ
                        2.2.3 ขั้นตอนการเทียบเคียง เป็นขั้นตอนการจัดระบบข้อมูล กำหนดหลักเกณฑ์ และการตั้งสมมติฐานเพื่อวิเคราะห์ในเชิงเปรียบเทียบ
                        2.2.4 ขั้นตอนการเปรียบเทียบ เป็นขั้นตอนการวิเคราะห์เปรียบเทียบ โดยนำประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเวียน รวมทั่งสิ้น 10 ประเทศมาเปรียบเทียบพร้อมๆ กัน เพื่อพิสูจน์สมมติฐานและทำการสรุปผลการศึกษา
             1 การศึกษาเฉพาะที่ ขั้นตอนที่ 2 การตีความ อธิบายโดยกาศัยความรู้จากศาสตร์แขนงอื่นๆ มีการตีความข้อมูลต่างๆ ที่บรรยายไว้ในขั้นตอนที่ 1
              การตีความข้อมูลทางการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน
              - ประเทศไทย การจัดการศึกษามีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณ ด้วยความเชื่อที่ว่าการศึกาาช่วยกำหนดทิศทางของชาติ เพื่อพัฒนาคนไทยและประเทศให้เจริญก้าวหน้า การจัดการศึกษาของไยมีวิวัฒนาการมาโดยตลอด โดยมีปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนาสังคมให้มีความเจริญและทันสมัย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทั้งด้านเศรษบกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทำให้ประเทศไทยต้องปรับตัวให้ทันสมัย เพื่อความอยู่รอดและประเทศได้เกิดการพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาทำให้การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัมฯาการเรื่อยมา ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยเสริมความเจริญก้าวหน้าทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของชาติให้มั่นคงและเจริญก้าวหน้า
             
- สาธารณรัฐอินโดนีเซีย การศึกษามีรากฐานจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2488 เมื่อได้ประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรับ เพ่อให้บรรลุเป้าหมายของรัฐดังที่ปรากฎในหลักปัญจศีล ในการรวมศูนย์อำนาจ กับการคงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมตามความต้องการของกลุ่มชนที่หลากหฃลายในสังคมและความต้องการร่วมกัน ในการพัฒนาเศราบกิจและสังคมด้านต่างๆ  ซึ่งปฏิสัมพันธ์ระหว่าศาสนากับการจัดการศึกาานั้นเป้นลักษระเด่นเฉพาะของอิโดนีเซีย ในการักษาปฏิสัมพันะ์ระหว่างการศึกษากับศาสนาแบบดั้งเดิมของศาสนาอิสลามซึ่งกลายมาเป็นศาสนาอิสลามซึ่งกลายมาเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ หลังจากสิ้นอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มีต่อรัฐชาติที่เกิดจากการปลดปล่อยตนเองจากลัทธิล่าอาณานิคม และเป้นรัฐชาติที่มีลักษระเป็น "พหุสังคมขนาดใหญ่" ด้านอาณาบริเวณทางภุมิศาสตร์ที่กระจายอย่างกวางขวาง ซึ่งพยายามปรับตัวอยุ่ในโลกยุปัจจุบัน
             - สหพันธรัฐมาเลเซีย อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษมาตั้งแต่ พ.ศ. 2485-2500 เป็นเวลานานถึง 15 ปี ถึงแม้ว่าในปัจุบันมีการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผุ้นำด้านการบริหารของประเทศและมีสุลต่านต่างๆ ปกครองดูแลรัฐต่างๆ ยกเว้นเกาะปีนัง มะละก ซาบาร์ และซาราวัค โดยมีพระราชธิบดีเป็นประมุขของประเทศ แต่การอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษนานถึง 15 ปี ย่อมมีผลต่อความคิดเห็นการศึกษาและวิถีการดำเนินชีวิตของชาวมาเลเซีย ตังนั้นการจัดการศึกษาและการปฏิรูปการศึกษาจึงยังใช้ระเบียบแบบแผนของประเทศอังกฤษ อย่างไรก็ตาม มาเลเซยเป้นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ในสถาบันการศึกษาจึงได้รับอิทธิพลของศาสนาอิสลาม
           - สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ การจัดการศึกาาในอดีตเน้นการศึกษาในลักาณะไม่เป้นทางการแบบประเทศสเปนโดยปราศจากโครงสร้างที่ชัดเจนรองรับและขาดแคนระเบียบวิธีการต่างๆ ในการเรียนการสอน ตรอบจนมีการตรากฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาใน พ.ศ. 2406 ซึ่งอนุญาตให้มีการจัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับเด็กชายและหญิงในเมืองต่างๆ ภายใต้การรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถ่ิน กฎหมายดังกล่าวกำหนดให้ชาวฟิลิปปินส์ทุกคนไ้รับเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษาโดยเสรีไม่เสียต่าใช้จ่ายใดๆ การสานตอแนวคิดและหลัการ่าด้วยเสรีภาพในการเข้ารับการศึกษาโดยเสรีไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ นี้ยังคงสานต่อมาจนถึงปัจจุบัน
           - สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป้ฯประเทศที่เล็กที่สุดประเทศหนึ่ง ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติมากเหมือนประเทศอื่นแต่มีฐนะทางเศรษฐกิจดี เพราะมีพัฒนาเศรษฐกิจด้านการค้า โดยเป็นประเทศกลางในการขายสินค้ามีท่าเรือขส่งสินค้าปลอดภาษี ทำให้สินค้าที่ผ่านทางสิงคโปร์มีราคาถูก ที่ท่าเรื่อน้ำลึกขนาดใหญ่ และทันสมัยที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง มีประชากรน้อยจึงต้องพึ่งพาเรงงานจากต่างชาติในทุกระดับ เป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบการศึกาามาตั้งแต่เร่ิมได้ับอิสรภาพจากระบอบการปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2508 ทุ่มเทการลงทุนในการจัดระบบการศึกาาและระดับประสิทธิภาพทางการศึกษาในทุกระดับในลักษณะที่พยายามสร้างความเป็นธรรมและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองเพื่อป้องกันความแตกแยกในสังคม เพื่อให้สิงโปร์เป็นศูนย์กลางอุดมศึกษาระดับสากลแห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก
           - รัฐบรูไนดารุสซาลาม เป็นประเทศซึงมีขนาดเล็กที่สุดทั้งในด้านขอบเขตทางภุมิศาสตร์และจำนวนประชากรแต่มีความมั่งคั่งด้วยระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีภายใต้การกำกับดูแลของรัฐและเป็นประเทศเดียวในกลุ่มอาเซียนที่อยู่ภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างเต็มรูปแบบ ในพ.ศ. 2449 บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ เร่ิมมีระบบการศึกษาอย่างเป็ทางการใน พ.ศ. 2459  ด้วยการเปิดโรงเรียนภาษาพื้นเมืองมาเลย์ในเมืองหลวงคือ กรุงบันดาเสรีเบกาวัน ด้วยข้อจำกัดในลักณะของการับเฉพาะเด็กนักเรียนชาย อายุระหว่าง 7-14 ปี บรูไนไม่มีการจัดทำแผนการพัฒนการศึกษาแห่งชาติ หากแต่ให้เป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาประเทศระยะ 5 ปี ซึ่งในแผนพัฒนาประเทศฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2497 นั้น สาระที่เกี่ยวข้องเป็นการมุ่งเน้นสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ จนเป็นที่มาของการจัดตั้งกระทรวงการศึกษาของประเทศ ต่อมาใน พ.ศ. 2528 ได้มีการพัฒนานโยบายและระบบการศึกษาแห่งชาติในลักษณะที่อำนวยให้ประชาชนและผุ้ทีพำนักอาศัยอยู่ในประเทศบรูไนอย่างถาวรสามารถเข้าศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียนระดับประถมของรัฐโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
           - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป้นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ของการต่อสุ้อันยาวนานเคยอยู่ายใต้การปกครองของฝรั่งเศส ทำให้ได้ับวัฒนธรรมของฝรังเศสไว้หลายประการ จากการเป็นประเทศที่มีประชากรอยุ่กันอย่างหนาแน่น ผ่านการทำสงครามภายในประเทศเป็นเวลานาน ด้วยความแข็งตัวของระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมอยู่ที่ศูนย์กลาง ทำให้เวียดนามต้องใช้เวลานานในการฟื้นตัวและเปลี่ยนจากระบบเศรษฐฏิจแบบควบคุมเข้มงวด มาเป็นระบบตลาดเพื่อก้าวพ้นจากปัญหาความยากจนและเพรือเพิ่มศักยภาพทางเศราฐกิจโดยมีการศึกษาเป็นยุทธศาสตร์สำคัญส่วนหนึ่งของประเทศ
         
 - สาะารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว บริบททางการศึกษาไม่ว่าจะเป้ฯลักษระที่ตั้ง และสภาพภูมิศาสตร์ องค์ประกอบของประชากร สภาพทางเศราฐกิจและสังคมมีผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของประเทศเป้นอย่างมาก นับตั้งแต่ที่ได้สถาปนาเป้นประเทศเอกราชใน พ.ศ. 2518 จากการปกครองของฝรั่งเศส ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาเรื่อยมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประถมศึกษา เทคนิคศึกาา และการรู้หนังสือของประชาชน ประชาชนมีอาชีพจำกัดและยากจน ประชากรประกอบดวยชนเผ่าต่างๆ มากกว่า 50 ชนเผ่า และมีความแตกต่างในเรื่องจารีตประเพณีและควมเชื่อถืออยู่อย่งกรจัดกระจายเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย ดังนั้น จึงทำให้การจัดการศึกษายากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นการเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจใหม่เป้ฯเศรษฐกิจการตลาด ทำให้เกิดความจำเป้นในการปฏิรูปหรือปรับเปลี่ยนแนวการจัดการศึกษาในทุกๆ ด้านเพราะจะต้องให้สอดคล้องกับระบบเศราฐกิจและสังคมของประเทศ
            - สหภาพเมียนม่า ตั้งแต่ในสมยโบราณสังคมให้ความสำคัญกับการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะในสมัยก่อนการศึกษาในวัดเป็นส่ิงที่นิยมและทำให้อัตราการรู้หนังสือของประชาชนอยุ่ในระดับดี แต่เมื่อเข้าถึงสมัยการปกครองโดยอังดฤ อัตราการรู้หนังสือลดต่ำลงเนื่องจากผุ้ปกครองไม่ให้ความสใจมากนัก แต่ยังมีความพยายามในหมูผุ้รู้หนังสือโดยเฉพาะหลังจาก พ.ศ. 2491 ในแนวทางการส่งเสริมด้านการศึกษา เด็กต้องเข้าโรงเรียนซึ่งเป็นบริการที่รัฐมีให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งนี้ เป้นไปตามกฎหมายกาศึกษาพื้นฐานและกฎหมายการศึกษาของสหภาพเมียนม่า ทั้งนี้ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนในวัดยังเป็นแหล่งความรู้สำคัญสำหรับประชาชนในพื้นที่ห่างไกล
           - ราชอาณาจักรกัมพุชา ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการศึกษาตั้งแต่ได้รับเอกรชจากประเทศฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. 2496 ซึ่งจากการเปลียนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจสังคม จึงนำไปสู่การปฏฺรูปการศึกษา รัฐบาลภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปใน พงศ. 2536 ตามข้อตกลงปารีสได้ให้ความสำคัญแก่การพัฒนาการศึกษามากขึ้น โดยมีความพยายามในการส่งเสริมการศึกาานอกระบบและการศึกษาภาคเอกชนในต่างจังหวัดเสมือนประเทศเสรีนิยมทั่วไป โดยกำหนดให้การศึกษาเป้นสวนหนึ่งของเป้าหายในการลดปัญหาความยากจนของประเทศเพื่อยกระดับศักยภาพการแข่งขันทางเศราฐกิจของประเทศสู่ระดับสากลซึ่งมีทรัพยากรมนุษย์เป็นฐาน..
               บทความ "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยการใช้วธีกาศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เดย์", จุมพล ยงศร, วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24 , ฉบับที่ 1 ( ม.ค.-มิ.ย. 2554), หน้า43-58.

วันพุธที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education development

            นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน กล่าวคือ
            - ประเทศไทย ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริการจัดการระดมทรัพยากรเพื่อการปปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ส่งเสริมให้ภาคเออกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกาษ ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ ปรับปรงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชานใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน
             - ประเทศสามะารณรัฐอินโดนีเซีย ความเสมอภาคโอกาศทางการศึกษา การตอบสนองความจำเป้ฯทางการศึกษาคุณภาพของการศึกษา และประสิทธิภาพของการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบของการศึกษา มุ่งเน้นการสร้างบุคลิกภาพและองค์ประกอบของความสามารถในด้านต่างๆ ของทรัพยากรฒนุษย์ สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา และเพื่อสร้างความมั่นใจทุกคนไม่ว่่าจะเป็นเพศใด จะมีฐานะยากจนอยู่ห่างไกลความเจริญหรือเป็นผู้อ้อยโอกาสทางสังคม ต้องได้รับการศึกษาขันพื้นฐานภาคบังคับ
             - สหพันธรัฐมาเลเซีย ระบบการศึกษาแห่งชาติเป็นระบบการศึกษาที่มีคุณภาพระดับสากล ึดถือนโยบายการศึกษาแห่งชาติเป็นนโยบายพื้นฐานสำหรับพัฒนาการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษาระดับประถมศึกษาคือ 5-7 ปี ให้การศึกษาก่อนวัยเรียนบรรจุอยุ่ในการศึกษาสายสามัญแห่งชาติ มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนให้มีควารู้ความสามารถ มีทัพษะเพียงพอตอความต้องกรของประเทศซึ่งกำลังเติบโตทางเศราฐกิจอย่างรวดเร็วการขยายโอากาสทางการศึกษาให้เท่าเทียมกันทั่วประเทศ ทั้งนี้กระบวนการที่จำนำไปสู่ความสำเร็จ จะต้องยึดหลักอุดมกาณ์แห่งชาติ "rukunegara" 5 ประการได้แก่ เชื่อมั่นในพระผุ้เป็นเจ้า, จงรักภักดีต่อกษัตริย์และชาติ, ยึดมั่นในรัฐธรรมนูย, ปฏิบัติตามหลักกฎหมาย และประพฤติตนอย่างมีศีลธรรมและคุณธรรม
           
 - สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ การสร้างความแข็งแกร่งในด้านการศึกษาให้เป็นภาระผูกพันต่อรัฐบาล กำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการจัดวบประมาณด้านการศึกษา จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษาให้แก่ประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ย ให้ความสำคัญต่อการเพ่ิมทุนทั้งหมดไปที่มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการศึกาา สนับสนุนให้การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การศร้างทักษระความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร พร้อมทั้งขวายช่องทางให้กับผุ้มีรายได้น้อยในเรื่องการศึกษานอกระบบและการฝึกอบรมด้านเทคนิคและวิชาชีพเ้นหลักการเรียนตลอดชีวิตให้เข้าถึงประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ตลอดจนผุ้พิการและผุ้ที่เสียเปรียบในสังคม เน้นการยกระดับหลักสูตรและเทคนิคในการฝึดอบรมครูผู้สอน ทักษะและกระบวนการบริหารจัดการวางแผนและกำกับดูแลโครงการต่างๆ โดยอาซัยการมีส่วนร่วมจากชุมชน
            - สาธารณรัฐสิงคโปร์ ยกระดบมาตรฐานการศึกษาของคนในชาติสู่ระดับสากลโดยใช้กระบวนการเรียนการสอนควบคุ่ไปกับผลลัพธ์ทางการศึกษาทั้งด้านคุณภาพ และสมรรถภาพ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความสามารถอันหลากหลายของผุ้เรียนมากยิ่งขึ้น เน้นจิตสำนึกและแรงจูงใจในการใฝ่เรียนรู้ด้วยสัมฤทธิผลหรือความสำเร็จทางการษึกษาของผุ้เรียนแต่ละคน การทุ่มทรัพยากรด้านเงินทุนทางการศึกษามากขึ้น การเน้นการบริหารจัดการแบบรวมศุนย์ การมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่เข้มข้น การเปลี่ยนจากการประเมินจากภายนอกสู่การเน้นประเมินจากภายในแต่ละโรงเรียนและสถาบันการศึกษาด้วยความถี่มากขั้นเพื่อให้สาถนศึกษารูจักตนเองมากขึน การส่งเสริมแรงสนับสนุนอย่างแข็งขันจากครอบครัวของผุ้เรียนการพัฒนากำลังคนด้านบุคลากรทางการสอนโดยเน้นการฝึกอบรม เพื่อให้พัฒการทางการศึกษาก้าวไปอย่างมั่นคงมากขึ้น
            - รัฐบรูไนดารุสซาลาม มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญในเรื่อง อีเลินนิ่ง โดยได้ดึงเข้ามาเป้นส่วนหนึ่ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ดำเนินการให้ระบบการศึกษาทุ่งให้ความสำคัญต่อากรใช้ภาษามาเลย์เปนภาษาทางการประจำชาติ ควบคู่ไปกับการใช้ภาษาสำคัญอื่น ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาอาหรับเป้นภาษาที่สอง เป็นต้น จัดการศึกษาให้กับนักรเียนทุกคนเป็นระยะเวลา 12 ปี จัดหาหลักสูตรบูรณาการจัดการศึกษาศาสนาอิสลามในหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลัก Ahli
Sannah Wal-Jamaah จังหวัดวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สำหรบการเรียนการสอน เพื่อให้เด็กนักรียนได้รับความรุ้และความชำนาญ จัดหาโปรแกรมการเรียนรู้ที่หลากลายผ่านกิจกรรมและหลักสูตรร่วมต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักปรชญาแห่งชาติ สร้างโอกาศในการศึกษาด้วยคุณวุฒิและประสบการณ์ที่เหมาะสม จัดหาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ทางการศึกาาให้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อเติมเต็มความต้องการแห่งชาติ
           - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม การปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาไปในทิสทางระดับสูงของโลก การให้ความสำคัญกับการอบรมบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีชั้นสูง การจัดทำเป้าหมายวิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับ พัฒนาครูให้ตอบสนองกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ริเริ่มการจัดการทางการศึกษานอกระบบให้เป็นการขับเคลื่อนชุมชนไปสู่สังคมการเรียนรุ้ การลดอัตราการไมรุ้หนังสือในกลุ่มผุ้ใหญ่โดยเฉพาะในท้องถ่ินที่ห่างไกล การเปิดโอกาศให้ผุ้ทีทำงานแล้วได้รับการอบรมเรียนรุ้จากหลักสุตรสั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มรายได้ และโอากสในการเปลี่ยนงาน เด็กนัอเรียนได้รับกาศึกาาโดยไ่ต้องเสียค่าใช้จ่ายตามมาตรฐาการศึกษาระดับนานาชาติ และการบริหารจัดการทางการศึกษาจะมีโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจที่ทันสมัย
           - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน การยกระดับคุณภาพทางการศึกาาการปรับปรุงความเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ในระบบการศึกษาให้สอดคล้องกัน การบริหาร จัดการและการวางแผนทางการศึกษาให้เเข็งแแร่งมากขึ้น การขยายจำนวนโรงเรียนระดบประถมศึกษาในพื้นที่ชนกลุ่มน้อยและพื้นที่ชนลบท การเพ่ิมอัตราการสรุ้หนังสือ การพัฒนาในแนวทางที่เรียกว่า การศึกษาสำหรับทุกคน การยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังและการสร้างความร่วมมือระหว่าการึกษาในระบบโรงเรียนกับการศึกษาในสังคมและครอบครัว การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาให้ทันสมัยในทุกระดบทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาทั้งในส่วนของภาครัฐและในส่วนของภาคเอกชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน ในลักษณะที่สอดรับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
            - สหภาพเมียนม่า การกำหนดแผนระยะยาว 30 ปี การทำระบบการศึกษาให้เอื้อต่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในการพัฒนาชาติให้ทันสมัยสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการเน้นสาระสำคัญ 6 ด้านได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การใช้เทคโนโลยีการขยายขอบเขตด้านการวิจัย การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่วเสริมการศึกษาคุณภาพ และการรักษาเอกลักษณ์และค่านิยมแห่งชาติให้คงอยู่
         
- ราชอาณาจักรกัมพูชา การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติในการขยายโอากศางการศึกาษาคุณภาพอย่างทั่วถึงประกอบด้วยแผนระยะสั้น แผนระยะกลาง และแผนระยะยาว เช่นการเปิดโอกาสศึกษาขั้นพื้นฐานให้เพิ่มสูงขึ้น การเพ่ิมขั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกาาการเพิ่มห้องเรียนและสถานที่เรียนในพื้นที่ขาดแคลน การเพ่ิมปริมาณและคุณภาพครูและการฝึกหัดครู เป้าหมายระยะยาวในการทำให้เด็กและเยาชนชาวกัมพุชาทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกาาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ทุกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ทุกเพศ ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ แม้ผุ้พิการทางร่างกาย...
              ที่กล่าวมานี้คือตอน ที่ 1 ของการทำวิจัย "นโยการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียน โดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์" โดยตอนนี้เป็นการศึกษาเฉพาะที่ โดยมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการบรรยายหรือพรรณนา และขั้นตอนการตีความ...
              บทความการพัฒนการศึกษา  จุมพล ยงศร, "นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคมอาเซียนโดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช เบอร์เรเดย์", วารสานสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่ 24, ฉบับที่ 1 ( ม.ค.-มิ.ย. 2554) หน้า 43-58,

วันอังคารที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2560

The Rol of Education in Building an ASEAN

          ความร่วมมือด้านการศึกษาในกรอบอาเซียน 
           ได้มีการประชุมหารือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อพิจารณาแนวทางความร่วมมือด้านการศึกษา โดยการดำเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ การพัฒนาหลักสูตรอาเวยน การโอนหนวยกิตในระดับอุดมศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัยของประเทศสมาชิกอาเซียนที่อยุ่ในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนโดยจะมีการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านการศึกษาเป็นประจำทุกปี การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้านการศึกษา และการประชุมกับประเทศบวกสาม รวมถึงการประชุมในกรอบของซีมีโอด้วย
            ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุดสอาเซยนด้านการศึกษา ครั้งที่ 6 ในปี 2555 ซึ่งมีสาระสำคัญคือ การติดตามความคืบหน้าและการดำเนินโครงการต่างๆ การพัฒนาและความคือบหน้าด้านการโอนหน่วยกิตในระดับอุดมศึกษา ภายใต้กรอบของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวยน
            ประเทศสมาชิกอาเซียนได้รับรองแผนงานด้านการศึกษา 5 ปี ซึ่งเปฯแนวทงความร่วมมืออาเซียนด้านการศึกษา มีสาระสำคัญ 5 ประการ คือ
            1. การร่วมมือกันสร้างความตระหนักรู้
            2. การเพ่ิมการเข้าถึงการศึกษาในระดับประถมและมัะยมศึกาษาที่มีคุณภาพ
            3. การยกระดับคุณภาพการศึกาา เพิ่มมาตรฐานการศึกษา สงเสริมการเรียนรู้ตลอดชีงวิต และารพัฒนาาขาอาชีพ
            4. การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนด้านการข้ามแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการศึกษา
            5. การสนับสนุนองค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ 
            ในส่วนของไทย กระทรวงศึกษาธิการเป็นหนวยงานหลักในการประสานงานด้านการศึกษากับประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในระดับเจ้าหน้าที่อวุโสและระดับรัฐมนจรีด้านการศึกษาอาเซียน และมีโครงการต่างๆ เพื่อสร้างความตระหนักรู้อาเซียน อาทิ เช่น โครงการโรงเรียน สปิริต ออฟ อาเซียน โครงการ อาเซียน โฟกัส สคูล โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียน และการจัดทำหนังสือ คู่มือเกี่ยวกับอาเวียน ทั้งนี้จากการประสานกับประทรวงศึกษาธิการทราบว่า รมว.ศธ. ได้กำหนด 22 นโยบายหลักด้านการศึกษา (ซึ่งเป็นผลจากการประชุมหน่วยงานภายในของกระทรวงศึกษาธิการ ในปี 2555)
            นอกจากนี้ ความร่วมมือด้านการศึกษาที่สำคัญยังอยุ่ภายใต้กรอบความร่วมมือขององค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือซีมีโอ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือระหว่างประเทศ รวมถึงความร่วมมือด้านต่างๆ กับอาเซียนด้วย โดยศูนย์ภูมิภาคซมีโอด้านอุดมศึกษาและการพัฒนา ตั้งอยุ่ทีประเทศไทยและทำหน้าที่ในกาส่งเสริมความร่วมมือระดับอุดมศึกษาและจัดการอบรม วิจัยที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของภุมิภาค ศูนย์ระดับภูมิภาคว่าด้วยโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ ซึ่งมีการสอนและฝึกอบรมหลักสุตรด้านโบาณคดีและประเพณีของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
           
ในการประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ 7 รัฐมนตรีศึกษาฯ ของอินโดนีเซยนในฐานเจ้าภาพจัดการประชุม และประธาน ASED ได้จัดพิธีเปิดการประชุมระดับรัฐมนตรีณ พ้อมกับเชิญนาย เดวิด คารเดน เอกอัครราชทุตสหรัฐฯ ประจำอาเซียน และ แอนโทนี่ มิลเลอร์ รองปลัดกระทรวงศึกษาสหรัฐฯ เข้ารวมพิธีเปิดตัวคู่มือการจัดทำหลักสูตรอาเซียน อย่างเป็นทางการ ซึ่งคู่มอืดังกล่าวได้ยกร่างขึ้นภายใต้การสนับสนุของ USAID และคณะทำงานของประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมกันพิจารณา มีการปรับปรุงแก้ไขจนเป้นผลสำเร็จ
            สาระสำคัญ 5 ประการของคู่มือการจัดทำหลักสูตรอาเซียน คือ 1 เรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน 2 คุณต่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย 3 ความเชื่อมโยงของโลกและท้องถ่ิน 4 การ่งเสริมเรื่องความเท่าเทียมกันและความยุติธรรม 5 ความร่วมมือกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยือ และได้ยกตัวอย่างเนื้อหาวิชาที่จะบรรจุเรืองอาเซียนไว้ ได้แก่ วิชาประวัติศาสตร์และสังคม วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จริยธรรม ภาษา ศิลปะ สุขศึกษา เทคโนโลยี เป็นต้น
            นอกจากนี้ ในระดับอุดมศึกาา มีความคืบหน้าในส่วนของการดำเนินงานของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่สำคัญคือ โครงการระบบการโอนหน่วยกิต ขณะนี้ มีสาขาวิชาที่นักศึกษาสามรถเลือกลงเรียนใระบบการโอนหน่วยกิตในมหาวิทยลัยที่เป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลับยอาเวียนไ้ จำนวน 12,270 สาขาวิชา ผู้สมัครในปี 2554-2555 สมัครออนไลน์จำนวน 232 คน สมัครและได้รับการเสนอชือผ่านมหาวิทยาลัยใเครือข่ายฯ จำนวน 137 คน ได้เข้าร่วมดครงการและได้ทุนสนับสนุน จำนวน 51 คน...http://www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121218-095816-729162.pdf

วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education System II

              ความร่วมมือด้านการศึกษาเป้นส่วนหนึ่งของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเวยน เมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษาา ครั้งแรกในช่วงเดือนตุลาคม 2518
              พม่าหรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กรุงเนปิดอว์ ประชากรประมาณ 55.7 ล้านคน เป็ฯประเทศกำลังพัฒนาที่รายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ในเกณฑ์ต่ำ การเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพหลักของคนพม่า
               หน่วยงานจัดการศึกษาขงพม่า คือ กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาของพม่า รัฐเป้นผุ้สนับสนุนด้านงบประมาณของทุกโรงเรียนโดยนักเรียนจะเสียค่าเล่าเรียนเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตาอนปลายเท่านันระบบการศึกษาแต่เดิมนั้นเป้ฯระบบบริหารซึ่งรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลางต่อมาได้มีการกระจายอำนาจการบริหารออกไปสู่ระดับรัฐและหัวเมืองต่างๆ โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษาเป้นผุ้ควบคุมดูและและประสานงานระบบ
             การศึกษาของพม่า เป้ฯระบบ 5+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 5-9 แบ่งได้เป็น
             1. ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 5 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็ฯการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
             2. ระดับมัธยมศึกษา
                         2.1) ระดับมัธยมศึกษาตานต้น เป้ฯช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 10-13 ปี
                          2.2) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป้ฯชวงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาเรียน 2 ปี  ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 14-15 ปี
            3. ระดับอาชีวศึกษา การศึกษาในระดับนี้ใช้เวลา 1-3 ปี
            4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี
           
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของพม่านั้น พม่าพยายามที่จะจัดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศแต่ยังมีปัญหาาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสุดุและอุกรณ์ให้กับโรงเรียนในบางท้องที่ได้ รัฐบาลพม่าได้ตั้งเป้าหมาย ที่จะให้มีโรงเรียนอย่างน้อยหึ่งแห่งในทุกมู่บ้าน กรมการเทคโนโลยี เกษตรและอาชีีวศึกษา เป้นหน่วยงานที่ดุแลจัดการศึกษาด้านเกษตรกรรม พณิชยกรรม วิศวกรรมเครื่องกล การประมงคหกรรมและการฝึกหันดครู ทางด้านช่วงเทคนิค การเรียน - การสอนมีทั้งเต็มเวลาและนอกเวลา มีทั้งหลักสูตรระยะยาวและระยะสั้น เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงานในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของพม่าที่กำลังเปลี่ยนแปลง
             สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ มีเมืองหลวงตั้งอยงู่ที่ กรุงมะนิลา มีประชากรประมาณ 107.6 ล้านคน ( 2014) เป็นประเทศเกษตรกรรม แต่มีเนื้อที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกอยุ่อย่างจำกัด จึงทำให้พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยู่บริเวณที่ราบต่ำและเนินเขาที่รปับให้เป้นขชั้นบันได พืชเศรฐกิจสำคัญ คือ มะพร้าว อ้อย ป่านอบากา และข้าวเจ้า นอกจากนี้ยังมีแร่ส่งออกที่สำคัญ คือ เลห็กโครไมต์ ทองแดง เงิน มีภาษาฟิลิปปิโน และ ภาษาอังกฤษเป็ฯภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
              หน่วยงานจัดการศึกษาของฟิลิปปินส์ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ทีทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยการศึกษาแบบที่เป็นทางการนั้นมีลำดับขั้นตอนของ
การเรียนอยุ่สามระดับนั่น คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาแบบเป็นทางการฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี จากอายุ 5-17 ปี แบ่งได้เป็น
             1 ระดับปฐมวัย ในระดับประถมศึกาานั้นจะใช้เวลาศึกษาภาคบังคัย 6 ปี ที่โรงเรียนของรัฐบาลหรือ 7 ปี ในโงเรียนของเอกชนนอกเหนือ จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยซึงนักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ โดยการศึกษาระดับนี้รวมไปถึงการเรียนชั้นอนุบาลและอาจเป็นหลักสูตรเตรียมประถมศึกษาก็ได้ นักเรียนที่มีอายุระหว่าง 3-4 ปีจะเข้าเรียนในสถานรับเลื้องเด็กก่อนวัยเรียนจนกระทั่งมีอายุครอบ 5-6 ปี จึงจะเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
            2. ระดับมัธยมึกษา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาใช้เวลา 4 ปี โดยนักเรียนต้องเรียนจบชั้นประถมึกษาตอนปลายก่อน นักเรียนส่วนใหญ่ที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาจะมีอายุ 12 ปี และเรียนจบเมื่ออายุ 15 ปี การเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
           3 ระดับอาชีวศึกษา รวมไปถึงหลักสูตรอาชีวศึกษา 2-3 ปีที่อาจไม่มีการมอบปริญญาได้ จะดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ด้านการพัฒนาทักษระและการศึกาาาด้านเทคนิคซึ่งยังมีหน้าที่ปบฒนิเทศ ให้การฝึกอบรมและการพัฒนาด้านทักษะอาชพแก่เยาวชนที่ไม่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนและผุ้ใหญ่ที่ว่งงาน
           4 ระดับอุดศึกษา ระดับอุดมศึกษานั้น นักเรียนส่วนใหญ่จะมีอายุประมาณ 16 ปี การศึกษาระดับนี้แบ่งเป็นระดับปรญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกในหลากลายสาขาวิชา
            ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ใกล้เคียงกับระบบการศึกษาแบบเป็นทางการของสหรัฐอเมริกาในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวิปเอเชียมักจะได้รับอทธิพลจากประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเนเธอร์แลนด์การศึกษาแบบไม่เป็นทางการซึ่งรวมถึงการรับความรู้นอกโรงเรียนันมีัตถุประสงค์หลักสำหรับผุ้รียนกลุ่มเฉพาะ เช่น เยาวชนหรือผุ้ใหญที่ไม่สามารถเข้าเรียต่อที่ดรเรียนหรือมหาวิทยาลัยได้
           การจัดการศึกษาแบบไม่เป็นทางการ หือนอกระบบโรงเรีย ได้แก่ หลักูตรการศ฿กษาผุ้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือจอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษาบางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาตากาล็อก
             สาธารณรัฐสิงคโปร์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ มีเมืองหลวงช่อเดียวกับประเทศที่ประชกรประมาณ 5.6 ล้านคน (2014) เป็นประเทศที่มีพื้นที่จำกัดและมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอยู่น้อย สินค้าส่งออกที่สำคัญจึงเป็นพวกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกร์และสวนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป แยงวงจรไฟฟ้า และสวนประกอบอากาศยานและอุปกรณืการบิน ส่วนสินค้านำเข้าที่สำคัญก็จะเป็นพวก พลังงาน อาหาร และวัตถถุดิบในงานอุตสาหรรม
           
หน่วงานจัดการศึกษาของสิงคโปร์ คือ กระทรวงศึกาธิการรัฐบาลสิคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก โดยถือว่าประชาชนเป้ฯทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุอขงประเทศ รัฐบาลได้ให้การอุดหนุนด้านการศึกษาจนเสมือนกับเป้ฯการศึกษาแบบให้เปล่า โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาล้วนเป็นโรงเรียนของรัฐบาลหรือกึ่งรัฐบาลสถานศึกาาของเอกชนในสิงคโป์ มีเฉพาะในระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษาควบคู่กันไป ระบบการศึกษาของฟิลิปปินส์ เป็นระบบ 6+4+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี ดังนี้
            1. ระดับปฐมวัย ใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรยนเมื่ออายุ 6 ปี การเลื่อเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบ เพื่อที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาต่อไป ผลการเข้าสอบมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกาาต่อในระดับมัธยมศึกษา
            2 ระดับมธยมศึกษา ระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุ นักเรียนอยู่ระหว่าง 12-15 ปี กาศึกาในระดับมธยมึกาานั้น จะมี 3 หลักาุตรให้เลือกตามความสามารถและความสนใจ โดยใช้เวลา 4-5 ปี ด้แก หลักสูตรพิเศษ หลักสูตรเร่งรัด หลักสูตรปกติ เมื่อจบหลักสุตรจะมีการสอบโดยหลักสูตรพิเศษ และหลักสูตรเร่งรัดจะต้องผ่านประกาศนียลัตร GCB ในระดับ "O" Level ส่วนหลักสูตรปกติจะต้องผ่าน GCB "N" Level แต่ถ้าต้องศึกษาต่อในระดับเตรียมอุดมศึกาา ก็ต้องสอบให้ผ่าน GCB "O" Level เช่นเดียวกัน
           3 ระดับหลังมัธยมศึกษา
                   3.1) ระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษา ผุ้ที่จะเรียนตอในมหาวิทยาลัยก็จะเข้าศึกษาต่อใน จูเนียร์ คอลเลจ อีก 2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอบ GCE "A" Level เพื่อนำผลคะแนไปตัดสินการเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย จะต้องศึกษาขั้นเตรียมมหาิวทิยาลัยอีก 2 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 16-17 ปี
                   3.2) ระดับอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค ของสิงคโปร์มี 4 แห่ง ส่วนวิทยาัยผลิตครูของสิงคโปร์มีอยูเพียงแห่งเดียว นอกจากนี้ ยังมี สถาบันที่จัดการศึกษาสำหรับผุ้ตอ้งการทักษระทางช่าง และช่างฝีมือ
          4. ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยในสิงคโปร์มี 3 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะให้การศึกษาครอลคลุมเกือบทุกสาขาวิชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี นานยาง จะเนนการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทัี้งวทิยาาสตร์ประยุกต์์ และสาขาธุรกิจ และการบัญชี และ มหววิทยาลัการจัดการ สิงคโปร์ เน้นเรื่องธุรกิจการจัดการ
              ประเทศไทย หน่วยงานจัดการศึกษาของไทย คือ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) 2545 มีการจัดการศึกษา 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแยวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจาการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกาานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอน ฉะนั้นแนวทางใหใาคือ สถานศึกาษสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรุ้ที่ 3 รูปแบบ
             ระบบการศึกษาของไทย เป็น ระบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคลังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
             1. ระดับปฐมวัย ระดับปรถมศึกษาใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับใน เกระ 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษา เมื่อต้องการจะเลื่อนเกรดเพื่อสึกษาต่อในระดับถัดไปในระดับปฐมวัย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จะต้องได้รับการทดสอบ O-NET
             2. ระดับมัธยมศึกษา
                     2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกาาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยูระหว่าง 12-14 ปี
                     2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกาา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี โดยหากนักเรียนต้องการจะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจำเป้นต้องได้รบการทดสอบ GAT และ PAT
         
3. ระดับอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
            4. ระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษระดับอุดมศึกษาใช้เวลา 4-6 ปี ระดับต่ำหล่าปริญญาและระดับปรญญา การใช้คำว่า "อุดมศึกษา"แทนคำว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
           สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
           เวียดนามหรือชื่อทางการว่า สาธารณะรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ กรุงฮานอย ประชากรประมาณ 93.4 ล้านคน (2014)
           หน่วยการจัดการศึกษาของเวียดนาม คือ กระทรวงศึกษาธิการและฝึกอบรม ระบบการศึกษาของเวียดนาม มีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประชาชนได้มีจิตวิญญาณในความเป้นสังคมนิยมมีเอกลัษณ์ประจำชาติและมีความสามารถ ในด้านอาชีพ ในปี พ.ศ. 2534 สภาแห่งชาติของเวยดนามได้ออกกฎหมายการกระจายการศึกษรระดับประถมศึกษา ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกว่าด้วยการศึกษาของเวียดนาม ระบบการศึกษาของเวียดนาม เป้ฯระบบ 5+4+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี แบ่งได้เป็น
           ระดับปฐมวัย ระดับประภมศึกษาใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมื่อายุ 6 ปี การศึกษาในะระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสสู่ระบบการศึกษา
           2 ระดับมัธยมศึกษา
                   2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้นช่วงการศึกาาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัยระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 11-14 ปี
                   2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น เป้ฯการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนจะอยู่ระหว่าง 15-17 ปี
            3. ระดับอาชีวศึกษา มีเทียบเคียงทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
            4. ระดับอุดมศึกาาแบงเป็นระดับอนุปรญญาและระดับปรญญา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาต่อเนื่องเป็นการศึกษาสำหรับประชาชนที่พลาดโอกาศการศึกษาในระบบสายสามัญและสายอาชีพ..http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf

วันอาทิตย์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Education System

            ความร่วมมือด้านการศึกษาเป็นส่วนหนึีงของความร่วมมือเฉพาะดานของอาเซียน โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเซียนเมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษา ครั้งแรกในช่วงเดือนตุลาคม 2518
            ความสำคัญของการศึกษาในการขัดเคลื่อนประชาคมอาเวยนเป็นกลไกสำคัญในการนำอาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 โดยกำหนดให้อาเซียนมีวิสัยทัศน์สู่ภายนอก มีสันติสุข แลละมีการเชือมโยงเข้าด้วยกันในการเป็นหุ้นส่วนในสิ่งแวดล้อมของประชาธิปไตยและอยุ่ร่วมกันอย่างกลมกลืน กรพัฒนาที่มีพลวัตรและการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดและในสังคมที่เอื้ออาทรที่ระลึกถภึงสายสัมพันธ์แน่นแฟ้นทางประวัติศาสตร์ ตระกนักถึงความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมที่มีร่วมกันและเชื่อมโยงในอัตลักษณ์ของภูมิภาค
          เพื่อเป็ฯการสร้างความเข้าใจระบบการศึกษาของแต่ละประเทศในภุมิภาคอาเซียน งานวิเทศสัมพันธ์ได้รวบรวมข้อมูลทางด้านการศึกษาของ 10 ประเทศในอาเซียน ดังนี้
           บรูไน ดารุสซาลาม
            หน่วยงานจัดการศึกษาของบรูไน คือ กระทรวงศึกษาธิการ โดยจะไม่มีการจัดการศึกษาภาคบังคับ แต่มีการจัดการศึกษราให้กับเด็กทุกคนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ยกเว้นโรเรียนสอนศาสนาซึ่งจะถูกควบคุมโดย กระทรวงกิจการศาสนา
         
  ระบบการศึกษาของบรูไน มีระบบการศึกษาภาคบังคัย 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัดการศึษาสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจาชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
            1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดับปฐมวัยเริ่มต้นจาการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษารดับต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติเพื่อรับประกาศนียบัตรชั้นต้น ในแต่ละช่วงระดับการศึกษา
            2. ระดับมัธยมศึกษา
                    2.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงกรศึกษาที่สูงขึ้นมาจาการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 12-14 ปี ผู้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะได้รับประกาศนียบัตร "รูไน BJCE"
                     2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-16 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของบรูไน จะได้รับประกาศนียบัตร " O Level"
           3. ระดับหลังมัธยมศึกษา ผู้ผ่านการศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษาของบรูไนจะได้รับประกาศนียบัตร
                      3.1 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา ประเทศบรูไนมีวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษาส่วนใหญ่สอนทางด้าน พยาบาลศาสตรื การเกาตร และหลักสูตรฝึกหันครูชั้นต้้น ทั้งนี้ระยะเวลาการสอนขึ้นอยุ่กับหลักสูตรของแต่ละวิทยาลัยซึ่งต้องได้รับการรับรองมาตรฐานจากทางรัฐบาล
                       3.2 หลักสูตรเตรียมอุดมศึกาา ครอบคลุมระยะเวลา 2 ปี เป็นหลักสูตรเพื่อเตรียมตัวนักเรียนเข้าสุ่การศึกษาชั้นสูงในระดับมหาวิทยาลัย
           4. ระดับวิทยาลัย สถาบันชั้นสูง และมหาวิทยาลัย หลักสุตรการศึกษาชั้นสูงเหล่านี้จะฝึกนักศึกษาเพื่อเขัาสู่การทำงานที่ต้องใช้ทักษรทางวิชาชีพและวิชาการขึ้นสูง ได้แก่ ประกาศนียบัตรชั้นสุง ปริญญาตรี ปรญญาโท ปริญญาเอก อนุปรัญญา เป็นต้น สถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในบรุไนนั้นมีมไ่ถึง 10 แห่ง มหาวิทยาลัยที่เป็นความภาคภูมิใจของคนบรูไนและเป้นหนึ่งในมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียนได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม ซึ่งเปิดการเรียนการสอนในหลักสูตร ที่หลากหลายทั้งวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
              สหราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ กัมพูชา มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงพนมเปญ มีประชากรประมาณ 15.5 ล้านคน ( 2014) โดยขึ้นชื่อเรื่องภาคเกษตรกรรม พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย นอกจากนี้ยังมีกาทำประมง น้ำจืดและป่าไม้ด้วย ส่วนภาคอุตสาหกรรมยังเป้ฯุอตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า เป็นต้น มีภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศษ เวียดนาม จีน และไทย ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
             หน่วยการศึกษาของกัมพุชา คือ กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และการกีฬา ระบอบการจัดการศึกษาของกัมพุชาได้บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศราฐกิจของประเทศซึค่งมัีป้าหมายเืพ่อให้การศึกษาเป็ฯกลไกสำคัญของประเทศในการขจัดความยากจน
               ระบบการศึกษาของกัมพุชา มีโครงสร้างปบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี จากอายุ 6-14 ปี การจัการศึกษาสามารถแ่บ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งจะจัดสรรตามกลุ่มอายุ และระดับการศึกษาจากชั้นต้นจนถึงการศึกษาในระดับสูง ได้แก่
                1. ระดับปฐมวัย การศึกษาระดัีบปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าุ่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 11 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี
                 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่าง 12-14 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัะยมศึกษาตอนต้นของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
                 3. ระดับหลังมัธยมศึกษา
                            3.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สุงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 15-17 ปี ผุ้ผ่านการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของประเทศกัมพุชาจะได้รับประกาศนียบัตร
                             3.2 วิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เป็นหลักสุตรตั้งแต่ 1 ปี หรือ 3-5 ปี การศึกษาในวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษายังไม่เป็นที่นิยมจากประชาชนประเทศกัมพุชา ส่วนมากเน้นการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเขัาสู่มหาวิทยาลัย
                4. ระดับอุดมศึกษา สภาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในกัมพูชามีจำนวน 88 แห่ง (2010) ประกอบด้วยสถาบันของรัฐ จำนวน 54 แห่ง สถาบันของเอกชนจำนวน 26 แห่ง การจัดการศึกษาะดับอุดมศึกษานี้ บางสถาบันศึกษาอยุ่ภายใต้การกำกับดุแลของกระทรวงเกษตรสาธารณสุขหรือแรงงาน การจัดการศึกษานอกระบบจะเนนการฝึกทักษะ ให้กับประชาชน
                 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ชื่อทางการว่าสาธารณรรัฐอินโดนีเซีย มีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่ กรุงจาการ์ตา มีประชากรประมาณ 253.6 ล้านคน ( 2014)  เป็นประเทศหมุ่กาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยขึ้นชื่อเรื่องทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ แร่ธาตุต่างๆ เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุก และเหล็ก รวมทั้งมีภูมิประเทศที่เอื้อต่อการทำประมงจับสัตว์น้ำและทำเกษตรกรรม โดยปลูกพืชแบบขึ้นบันได มีภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
               
หน่วยงานจัดการศึกษาของอินโดนีเซีย คือ กระทรวงศึกษาธิการแห่งชาติ การจัดการศึกษาของอินโดนีเซียมีรูปแบบการศึกษาที่หลากหลาย ทั้งการศึกษาขึ้นพื้นฐาน การศึกษาด้านอาชีวศึกษา การจัดการศึกษาพิเศษ การศึกษาด้านการสอนศาสนา การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นต้น ระบบการศึกษราของอินโดนีเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+3 โดยมีระบบการศึกษาภาคึบังคับ 9 ปี จากอายุ 7-15 ปี มีเป้าหมายเพื่อจัดหาทักษะพื้นฐานในการพัฒนาตนเองในฐานะที่เป็นปัจเจกชน สมาชิกในสังคม ประชากรในประเทศและโลก เท่าๆ กับที่เตรียมก้าวเข้าสู่การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งไปด้เป็น
              1. ระดับปฐมวัย การศึกษรระดับปฐมวัยเริ่มต้นจากการศึกษาในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 7 ปี ถึง 12 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 6 ปี จะมีลักษระแตกต่างกัน 2 แบบ คือ โรงเรียนประถมศึกษาแบบทั่วไป และโรงเรียนประถมศึกษาพิเศษสำหรับเด็กพิการ การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ เพื่อรับประกาศนียบัตร
             2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยู่ระหว่ง 13-15 ปี มีลักษณะแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษาคือ มีโรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผุ้จบการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 13-15  ปี มีลักษระแบบเดียวกับของโรงเรียนระดับประถมศึกษา คือ ีดรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กพิการ โรงเรียนมัธยมศึกษารับผู้จบลการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้เวลาเรียน 3 ปี โดยมีรูปแบบของการจัดการศึกษาหลายแบบ เช่น แบบสามัญทั่วไป แบบสามัญวิชาชีพ แบบสามัญทางศาสนร แบบสามัญบริการ และแบบการศึกษาพิเศษ การเลื่อนเกรดจะทดสอบลนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
           3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 16-18 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทอสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
           4. ระดับวิทยาลัยเทคนิคและโรงเรียนอาชีวศึกษา เปิดการเรียนการสอนใน 40 หลักสูตรที่หลากหลายในสาขา เทคโนโลยีและวิศวกรรม สาธารณสุข ศิลปะสารสนเทศเทคโนโลยีและการสื่อสาร อุตสาหกรรมการเกษตร ธุรกิจเกษตร ธุรกิจและการจัดการ
           5. ระดับอุดมศึกษา การศึกษาระดับสูง หรืออุดมศึกษา เป็นการขยายไปจากการศึกษรระดับมัธยมศึกษา ระดับปริญญาตรีใช้เวลาเรียน 3-4 ปี ปริญญาโท 2 ปี และปริญญาเอก 3 ปี สถาบันที่ให้การศึกษาระดับสูงนี้มีลักษระเป็นสถาบันวิชาการ โพลีเทคนิค สถาบันการศึกษาและมหาวิทยาลัย
           สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาง มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่ รครเวียงจันทน์ มีประชากร ประมาณ 6.8 ล้านคน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสุ่ทะเล ลาวมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบุรณื โดยมีผืนป่าและพื้นที่ทำการเกษตรขนาดใหญ่รวมทั้งมีแร่ธาตุต่างๆ และยังมีแหล่งน้ำสำหรับผลิตไฟฟ้าส่งออกที่สร้างรายได้ให้ประเทศอย่างมาก มีภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ
           หน่วยงานจัการศึกษาของลาว คือ กระทรวงศึกษาธิการล ลาวให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาเศรษบกิจและสังคมของประเทศ ระบบการจัดการศึกษาประกอบด้วย การศึกษาในระดับอนุบาลและก่อนวัยเรยน และการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยุ่ในความดูแและรับผิดชอบของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
            ระบบการศึกษาของลาว มีดครงสร้างแบบ 5+3+3 โดยมีระบบกรศึกษาภาคบังคับ 5 ปี จากอายุ 6-10 ปี แบ่งได้เป็น
            1 ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาในประเทศลาวใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเร่ิมเข้าเรียนเมืออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป้นการศึกษาภาคลังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป็นการศึกษาระดับขั้นต้นของนักเรียนที่สามารถเข้าสูระบบการศึกษาได้ ตั้งแต่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 10 ปี ครอบคลุมระยะเวลา 5 ปี
            2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  เป้นช่วงการศึกษาที่สูขึ้นมาจากการศึกษาปฐมวัย ระยะเวลาเรียน 3 ปี ช่วงอายุนักเรียนอยุ่ระหว่าง 11-13 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักเรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ
         
  3 ระดับมัะยมศึกษาตอนปลาย เป็นช่วงการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุนักเรียนจะอยุ่ระหว่าง 14-16 ปี การเลื่อนเกรดนั้นจะทดสอบนักรียนโดยการทำข้อสอบระดับชาติ ในกรณีได้รับโควตาให้เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือข้อสอบระดับชาติ ในกรณีไม่ได้รับโควต้า
            4 ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค การอุดมศึกษาหรือการศึกษาชั้นสุงรวมถึงการศึกษาด้านเทคนิค อยุ่ในความดุแลและรับผิดชอบของกรมอาชีวและมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้นการศึกษาเฉพาะทางซึ่งอย่ในความดูแลของกระทรวงอื่น โดยเมือเด็กจบการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาแล้ว จะมีการคัดเลือกนักเรียนเพื่อเสนอกระทรวงศึคกษาธิการให้เด็กได้เข้าศึกาาต่อในระดับที่สูงขึ้น มหาวิทยาลัยใช้เวลาศึกษา 4-6 ปี การศึกษาสายอาชีพ ใช้เวบาศึกษา 3 ปี ในวิทยาลัยเทคนิคต่างๆ เช่นทางด้านไฟฟ้า ่ก่อสร้าง บัญชี ป่าไม้ เป็นต้น
             สหพันธรัฐมาเลเซียน มีเมืองหลวงตั้งอยุ่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มีประชากรประมาณ 30 ล้านคน (2014) มีการเติบโตทางเศราฐกิจอย่างต่อเนื่อ เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่มีเศราฐกิจด้าวหน้าแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นรองจากสิงคโปร์ มีภาษามเลย์ หรือมลายู เป็นภาษาราชการ ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม
             สถาบันการศึกาาส่วนใหญ่จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการสอน ระบบการเรียนการสอบแบบ ทวินนิ่ง โปรแกรม หรือหลักสูตรปรญญาร่วมระหว่งประเทศ ผุ้เรียนจะได้รับวุฒิปรญญาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับ ซึ่งเป็นระบบที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มประเทสสหราชอาณาจักร อังกฤษ อเมริกา ออสเตรเลีย และแคนาดา หน่วยงานจัดการศึกษาของมาเลีย คือ 1)กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะดูแลการศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยม และระดับเตรียมอุดมศึกษา 2) กระทรวงอุดมศึกษา ดูแลการศึกษาในระดับอุดมศึกาา แบ่งระดับการบริหารเป็น 5 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำเภอ ระดับกลุ่มโรงเรียนและระดับโรงเรียน การบริหารากรศึกษาระดับชาติอยุ่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลกลาง การศึกษาทุกประเภททุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเว้นการศึกษาที่มีลักาณะเป็นการศึกษานอกระบบ จะมีกรมจากกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป้นต้น
         
 ระบบการศึกษาของมาเลเซีย มีโครงสร้างแบบ 6+3+2 โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคัย 6 ปี จากอายุ 6-11 ปี แบ่งได้เป็น
             1 ระดับเตรียมความพร้อม คือ การศึกษาระดับอนุบาล ที่เป้ฯหลักสุตรเตรยมความพร้อมก่อนการเข้าสู่การศึกษาภาคบังคับ สำหรับเด็อายุ 4-6 ปี ซึ่งจากแผนแม่บทการศึกษามาเลเซีย เร่ิมให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาตั้งแต่ในระดับอนุลบาล ด้วยการกำหนดให้การศึกษาระดับอนุบาล เป็นส่วนหนึ่ของระบบการศึกษาชาติ
              ทั้งนี้ ในปี 2010 กระทรวงศึกษาธิการได้ลงประกาศข่าวของกระทรวงฯ ฉบับที่ 2 ว่า เงื่อนไขในการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนในระดับอุนบาล จะต้องเป็นเด็กสัญชาติมาเลย์เท่านั้น และจะทำการคัดเลือกโดยคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้ัวย ครูใหญ่ ผุ้ช่วยครูใหญ่ ครูผู้สอน ครูผุ้ช่วยและตัวแทนของชุมชนโดยสาเหตุของการจำกัดสัญชาติในการเข้าเรียนระดับอนุบาลนั้น เนื่องมาจากรัฐบาลมีการสนับสนนุเงินช่วยเหลือในการเล่าเรียน ทั้งค่าเล่าเรียน ค่าอาหาร ค่าช่วยเลหืออื่นๆ และค่าธรรมเนียมตะกาฟุล ซึ่งเป็นค่าธรรมเนียมการประกันตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติของมาเลเซีย
            2. ระดับปฐมวัย ระดับประุถมศึกษาในมาเลเซียใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเริ่มเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นกาดรศึกษาภาคบังคับ ในเกรด 1 ซึ่งเป้นการศึกษาระดับชั้นต้นของนักเียนที่สามารถเข้าสุ่ระบบการศึกษา
            3. ระดับมัธยมศึกษา เป็นการศึกษาต่อเนื่องจการะดับประถมศึกษาที่มีระยะเวลาในการเียน 5 ปี ซึ่งแบ่งการเรียนออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับ Lower... (from 1-3) และระดับ Upper.. (from 4-6) โดยในระดับ Upper.. นั้นจะแบงออกเป็น 3 สาขาวิชา คือ เนนด้านวิชาการ เน้นเทคนิค และเน้นด้านวิชาชีพ สำหรับนักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค เมื่อจบแล้ว จะต้องสอบผ่านข้อสอบของรัฐ สวนักเรียนในสายวิชาชีพ จะต้องสอบผ่าน SPMV
           หากสำเร็จการศึกษาในระดับนี้ นักรียนจะได้รับวุฒิเที่ยบเท่ากับ วุฒิการศึกษาที่ใช้แบแผนการเรียนการสอนระบบอังกฤและนักเรียนสามารถเลือกได้ว่าจะเรียนต่อในสายวิชาชีพ หรือเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
            4. ระดับหลังมัธยมศึกษาหรือเตรียมอุดมศึกษา หลังจากจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว นักเรียนที่เลือกเรียนทางสายวิชาการและสายเทคนิค และผ่านเกณฑ์การสอบSPM แล้ว จะได้รับการคัดเลือกให้เข้าเรยนต่อในระดับ เตรียมอุดมศึกษาซึค่งแบ่งหลักสุตรออกเป็น 3 สาขา ใช้เวลาเรียน 1-2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอง STPM ที่เที่ยบเท่ากับ 'A' Level ของอังกฤษ ซึ่งเป็นคุณวุฒิที่ได้รัยการทั้งในสภบันอุดมศึกษาในประเทศและต่างประเทศ
           
นอกจากนี้ นักเรียนยังสามารถเลือกเรียนหลักสูตร ที่ต้องสมัครเรียนโดยตรงกับทางสถบัน มีระยะเวลาในการเรียน 1 ปี การเรียนการสอนครอบคลุมความรุ้พื้นฐานในการเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย และเนื่อหาวิชาไม่ซับซ้อน แต่ผลการเรียนในหลักสุตรนี้ จะสามารถใช้เข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาภายในมาเลเซียได้เท่านั้น
            5. ระดับอุดมศึกษาและวิทยาลัยเทคนิค  ประกอบด้วยหลักสูตรต่างๆ หลากหลายสาขาวิชา และมีทั้งสถาบันของรัฐบาล และสภาบันของเอกชน ประกอบด้วย
              - หลักสูตรเซอฟิติเคทซ์ และหลักสูตร ดิโพลมา ซึ่งผุ้ที่้องการจะเรียนในหลักสูตรนี้ จะต้องสำเร็จวุฒิการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ผ่านเกณฑ์การสอบวัดระดับ SPM แล้ว
              - หลักสูตร ปริญญาตรี ผู้ที่จะเข้าเรียนหลักสูตรนี้ ต้องจบการศึกษาวุฒิเตรียมอุดมศึกษา หรือเที่ยบเท่า STPM หรือ GCE 'A' Level หรือเกณฑ์อื่นๆ ที่ทางสถบันกำหนดไว้
              - และหลักสูตร ระดับปริญญาโทและเอก ตามลำดับ...

                http://plan.rmutsb.ac.th/plan/data_information/file/1_IR_333.pdf
           



             

วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2560

๊ASEAN : University II

           ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม University of Brunei Darussalam มหาวิทยาลัยแห่งความเปิดกว้าง
           เมื่อกล่าวถึงสถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ถ้านั้บจริง ๆ มีไม่ถึง 10 แห่ง ซึ่งน้อยมากเมืองเที่ยบกับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของประเทศบรูไน ดารุซาลาม ที่นำความภาคภูมิใจมาให้ชาวบรูไน คือ มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม ที่นอกจากจาะเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ แล้ว ยังเป็นมหาวิทลายที่เก่าแก่และใหญ่ที่สุดใน
ประเทศอีกด้วยตั้งขึ้นในปี 1985 เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนที่พร้อมเปิดรับนักศึกษาจากต่างประเทศโดยเฉพาะในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเป็นนักศึกษาแลกเปลี่ยน ซึ่งในปัจจุบันมีนักศึกษาจาประเทศต่างๆ มากมายเข้าไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม รวมไปถึงประเทศจีน ญี่ปุ่น ตะวันออกกลาง ยุโรป และแอฟริกา ที่นับวันย่งิเพ่ิมจำนวนมากขึ้นอีกด้วย
             มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม จัดได้วามีความเช่ี่ยวชาญในด้านสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก ระบบการศึกษาของบรูไนดารุสซาลามมุ่งตอบสนองความต้องการของศตวรรษที่ 21 โดยเปิโอกาสให้ผุ้เรียนได้ มีโอกาสเลือกเรียนสาขาวิชาการต่างๆ ในระดับอุดมศึกาา ที่มีเป้าหมายในการสร้างสรรค์สันติภาพและความรุ่งเรืองของชาติ ดยกำหนดให้การศึกษาป็นหนึ่งใน 8 บุทะศาสตร์ที่สำคัญของประเทศอีกด้วย
             ประเทศเวียดนาม Vietnam National University, Hanoi มหาวิทยลับแหงชาติ, ฮานอย หนึ่งในเวียดนามที่ทุกชาตอต้องจับตามอง
              หากจะมาองหามหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศเวียดนาม ที่เรียกได้ว่าเป็นมหาวิทยาลัยชันนำและทันสมัยที่สุดในประเทศมีอยุ่ 2 แป่งด้วยกัน คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนามฮานอย และอีกแห่งหนึ่งอยุ่ในนครโฮจิมินต์ เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุด ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1945 ตั้งอยู่ใจกลางเมืองหลวงของประเทศ มีชื่อเดิมว่า "มหาวิทยาลัยอินโดจีน" ซึงทั้ง 2 มหาวิทยาลัยแห่งชาตินี้ยังมีความร่วมมือทางวิชาการกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน การส่งนักศึกษาแลกเปลี่ยน การให้ทุนการศึการระหว่างมหาวิทยาลัยเพื่อนบ้านอาเซียนด้วยกัน รวมถึงการวิจัยร่วมกันในระดับนานาชาติอีกด้วย
            นอกจากนี้รัฐบาลยังให้ความสำคัญ ด้ยการต้้งโรงเรียนเฉาพะทางเพื่อเปิดรับนักศึกษาที่มีพรสวรรค ซึ่งเป้นเครือข่ายของทางมหาวิทยาลัยเอง มีการเปิดสอนวิชาที่สอนเป็นภาษาอังกฤษไว้รองรับนักเรียนแลกเปลี่ยนจากต่างชาติหลายหลักสูตร หากใครสนใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทบาลัยแห่งนี้ต้องผ่านการคัดกรองจากมาตรฐานในการสอบเข้าของมหาวิทยาลัยโดยตรงอย่างไรก็ตามประเทศเวียดนามเป้นประเทศที่เน้นเรื่องนโยบายการศึกษาชาติมากที่สุดชาติหนึ่งจึงเป้ฯประเทศที่น่าจับตามองในเรื่องการพัฒนาอย่างรวดเร็วในอนาคตข้างหน้า
            ประเทศพม่า University of Yangon มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ระบบเมืองผุ้ดีอังกฤษ
           
 พม่าเป็นอีกหนึ่งประเทศในเอเชยตะวันออกเแียงใต้ที่ยึดการจัดการศึกษาใระดับอุดมศึกษาตามแบบอย่างประเทศอังกฤษ ซึ่งได้วางรากฐานมาตั้งแต่ยุคอาณานิคม ดังนั้นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดของพม่าที่เราอยากแนะนำให้ทุกครรู้จักนั้นก็คือ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง โดยเริ่มก่อสร้างขึ้นเมือปี ค.ศ. 1878 ในการเริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ก็ได้มีการนำระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มาใช้ ที่เห้ฯได้ชัดคือมีระบบบ้านพัก ซึ่งบ้านพักนักศึกษา ปัจจุบันเปิดสอนทั้งในระบบปริญญาตรี โท และเอก ครอบคลุมทุกสาขา และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมเครือข่ายอาเซียน
            ระบบการศึกาาในประเทศพม่าแม้ว่าจะมีการวางรากฐานการศึกษาไว้ได้ดีเพียงใด แต่คุณภาพของการศึกษาก็เร่ิมทรุดลงนับตั้งแต่คณะปกครองทหารผลัดกันเข้ากุมอำนาจปกครองประเทศ และทางรัฐบาลพม่าเองกำลังวางแผนยกระดับมหวิทยาลัยบางแห่งให้มีศักยภาพสูงเพื่อให้ได้มาตรฐานสามารถติดอันดับต้นๆ มหาวทิยาลัยในย่านเอเชียให้เร็วที่สุด หลังจากที่ปิดประเทศมาเป็นเวลาน่าน ซึ่งหนึ่งในมหาวิทยาลัยแห่งความหวังของประเทศพม่านั้นก็คือ มหาวิทยาลัยย่างกุ้งนั้นเอง
            ประเทศลาว Nation Universy\ity of Loas มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว หนึ่งเดียวแห่งความภาคภูมิใจ
             ประเทศลาวมีมาหวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงเป็นอันดับหนึ่ง และดีที่สุดในประเทศเช่นกัน คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ตั้งอยู่ที่กรุงเวียงจันทน์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติดพียงแห่งเดียวของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเป็นหนึ่งในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเวียนโดยให้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากประเทศต่างๆ มากมาย อย่างประเทศไทย และนานาประเทศอย่างมหาลัยในประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย
            ระบบการศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาง ก็จะมลักษระคล้ายๆ กับประเทศไทย เปิดสอนอยู่ สองหลักสูตร คือ ประกาศณียบลัตรวิชาชีพชั้นสุง (ปวส) และระดับปริญญาตรี ส่วนปริญญาโท ปริญญาเอก ยังไม่เปิดสอนในประเทศลาว
             ประเทศกัมพูชา Royal University of Phaom Penh มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ ศักดิ์ศรีระดับชาติ
            มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุด และมีคุณภาพในด้านวิชาการแลกงานวิจัยระดับประเทศของประเทสกัมพุชา ได้แก่ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ เดิมมีชื่อว่ามหาวิทยาลัยภูมินทร์เขมร ตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ นอกจากนั้นยังเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุด โดยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมือปี ค.ศ. 1960 ความสำคัญของมหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญเทียบเท่ากับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติกัมพุชาก็วาได้ เพราะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลกัมพุชาเป็นอย่างดี และมีกระทรวงศึกาาธิการเยาชนและการกีฬากัมพุชา เป็นผุ้ควบคุมดุแลและสนับสนุอย่างใกล้ชิด และเป้นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่สำคัญของเครือข่ายมหาวิทยลัยอาเซียน
           สาขาวิชาส่วนใหญ่ของมหาวิทยาลัยุมินทร์พนมเปญ จะเปิดสอนเป็ฯภาษาอังกฤษและมีหลายหลักสูตรจัดสอนในภาษาฝรั่งเศส มีหลักสูตรระดับปรเญญาที่ครอบคลุมในสาขาต่างๆ อย่างครบถ้วน นอกจากนั้นยังมีหลักสุตรวิชาชีพ และหลักสูตรทางภาษาต่างประเทศที่มีชื่เสียงของมหาวิทยาลัยอีกด้วย...www.manager.co.th/campus/viewnews.aspx?NewsID=9570000053338

วันศุกร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2560

๊ASEAN : University

               การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ การศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือ มหาวิทยาลัย ของแต่ละประเทศประกอบด้วย
           สิงคโปร์ Nation University of Singapore (NUS) มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงค์โปร
           สิงคโปร์ได้ชื่อว่าม่มาตรฐานทางด้านการศึกษาที่ดี่ที่สุดในอาเซียนและมีมหาลัยชั้นนำ ติดอันดับ Top 5 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในเอเชียมาเป็นเวลายาวนานและมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ก็เป็นหนึ่งมหา'ลัยของดังกล่าว และติดอันดับที่ 26 มหาวิทยาลัยที่ดี่ที่่สุดของโลด (2013-2014)
            มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์เป็นมหาวิทยับที่เก่าแก่ที่สุด ตั้งอยุ่บนเกาะเล็กๆ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1905 มีระบบการศึกษาที่รับมาจากประเทศอังกฤาและสหรัฐอเมริกา ำให้ NUS มีการสอนแบ่งเป็ฯ 2 ระบบคือ การสอนในกลุ่มเล็ก (หรือกวดวิชา) และการสอนแบบสะสมหน่วยกิต (แบบเครดิท) แบบประเทศสหรัฐอเมริกา และที่สำคัญค่าเล่าเรียนสำหรับนักศึาษาต่างชาติต่อปีของมหาวิทยาลัยค่อนข้างถูก ประมาณ 4,000 ดอลล่าร์ ต่อปี (ประมาณ 120,000 บาท) อีกทั้งยังขึ้นชื่อเรืิ่งสังคมวัยรุ่นที่มีแหล่งท่องเที่ยวและย่านการต้าที่มีชื่เสียงเหมาะกับนักเรียนต่างชาติเช่นนักเรียนอาเซียนเป็นอย่างมาก จึงทำให้นักเรียนเอเชียแห่ไปศึกษาต่อยังประเทศสิงคโปร์ ด้วยมาตฐานการศึกษาที่ดีมากติดอันดับโลก และค่าเล่าเรียนที่ค่อนข้างถูกรวมถึงีทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาต่างชาติอีกมากมาย
           มาเลเซีย University Malaya มหาวทิยาลัยมาลายา เเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยที่ได้รับอิทธิพลของยุคอาณานิคม ที่ประเทศอังกฤษเข้ารมามีสวนร่วมในการวางรากฐานทางการศึกษาให้กับระเทศ จัดตั้งขึ้นโดยประเทศอังกฤษตั้งแต่ปี 1905 เดิมอยู่ในสิงคโปร์ แล้วย้ายมาตั้งที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ภายหลังจากแยกประเทศหลังทศวรรษ 1940 ซึ่งยบังหลงเหลือมรดกความเป็ฯประเทศอาณานิคมคือการคงชื่ีอ
"Malaya" ไว้ ถือเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยแห่งความภาคภุมิใจของชาวมาเลเซียที่ได้สร้างชื่อเสียงจากการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยโลก ประจำปี ค.ศ. 2012-2013 ในอันดับที่ 156 ของโลก และเป็นหนึ่งในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่มีมาตรฐานทางการศึกษาที่ค่อนข้างสุง แต่ค่าเล่าเรียนไม่แพงอย่งที่คิด
            นักศึกษาที่ประเทศมาเลเซียจะมีช่วงอายุที่เข้าสู่การเรียนในระดับอุดมศึกษาที่เร้ซกว่าประเทศอื่นๆ ทำให้นักศึกษาที่นี่จบปริญญาตรีกันตั้งแต่อายุยังน้อย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยมาลายายังขึ้นชื่อในเรื่องการเป็ฯศูนย์เรียนรุ้และวิจัยด้านเอเชียแปซิฟิกอของภูมิภาคที่น่าสนใจคือมีพิพิธภัณฑ์ที่เป็นแหล่งการเรียนรู้ถึง 7 แห่งด้วยกัน ในบรรดากลุ่มชาติมุสลิมในอาเซียน ต้องถือว่าประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่เปิดหว้างในเรื่องการศึกษาในแบบของนานาชาติ อีกทั้งยังมีส่ิงแวดล้อมในการเรียนของนักเรียนต่างชาติที่เหมาะสมไม่เป็นสองรองใครอีกด้วย
             ประเทศไทย King Mongkut's University of Technology,Thonburi มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเหล้าธนบุรี หรือมหาวิทยาลัยบางมด มหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศไทยมีอยุ่หลายมหาวิทยาลัย และได้รับการการันตีจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับดลกมาแล้ว เป็นการจัดอันดับมหาวิทยลัยตามสาขาวิชา ปี 2014 ซึ่งใน 100 อัดับก็จะมีมหาวิทยาลัยชั้นนำของไทยติดอันดับโลกแทบทั้งสิ้น แต่หากจะนับจากเกณฑ์มาตรฐานมหาวิทยาลัยระดับโลกจากสำนักจัดอันดับมหาวิทยาลัยชื่อดังของประเทศอังกฤษ มหาวิทยาลัยในไทยที่ไม่แพ้ชาติใดในโลกที่เป็นเพียงมหาวิทยาลัยเดียวที่ติดอันดับ 1 ใน 400 มหาวิทยาลัยจากทั่วโลกนั่นก็คือ " มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเหล้าธนบุรี" หรือ "ม.บางมด" มหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของไทยและอันดับสามของอาเซียน ประจำปี 2013-2014 ติดอันดับโลกของ THE 2 ปีติดต่อกันขยับขึ้นมาอยุ่นกลุ่ม 301-350 ของโลก ถือเป็นมหาวิทยาลัยดีเลิศด้านการวิจั และมีการเรียนการสอนที่ดีเยื่ยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกมหาวิทยาลัยหนึ่ง
             ประเทศอินโดนีเซีย Universitas Indonesia มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย
             ประเทศอินโดนีเซียเป้นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเล๊ยตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และยังเป็นประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกอีกด้วย ในด้านการศึกษาประเทศอินโดนีเซียแตกต่างจากประเทศอื่นๆ ในเอเซีบตะวันออกฌแีงใต้เป็นอย่างมาก คือจะไม่เน้นไปที่ภาษาต่างประเทศมากนัก แต่จะให้ความสำคัญในเชิงของศาสนา
อิสลามมากว่า มหาวิทยาลัยของประเทศอินโดนีเซียจึงมีไม่กีแห่งที่เป้นที่รู้จักของเพื่อร่วมอาเซียนด้วยกัน และมหาวิทยาลัยที่เป็นที่สุดของประเทศอินโดนีเซียคือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซีย ที่ต้งอยุ่ในเมืองหลวงจาการ์ต้า ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1849 เป็นมหาวิทยาลัยภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลอินโดนีเซีย หนึ่งในมหาวิทยาลัยภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ที่สนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาประเทศต่างๆ
            มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซีย หรือ UI ถือเป็นมหวิทยาลัยชั้นนำของโลก และใมีเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก เพื่อร่วมมือกันในการวิจัยและพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้มหาวิทยาลัยแห่งชาติอินโดนีเซียยังได้รับรางวัลสถาบันการศึกษาสีเขียวที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่สุดในโลก ประจำปี 2013 อยุในอันดับที่ 4 ของเอเชีย และอันดับที่ 5 เป็ฯมหาวิทยาลัยมหิดลของประเทศไทยเรานั้นเอง
             ฟิลิปปินส์ The University of the Philippines (U.P.)
             ประเทศฟิลิปปินส์จัดเป็นประเทศที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในอาเซียน รวมถึงหลักสุตรการศึกษาที่ทันสมัย ได้รับต้นแบบมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา ดังนั้นมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศฟิลิปปินส์ที่หลายๆ คนกล่าวถึงในเรื่องมาตรฐานที่ดีที่สุดนั่นคงหนีไม่พ้น มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติและเป็นอันดับ 1 ของประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1908 อยู่ที่ Quezon City เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลับที่เข้าร่วมเครื่อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน จัดการเรียกนการสอนตามหลักศูตรอเมริกาฯ ในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชียมักจะได้รับอิทธิพลจากประเทศ อังกฤษ ฝรั่งเศส  หรือเนเธอร์แลนด์ ซึ่งการศึกษาในรูปแบบอเมริกานี้มีส่วนช่วยให้เกิดการตื่นตัวทางสังคม และเกิดปัญญาชนในประเทศฟิลิปปินส์
            นอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษา บางวิชาจะสอนเป็นภาษาอังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาฟิลิปปินส์ แม้ว่าในช่วงหลายสิบปีทีผ่านมาประเทศฟิลิปปินส์จะเกิดปัญหาในด้านการเมืองมาตลอด ทำให้ยังไม่สามารถพัฒนาเรื่องการศึกษาได้ดีเท่าที่ควร แต่ด้วยพื้นฐานในด้านการศึกษาที่งางรากฐานมาได้เป็นอย่างดี รวมถึงเรืองของการใช้ภาษาอังกฤษได้ดีทำให้ชาวฟิลิปปินส์ที่จบการศึกษามายังเป้ฯที่ต้องการในตลาดแรงงานของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างมาก...( To Be Contineus..)....www.manager.co.th/campus/viewnews.aspx?NewsID=9570000053338

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...