วันศุกร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2560

Forest resources

            ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรชาติที่มีความสำคัญอย่างย่ิงต่อส่ิงมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ เพราะป่าไม้มีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัยสี่ คื ออาการ เครื่องนุ่งห่ม ที่อยุ่อาเศียและยารักษาโรคสำหรับมนุษย์ และยังมีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัยสี คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาเสัยและยารักษาโรคสำหรับมนุษ์ และยังมีประโยชน์ในการรักษาสมดุลของิ่งแวดล้อม ถ้าป่าไม้ถูกทำลายลงวไปมาก ๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น สัตว์ป่า ดิน น้ำ อากาศ ฯลฯ เมื่อป่าไม้ถูกทำลาย จะส่งผลไปถึงดินและแหลง้ำด้วย เพราะเมื่อเผาหรือถางป่าไปแล้ว พื้นดินจะโล่งขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะล้างหน้าดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนั้นเมื่อขาดต้นไม้คอยดูดซับน้ำไว้น้ำก็จะไหลผ่าท่วมบ้านเรื่อน และที่ลุ่มในฤดู้ำหลากพอถึงฤดูแล้งก็ไม่มีน้ำซึมใต้ดินไว้หล่อเี้ยงต้นน้ำลำธารทำให้แม่น้ำมีน้ำน้อย ส่งผลกระทบต่อมาถึงระบบเสราฐกิจและสังคม เช่น การขาดแคลนน้ำในการชลประทาฯทใไ้ทำนาไม่ไ้ผลจขาดน้ำมาผลิตกระแสไฟฟ้า
         
ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย ประเภทของป่าไม้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการกระจายของฝน ระยะเวลาที่ฝนตกรวมท้งปริมาณน้ำฝนทำให้ป่าแต่ละแห่งมีความชุ่มชื้นต่างกัน สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
           - ป่าประเภททีไม่ผลัดใบ เป็นป่าทีมองดุเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ขึ้นอยู่เป้นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่าชนิดสำคัญซึงจัดอยุ่ในประเภทนี้ ได้แก่
              ป่าดงดิบ ซึ่งมักกตะจายอยู่บริเวณที่มีความชุ่มชื้นมากๆ เช่น ตามหุบเขาริมแม่น้ำลำธาร ห้วย แหล่งน้ำ และบนภูเขา ซึ่งสมาถแยกออกเป็นป่าดงดิบชนิดต่างๆ ดังนี้
              ป่าดิบชื้น เป้ฯป่ารกที่มองดูเขียวชอุ่มตลอดปีมีพันธุ์ไม้หลายร้อยชนิดขึ้นเพบียดเสียดกันอยู่มักจะพบกระจัดกระจายตั้งแต่ความสุง 600 ม. จากระดับน้ำทะเล ไม้ที่สำคัญคือ ไม้ตะกูฃยางต่างๆ เช่น ยางนา ยางเสียน ส่วนไม้ชั้นรอง คือ พวกไม้กอ เช่น กอน้ำ กอเดือย
              ป่าดิบแล้ง เป้ฯป่าที่อยู่ในพื้นที่ค่อยข้างรา่บมีความชุ่มชื้นน้อย เช่น ในแถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉอียงเหนือมัอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ที่สำคัญได้แก่ มะคาโมง ยางนา พยาม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสือ
              ป่าดิบเขา ป่าชนิดนี้เกิดขคึ้นในพื้นที่สูงๆ หรือบนภูเขา ตั้งแต่ 1,000-1,200 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ำทะเล ไม้สวนมากเป็นพวก ยีนโมโนสเปริม ได้แก่ พวกไม้ขุนและสนสามพันปี นอกจากนี้ยังมีไม้ตระกูลกอขึ้นอยู่ พวกไม้ชั้นที่สองรองลวมาได้แก่ เป้ง สะเดาช้าง และขมิ้นต้น
           
 ป่าสนเขา ป่าสนเขามักปรากฎอยู่ตามภูเขาสูงส่วนใหญ่เป็ฯพื้นที่ึ่งมีความสูงประมาณ 200-1,800 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ำทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันอกเฉียงเหนือ บางที่อาจประากฎในพื้นที่สูง 200-300 เมตร จากระดับน้ำทะเลในภาคระวันอกเแียงใต้ ป่าสนเขามัลักษณะเป้ฯป่าโปร่ง ชนิดพันธุ์ไม้ที่สำคัญของป่าชนิดนี้คือ สนสองใบ และสนสามใบ ส่วนไม้ชนิดือื่นที่ขึ้นอยู่ด้วยได้แก่พันธุ์ไม้ป่าดิบเขา เช่น กอชนิดต่างๆ หรือพันธ์-ม้ป่าแดงบางชนิด คือ เต็ง รัง เหนียง พลวง เป็นต้น
             ป่าชายเลน บางที่เรียกว่า "ป่าเลนน้ำเค็ม" หรือป่าเลน มีต้นไไม้ขึ้นหนาแน่นแต่ละชนิดมีรากค้ำยันและรากหายใจ ปาชนิดนี้ปรากฎอยู่ตามที่ดิจและริมทะเลหรือบริเวณปากน้ำแม่น้ำใหญ่ ๆ ซึ่งมีน้ำเค็มท่วมถึงในพื้นที่ภาคใต้มีอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั้งสองด้าน ตามชายทะเลภาคตะวันออกเมีอยู่ทุกจังหวัด พันธ์ไม้ที่ขึ้นอยุ่ตามป่าชายเลน ส่วนมากเป้ฯพันธุ์ไม้ขนาดเล็กใช้ประโยชน์สำหรับการเผาถ่านและท่ำฟืนไม้ชนิดที่สำคัญ คือ โกกาง ประสัก ถั่วขาว ถัวขำ โปรง ตะบุน แสมทะเล ลำพูนและสำแพน ฯลฯ สวนไม้พื้นล่างมักเป้ฯพวก ปรงทะเลเหวือกปราหมอ ปอทะเล และเป้. เป็นต้น
             ป่าพรุนหรือป่าบังน้ำจืด ป่าชนิดนี้มักปรากฎในบริเวณที่มีน้ำจือดท่ามมากๆ ดินระบายน้ำมไ่ดีป่าพรุในภาคกลาง มีลัษณะโปร่งและมีต้นไม้ขึ้อยู่ห่าง ๆ เช่น ครอเที่ยน สนุ่น จิก โมกบ้าน หวายน้ำ หยายโปร่ง ระกำ อ้อ และแขม ในภาคใต้ป่าพรุมีขคึ้นอยู่ตามบริเวณที่มีน้ำขึงตลอดปี ดินป่าพรุที่มีเนือที่มากที่สุดอยู่ในบริเวณจังหวัดนรธิวาสดินเป็นพท ซึ่งเป็นซากพืชสลายทับถมกัน เป็นเวลานานป่าพรุแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบริเวณซึ่งเป็นพรุน้ำกรอ่ยใกล้ชายทะเลต้นเสม็ดจะขั้นอยุ่หนาแน่นพื้นที่มต้นกกชนิดต่างๆ เรียก "ป่าพรุเสม็ด หรือ ป่าเสม็ด" อีกลักษณะเป็นป่าที่มีพันธ์ไมต่างๆ มากชนิดขึ้นประปนกัน ชนิดพันธุืไม้ที่สำคัญของป่าพรุ ได้แก่ ทินทนิล น้ำหว้า จิก โสกน้ำ กระทุ่มน้ำกันเกรา โงงันกระทั่งหัน ไม้พื้นล่างประกอบด้วย หวาย ตะค้ำทาองหมากแดง และหมากชนิดอื่นๆ
             ป่าชายหาด เป็นป่าโปร่งไม้ผลัดใบขึ้นอยู่ตามบริเวณหาดชายทะเล น้ำไม่ท่วมตามฝั่งดินและชายเขาริมทะเล ต้นไม้สำคัญที่ขึ้นอยู่ตามหาดชายทะเล ต้องเป็นพื้ชทนเค็ม และมักมีลักาณะไม้เป็นพุ่มลักษณะต้นคดงอ ใบหนาแข็ง ได้แก่ สนทะเล หูกลาว โพธิ์ทะเล  กระทิง ดินเป็ดทะเล หยีน้ำ มักมีต้นเตยและหญ้าต่างๆ ขึ้นอยู่เป็นไม้พื้นล่าง ตามฝั่งดินและชายเขา มักพบไม้เกตลำบิด มะคาเต้ แระบองเพชร เสมา และไม้หนามชนิดต่างๆ เช่น ชิงชัง หนามหัน กำจาย มะดันขอ เป็นต้น
         
 - ป่าประเภทผลัดใบ ต้นไม่ที่ขึ้นอยู่ในป่าประเภทน้ลี้เป็นจำพวกผลัดใบแทบทั้งสิ้น ในฤดูผนป่าประเภทนี้จะมองดูเขียวชอุ่มพอถึงฤดูแล้งต้นไม้ ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบทำให้ป่ามองดูโปร่งขึ้น และมักจะเกิดไฟผ่าเผาไหม้ใบไม้และต้นไม้เล็กๆ ป่าชนิดสำคัญซึ่งอยู่ประเภทนี้ ได้แก่
                ป่าเบญจพรรณ ป่าผลัดใบผสม หรือป่าเบญจพรรณมีลักษณะเป็ป่าโปร่งและยังมีไม้ไผ่ขชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่กระจัดกระจายทั่วไปพื้นที่ดินมักเป็นดินร่วนปนทราย ป่าเญจพรรณ ในภาคเหนือมักจะมีไม้สักขึ้นปะปนอยู่ทั่วไปครอบคลุมลมาถึงจงหวัดกาญจนบุรี ในภาคกลางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก มีป่าเญจพรรณน้อยมากและกระจัดกระจาย พันธุ์ไม้ชนิดสำคัญได้แก่ สัก ประดูดแดง มะค่าโมง ตะแบก สเลา อ้อยชาง ส้าน ยม ห่อม ยมหิน มะเหลือ สมฬง เก็ตดำ เก็แง ฯลฯ นอกจากนี้ไม้ไผ่ที่สำคัญ เช่น ไผ่ป่า ไผ่บง ไผ่ชาง ไผ่รวก ไผ่ไร เป็นต้น
               ป่าเต็งรัง หรือที่เรียกกันว่าป่าแดง ป่าแพะ ป่าโคก ลักษณะทั่วไปเป็นป่าโปรง ตามพื้นป่ามักจะมีโค ต้นแปรง และหญ้าเพ็ก หืพ้นที่แห้งแล้งดินร่วมปนทราย หรือกรวด ลูกรัง พบอยู่ทั่วไปในที่ราบและที่ภูเขา ในภาคเหนือส่วนมากขึ้นอยุ่บนเขาทีั่มีดินตื้นและแห้งแล้งมากที่าภคาตะวันอกเแียงเนือ มีป่า แดงหรือป่าเต็งรังนี้มากที่สุด ตามเนินเขาหรือที่ราบดินทรายชนิดพันธุ์ไม้ที่สำคัญในป่าแดง หรือป่าเต็งรักง ได้แก่ เต็ง รังเหนียง พลวง กรวด พะยอม ติ้ว แต้ว มะเค่าแต ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบก เลือดแสดงใจ รกฟ้า ฯลฯ ส่วนไม้พื้นล่างที่พบมา ได้แก มะพร้าวเต่า ปุ่มแป้ง หญ้า เพ็ก โจด ปรุงและหญ้าชนดอื่นๆ
              ป่าหญ้า ป่าหญ้าที่อยุ่ทุกภาคบริเวณป่าที่ถุกแผ้วถางทำลายบริเวณพื้นที่ดินที่ขาดความสมบูร์และถูกทอดท้อง หญ้าชนิดต่างๆ จึงเกิดขึ้นทแดทนและพอถึงหน้าแล้งก็เกิดไผไหม้ทำให้ต้นไม้บริเวณข้างเคียงล้มตาย พื้นที่ป่าหญ้าจึงขยายมากขึ้นทุกปี พืชที่พบมากที่สุดในป่าหย็าก็คือ หญ้า หย็าขนตาชาง หญ้าโขมง หญ้าเพ็กและปมแป้ง บริเวณที่พอจะมีความชื้นอยู่บ้าง และการระบายน้ำได้ดีก็มักจะพบพงและแซมขึ้นอยู่ และอาจพบต้นไม้ทนไฟขึ้นอยู่  เช่น ดับเต่า รกฟ้าตามเหลือง ติ้วและแต้ว web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/forest/forestn.htm
                ประเทศในภูมิภาคอาเซียนมีพื้นที่ป่าประมาณ 2 ล้านตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 42.7 ของพื้นที่ทั้งหมดแต่อย่งไรก็ดี แนวโน้มที่ผ่ามมาคือเกือบทุกปะเทศล้วนมีสัดส่วนพื้นที่ป่าที่ลดลง และหากพิจาณรถึงพื้นที่อนุรักาณ์ ประเทศที่มีพื้นที่อนุนรักษ์สูงที่สุด คือประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีพื้นทีอนุรักษ์ประมาณ  247,269 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือประเทศไทย และฟิลิปปินส์ ตามลำดับ แต่เมือพิจารณาถึงสัดส่วนของพื้นที่อนุรักษ์ ต่อพื้นที่ทั้งหมดของประเทศแล้ว ประเทศที่มีสัดส่วนของพื้นที่อนุรักษ์สูงที่สุด  ือประเทศกัมพูชา โดยมีสัดส่วนอยู่ที่อระมาณร้อยละ 23.5 ของพื้นที่ประเทศ รองลงมาคือประเทศไทย และฟิลปปินส์ ตามลำดับ หากพิจารณาทรัพยการป่าายแลน จะพบว่าแทบทุกประเทศมีพื้นที่ป่าชายเลนที่ลดลงจาในอดีต การอนุรักษ์พื้นที่ป่าชายเลนจึงหลายเป็นประเด็นการอนุรักษ์ที่สำคัญในภูมิภาคอาเซียน

            พื้นที่ป่าไม้ในประเทศอาเซียน


             สัดส่วนของพื้นที่คุมครองต่อสัดส่วนของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ


            พื้นที่ป่าชายเลน เปรียบเทียบ ค.ศ. 1980 และ 2005


               mnre.stage.symetr.com/th/asean-environment-natural-resources/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89/

              อาเซียนให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม โดยระบุไว้ใน พิมพ์เขียวความร่วมมืออาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม ในหมวดที่่  D ว่าด้วยความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดยในข้อ D 11 "ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน" โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ในภูมิภาคอาเวียนอย่างยั่งยืนและขจึดกิจกรรมยั่งยทน รวมถึงการดำเนินการปราบปรามการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ การถ่ายโอนเทคโนโลยี และส่งเริมการตระหนักรับรู้และส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายและธรรมาภิบาล
              โดยมีมาตรการ คือ
               i. ดำเนินตามแผนงานยุทธศาสตร์ของมาตรการความร่วมมือของอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านป่าไม้ ปี 2548-2553
               ii. สนับสนุนการวางแผนเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่งยั่งยืนและการจัดการเรืองป่าในอาเซียน
               iii. เสริมสสร้างการจัดการสังคมและวัฒนธรรมในด้านปัญหาการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการขจัดความยากจนและการปฏิบัติที่ผิดกฎหมาย เช่น การคอร์รัปชั่นและการฟอกเงิน
              iv. สนับสนุนข้อริเร่ิมระดับโลกและรดับภูมิภาคในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ทำลายป่าและการแผ้วถางป่า และเพื่อส่งเสริมการปลูกป่า และฟื้นฟูพื้นที่ป่าภายใต้ความพยายามของกำไกการพัฒนาที่สะอดา เพื่อกำหนดแรงจูงใจและความช่วยเหลือที่เหมาะสมระหวางประเทศ
              v. สรับสนุนข้อริรเ่มระดับภูมิภาคที่เกี่ยวกับป่าไม้ เช่นข้อริเร่ิมเรื่องการปลูกป่าในใจกลางบอร์เนียว หุ้นส่วนป่าแห่งเอเชีย และเครือข่ายเอเชีย-แปซิฟิก เพื่อการจัดการและการฟื้นฟูป่าอย่างยั่งยืนรวมทั้งความพยายามระดับโลก เช่น ป่าไม้ 1 เวที
             
vi. เสริมสร้างขีดความสามารถและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการวิจัยและการพัฒนาด้านป่าไม้เพื่อบรรลุการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
              vii. เสริมเสร้างความร่วมมือในอาเซียนและร่วมกันจัดการปัญหาเรื่องป่าไม้ทั้งในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศเพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาหุ้นส่วนระดับโลกเพื่อการพัฒนา
              viii. ส่งเสริมการจัดการป่าไ้ รวมทั้งการดำรงชีวิตในชุมชนที่อยู่ในบรเเวณป่าและพื้นที่รอบๆ ป่าให้มีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนของป่าไม้และความเจริญรุ่งเรื่องของประชาชน
              ix. ส่งเสริมการขัดแนวปฏิบัติการที่ไม่ยั่งยืนและที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย
              x. เสริมสร้างการดำเนินการเรื่องการบังคับใช้กฎหมายด้านป่าไม้และ ธรรมาภิบาลเพื่อบรรลุการจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและเพื่อช่วยสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหัสวรรษ รวมทั้งการขจัดและการต่อสู้กับกระบวนการลักลอบตัดไม้ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้อง รวมทัี้งการขจัดแนวปฏิบยัติที่ผิดกฎหมายเลช่นในเรื่องคอร์รัปชั้นและการฟอกเงิน
              xi. ตำเนินการตามแผนงานนการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเสริมสร้างป่าและธรรมาภิบาลในอาเวียน ปี 2551-2558 mnre.stage.symetr.com/th/ascc/d11/
           

วันพฤหัสบดีที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2560

Global warming

             ปรากฎการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใหล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
             ในช่วง 100 ปี ที่ผ่านมา นับถึง พงศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉพลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.75 (บวก, ลบ) 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหวางรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า "จากการสังเกตการณืการเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) คอนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพ่ิมความเข้มของ
แก๊สเรือนกระจก ที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่ เป็นผลในรูปของปรากฎการณ์เรือนกระจก ปรากฎการธรรมชาติบาองอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุรหภูิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมาข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการับรองโดยสมาคมและสภาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประทศอุตสาหกรรมต่างๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงสวนใหญ่ของนักวิทยาศาสต์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิ อากาศของโลกโดยตรงเห้ฯด้วยกับข้อสรุปนี้  
         
แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึคง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544-2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสภานการณ์แบบต่างๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปทีช่วงเวลาถึงเพียงปี พงศ. 2643 แต่ความร้อนจะยังคงเพ่ิมขึ้นและระดับน้ำทะเลก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษ แม้ว่าระดับของแก๊สเรือนกระจกจะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูิและระดับน้ำทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจากความจุความร้อนของน้ำในมหาสมุทรซึ่งมีค่าสุงมาก
           การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทำให้เกิดภาวะลมฟ้าอากาศสุโต่ง ที่รุแรงมาขึ้นปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้ำฟ้า จะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่นๆ ของปรากฎกาณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารน้ำเเข็ง การสูยพันธุ์พืช-สัตว์ต่างๆ รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่างๆ เพ่ิมมากขึ้น  th.wikipedia.org/wiki/ปรากฏการณ์โลกร้อน
          การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงการกระจายทางสถิติของรูปแบบสภาพอากาศเมื่อกาเรปลี่ยนแปลงนั้นกินเวลานาน (เช่น หลายสิบปีถึงหลายล้านปี) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเฉลี่ย หรือความแปรผันของเวลาของสภาพอากาศเกี่ยวกับภาวะเฉลี่ยที่กินเวลานาน (คือ มีเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้นมากขึ้นหรือน้อยลง) การเปลี่ยนแปลวภุมิอากาศมีสาเหตุจากปัจจัยอย่งกระบวนการชีวนะ ความแปรฝันของรังสีดวงอาทิตย์ที่โลกได้รับ การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค และการปะทุของภูเขาไฟ กิจกรรมบางอย่างของมนุษย์ยังถูกระบุว่าสาเหตุสำคัญของการเปลี่ยนแปลงภูมิอาเกาศลาสุด มักเรียกว่า "โลกร้อน"
           ตามความหายของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)) หรือหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่สามารถพิสูจน์ได้างสถิติของสภาพภูมิอากาศจากภาวะปกติหรือเกินไปจากความแปรผันตามธรรมชาติและากรเปลี่ยนไปนั้นมีความต่อเนื่องยาวนานเกินทศวรรษ ซึ่งสามารถเกิดได้จากการเปลี่ยนแปลงตามะรรมชาติหรือการเปลี่ยนแปลงจากกิจกรรมของมนุณย์
          ความหมายจากกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC)) ที่ให้ความหมายว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเป็นผลทางตรง หรือทางอ้กมจากิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้องค์ประกอบของบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป นอกเหนือจากความผันแปรตามธรรมชาติ th.wikipedia.org/wiki/การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
         ประชาคมโลกตอสนองต่อปัญหานี้ดังนี้
          ในการประชุมภูมิอากาศโลกครั้งแรก ซึ่งจัดขึ้นที่เจนีวประเทศวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 12-23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 นักวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักถึงปัญหารเปลี่ยนแปลงภูมิแอากาศของโลก การประชุมครั้งนี้เน้นถึงเรื่องผลกระทบของการปลี่ยนแปลงภูมิากาสที่มีต่อมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ และเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลงและป้องกันการกระทำของมนุษย์เอง นอกจากนี้ยังได้วางแผนจัดตั้ง "แผนงานภูมิอากาศโลก" ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ และ International Council of Science Unions หรือ ICSU
          หลังจาก พ.ศ. 2522 เป็นต้นมาได้มรการประชุมระหว่าประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีกหลายครั้ง ซึ่งการประชุมเหล่านี้ช่วยให้ประเทศต่างๆ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศมาขึ้น ผุ้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผุ้กำหนดนโยบายในหน่วยงานรัฐบาล นักวิทยาศาสตร์และนักสิ่งแวดล้อม ไดพิพจารณาประเด็นทั้งด้านวิทยาศาสตร์และนโยบาย และเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกร่วมมือดำเนินการเกี่ยวกับปัญหานี้
          พ.ศ.2531 องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และโครงการสิ่งแวล้อมแห่งสหประชาชาติ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาส โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมนข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเท่าปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศ
          พ.ศ. 2533 IPCC ได้เสนอรายงานการประเมินครั้งที่ 1 ซึค่งเน้นย้ำปรากฎการณ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายงานนี้มีผลอย่างมากต่อสาธารณชนและผุ้กำหนดนโยบาย และเป็นพื้นฐานในการเจรจาอนุสัญญาว่าด้วยการเปลีี่ยนแปลงภูมิอากาศ
          เดือนธันวาคม 2533 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติมีมติให้เร่ิมดำเนินการเจรจาข้อตกลง โดยตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลบเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งได้มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง ต้งแต่กุมภาพันธ์ 2534- พฤษภาคม 2535 และเนื่งจากเส้นตายที่จะมีการประชุมสุดยอดของโลก หรือการประชุมแ่หงสประชาชาติว่า้ดวยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ในดิืนมิถุนาย 2535 ผู้เจรจาจาก 150 ประเทศ จึงจัดทำร่างอนุสัญญาฯ เสร็จสิ้น และยอมรับยที่นิวยอร์ค เมื่อวันที่ พ9 พฤษภาคม 2535 ในการปะชุมสุดยอดของโลก เมื่อเดินมิถุนายน 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ตัวแทนรัฐบาล 154 รัฐบาล ผรวมสหภาพยุโรป) ได้ลงนามในอนุสัญญาสหปรุชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยเป้าหมายสูงสุดของ คือ การรักษาระดับประมิาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่อยู่ในรดับที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบภูมิอากาศ
       
 21 มีนาคม 2537 เป็นวันที่อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้ เนื่องจากอนุสัญญาณ ระบุว่าให้มีผลบังคับใช้ภายใน 90 วัน หลังจากประเทศที่ 50 ให้สัตยาบัน ต่อจากนั้นอีก 6 เดือน
         21 กันยายน 2537 ประเทศพัฒนาแล้วเร่ิมเสนอรายงานแห่งชาติ เกี่ยวกับกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงภูมิาอากาศ ขฯะเดียวกัน คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลฯ ได้มีการประชุมกันหลายครั้งเพื่อพิจารณาเรื่องการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ การจัดการเกี่ยวกับการเงิน การสนับสนุนเงินทุนและเทคโนโลยีแก่ประเทศกำลังพัฒนารวมทั้งแนวทางการดำเนินงสรแลสถาบันที่เกี่ยวช้อง ต่อมาคณะกรรมการชุนนี้ค่อยไ ลดบทบาทลงและยุบไป (การประชุมครั้งสุดท้าย เดือนกุมภาพันธ์ 2538) และได้ไให้ที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ เป็นองค์กรสุงสุดของุอนุสัญญาฯ โดย COP มีหน้าที่ติดตามตรวจสอลกาอนุวัติตามอนุสัญญาฯ และประเด็นทางกฎหมายที่เีก่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งการตัดสินใจสนับสนุนและส่งเสริมการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ อย่างมีประสิทธิภาพ...www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=86
         อาเซียนเองก็ตระหนักถึงความสำคัญเรือง "ภาวะโลกร้อน" ซึ่งในประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม ในความสำคัญที่ว่าด้วยความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม หมวด D ข้อ D10  คือ "การตอบสอนงต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ" โดยเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ การส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรากบิจและสังค สุขภาพและส่ิงแวดล้อมในรัฐสมาชิกอาเซียน ดดยดำเนินมาตรการนใการบรรเทาและการปรับตัวบนพื้นฐานของหลักความเป้นธรรม ความยืดหยุ่น การมีประสิทธิภาพและความรับผิดชขชอบร่วมกัน และแตกต่างกัน ตามขีดความสามารถ รวสมทั้งสะท้อนสภาวะที่แตกต่างทางสังคมและเศรษบกิจของแต่ละประเทศ
       
โดยมีมาตรการดังนีั
          i. ส่งเสริมความเข้าใจร่วมกันของอาเซียนว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภพภูมิอากาศและ (เท่าที่เป็นไปได้) มีส่วนร่วมในความพยายามและท่าที่ร่วมกันในการจัดการประเด็นเหล่านี้
          ii. ส่งเสริมความพยายามในการจัดทำข้อริเร่ิมการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
          iii. ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ (R&D) การถ่ายทือดเทคโนโลยีและแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการปรับตัวแลมาตรการลดผลกระทบ และส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
          iv. สรับสนุนให้ประชาคม
ดลกมีส่วนร่วมและช่วยสนับสนุนความพยายามของอาเซียนในเรื่องการปลูกป่า และฟื้นฟูผืนป่ารวมทั้งเพื่อลดปริมาณการตัดไม้ทำลายป่าและากรทำให้ป่าเสื่อมสสภพ
          v. พัฒนายุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคเพ่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวสำหรับกิจกรรมทางเศรษบกิจที่ก่อให้เกิดคาร์บอนต่ำ และส่งเสริมการตะหนักรับรู้ของสาธารณชนเพื่อจัดการผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภุมิอากาศ
           vi. เสริมสร้างการประสานงานระหว่งประเทศมาชิกอาเซียนและประเทศคุ่เจรจาในการจัดการภูมิอากาศที่เกี่ยวกับภัยพิบัติและดครงการการเลปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
           vii. พัฒนาระบบสังเกตการณ์ในระดับภมิภาคเพื่อตรวจสอบผลกระทบจากการเปลียนแปลงทงภูมิอากาศที่เป็นภัยต่อระบบนิวศในอาเซียน
           viii. สนับสนุนการจัดทำนโยบายระดับภมูิภาค การศึกษาทางวิทยาศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยดำเนินการให้เป็นไปตามอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและอนุสัญญาที่เกี่ยวข้อง
            ix. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้แลสนับสนุนการมีส่วนร่วมของขชุมขชนในการปกป้องสุขภาพมนุาญ์จาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
           x. ส่งเสิรมการมีส่วนนร่วมขององค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน องค์กรเอกชน และชุมชนในการจัดการกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมออากาศ
           xi. ส่งเสิรมยุทธศาสตร์เพื่อทำให้เิดความเชื่อมั่นว่าข้อริเริ่มที่นำไปสู่ประชาคมอาเซียนที่มีเศรษบกิจที่ดีและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดดยคำนึงถึงความร่วมมือที่ต่างผ่ายต่างได้ประโยชน์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาทงเศรษบกิจmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d10/
         

วันพุธที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560

Water

            น้ำ เป็นสารประกอบเคมี ชนิดหนึ่ง มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอม และไฮโตรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเนต์น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ
            น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ติน 1.7% ในธารน้ำแข็งและขั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติการและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเสษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจาก
อนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ)และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3 % เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนน้ำนพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และขั้นบรรยากาศ และนำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของส่ิงมีชีวิตและผลิตภัณฑ์
           น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฒจักรของการระเหยเป้นไอและการคายน้ำ(การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปภถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน
           น้ำดื่มสะอาดเป็นส่ิงจำเป้นสำหรับมุนษย์และส่ิงมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะมไ่ม่มีแคลอรีหรือสารอาการ ที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่อมสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ปรชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่ 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเก่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่งไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี ค.ศ. 2025 ประชากรโลกมากกว่าครึ่งหนึ่งจะประสบปัญหาความเสี่ยงที่เกี่ยวกับน้ำ รายงานล่าสุดเมือเดอืนพฤศจิกายน ค.ศ. 2009 รายงานว่า ภายในปี ค.ศ. 2030 ในพื้ที่ประเทศที่ำกำลังพัฒนาจะมีความต้องการน้ำจะเพิ่มขึ้นเกิดประมาณน้ำที่มีกว่า 50% น้ำมีบทบาทสำคัญในเสณษฐกิจโลก เนื่องจากน้ำเป้นตัวทำละลายของสารเคมีหลากหลายชนิดและอำนวนความสะดวกในเรื่องการให้ความเย็นในภาคอุตสาหกรรมและการคมนาคม น้ำจืดประมาณ 70% มนุษย์ใช้ไปกับเกษตรกรรม...
       
 น้ำจืด หมายถึงน้ำในแหล่งน้ำทั่วไปอาทิ บ่อน้ำ ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำธาร เป็นต้น ที่ซึ่งมีเกลือและของแข็งอื่นละลายอยู่ในระดับต่ำ มีความหนาแน่นน้อย นั่นคือน้ำจอดไม่ได้เป็นน้ำเค็มและน้ำกร่อย นำ้จืดสามารถเป็นผลผลิตของน้ำทะเลที่เอาเกลือออกแล้วได้
           น้ำจืดเป็นทรัพยากรหมุนเวียนที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนบกเป็นสวนใหญ่ และเป้ฯที่จำเป้นต่อมนุษย์สำหรับน้ำดื่ม และใช้ในเกาตรกรรมเป้ฯต้น องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่า ประชากรโลกประมาณร้อยละ 18 ขาดแคลนน้ำด่มที่ปลอดภัย...
           ทรัพยากรน้ำ หมายถึง แหล่งต้นตอของน้ำที่เป็นประดยชน์หรือมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์ ทรัพยากรน้ำมีความสำคัญเนื่องจากน้ำเป็นสิ่งจำเป็นเนื่องจากจำเป็นแก่การดำรงชีวิตของสิงมี่ชีวิตทุกชนิด ได้มีการนำน้ำมาใช้ในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บ้านเรือน นันทนาการและกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งด้าานสิ่งแวดล้อม น้ำที่มนุษย์นำมาใช้ในกิจกรรมต่างวๆ ดังกล่าวนั้นจะเป้ฯน้ำจือด แต่น้ำจืดในโลกเรามีเพียงร้อยละ 2.5 เท่านั้น และปริมาณ 2 ใน 3 ของน้ำจืดจำนวนนี้เป็นน้ำแข็งในรูปของธารน้ำแข็ง และน้ำแข็งที่จับตัวกันอยุ่ที่ขั้นโลกทั้งสองขั้ว ผัจุบันความต้องการน้ำมีมากว่าน้ำจืดที่มีอยุ่ในหลายส่วนของโลก และใอีกหฃลายพื้นที่ในโลกกำลังจะประสบปัญหาความไใ่สมดุลของปุปสงค์และุอุปทานของน้ำในอนาคตอันไม่ไกลนัก กรอบปฏิบัตเพื่อการจัดสรรทรัยากรน้ำให้แก่ผุ้ใช้น้ำ(ในพื้นที่ที่มีกรอบปฏิบัติแล้ว) เรียกว่า "สิทธิการใช้น้ำ"th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน้ำ
           แหล่งน้ำจืด
           น้ำผิวดิน ได้แก่น้ำในแม่น้ำลำคลอง ทะเลสบและในพื้นที่ชุมน้ำที่เป้นน้ำจืด ปกตินำผิวดินจะได้รับการเติมจาผนหรือหิมะ และจะหายไปตามธรรมชาติด้วยการระเหยการไหลออกสู่ทะเลและากรซึมลงไปใต้ดิน
           แม้ว่าการเติมน้ำจืดโดยธรรมชาิของระบบน้ำผิวดินจะได้จากการตกของผนหรือหิมะลงเฉพาะบนบริเวณลุมน้ำนั้นๆ ณ เวลาหนึ่งก็ตาม แต่ประมาณรวมของน้ำยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นอีกหลายปัจจัย ปัจจัยเหล่านี้รยมถึงปริมาณความจุของทะเลสาบ พื้นที่ชุมน้ำและอ่างเก็บน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นอัตราการซึมของดินในพื้นที่กักเก็บต่างๆ ดังกล่าว ลักษณะของการไหลตามผิวพื้นที่ลุ่มน้ำ ช่วงเวลาการตกของฝนหรือหิมะและอัตราการระเหยของพื้ที่นั้นๆ ปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อสัดส่วนของน้ำที่ไหลออกสูทะเล ระเหยและซึมลงใต้ดิน
           กิจกรรมของมนุษย์สามารถสร้างผลกระทบต่อปัจจัยต่ารงๆ ดังกล่าวได้มากมนุษย์มักเพิ่มความจุน้ำเก็บกักด้วยการสร้างอ่างเก็บน้ำและละความจุ้ำเก็ฐกักด้วยการระบายพื้นที่ชุ่มน้ำให้แห้ง มนุษย์เพ่ิมปริมาณและความเร็วไหลตามผิวของน้ำด้วยการดาดผิวพื้นต่างๆ ให้แข็งรวมทั้งการทำทางให้น้ำไหลทิ้งไปรวดเร็วขึ้น
       
ปริมาณโดยรวมของน้ำที่มีให้ใช้ ณ เวลาหนึ่งนับเป็นข้อพิจารณาที่มีความสำคัญมาก การใช้น้ำบางประเภทของมนุษย์เป็นการใช้แบบหยุดๆ เดินๆ ตัวอย่ง เช่นการทำเกษตรกรรมหลายแห่งต้องการ้ำเป้นปรมาณมากในช่วฤดูเพาะปลูกและไม่ใช้น้ำอีกเลยหลังฟดูเกฐเกี่ยว การจ่ายน้ำให้พื้นที่เกษตรกรรมประเภทดังกล่าว ระบบน้ำผิวดินเพื่อากรนี้อาจต้องมีขนาดการเก็บกักที่ใหญ่เพื่อให้สามารถเก็บกักน้ำฝนที่ตกลงมาทั้งปีไว้ สำหรับปล่อยมาใบ้ภายเในเวลาที่สั้นเป็นต้น การใบ้น้ำปะเภทนี้ค่อยๆ ใช้ในปริมาณครั้งละไม่่มากแต่สม่ำเสมอทั้งปี เช่น้ำสำหรับหล่อเย็นในโรงผลิตไฟฟ้า การจ่าย้ำในกรณีนี้ ระบบน้ำผิวดินต้องการเพียงอ่างหรือแหล่งกักเก็บที่มีความจุให้พอสำหับไว้ชดเชยน้ำในสาธารที่มีอัตราการไหลเข้าอ่างในฤดูแล้วต่ำหว่งอัตราการใช้น้ำในการหล่อเย็น
           น้ำผิวดินตามธรรมชาติสามารถเพ่ิมพูนได้โดยการนำน้ำเข้ามาจากแหลงในลุมน้ำอื่นด้วยการขุดคลองส่งน้ำหรอวางท่อส่งน้ำ หรืออาจทำด้วยวิธีอื่นๆ แต่ก็ได้ไม่มาก มนุษย์เรามีส่วนทำให้ระบบน้ำผิวดินไม่มั่นคงหรือ "หายไป" จากการสร้างมลพิษ
           บราซิล เป็นประเทศที่ประมาณกันว่ามีแหล่งน้ำจืดมากที่สุดในโลกตามด้วยแคนาดาและรัศเซีย
         
น้ำใต้ผิวดินหรือน้ำใต้ดินหมายถึงน้ำจือดที่ขังอยุ่ในช่วงว่างของดินหรือหินและยังหมายถึงน้ำที่ไหลอยู่ภายในชั้นหินอุ้มน้ำ หรือชั้นน้ำ ซึ่งอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใจ้ติด ในบางครั้งก็มีประโยชน์ที่จะแยกให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง น้ำใต้ผิวดินที่อยุ่ใกล้และสัมพันธ์กับน้ำผิวดิน กับ น้ำผิวดินที่สัมพันธ์กับน้ำใต้ผิวดินที่อยู่ใกล้และสัมพันะ์กับน้ำผิวดิน กับน้ำผิวดินที่สัมพันะ์กับน้ำใต้ผิวดินที่อยู่ลึคกมากในชั้นหินอุ้มน้ำ บางครั้งก็เรียกน้ำชนิดนี้ว่า่ "น้ำซากดึกดำบรรพ์"
           ความเครียดน้ำ
           แนวคิดของความเครียดน้ำค่อนข้างตรงไปตรงมา สมัชชาธุรกิจเพื่อากรพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ความหมายว่าเป้ฯสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมือเกิดการขาดแคบนน้ำสำหรับใช้ในกิจการต่างๆ ไม่ว่าจะเป้นเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรมหรือภาคครัวเรือน การใช้เพื่อบ่งชี้ขีดเร่ิมเครียดน้ำในแง่่ของควาเพียงพอของน้ำต่อหัวนับเป็นเรื่องที่ซับซ้อนมากขึ้น อย่างไรก็ดี การใช้ดดยทั่วไปหมายึถงการใช้นำ้และประสิทธิภาพของการใช้น้ำ ได้มีการเสนอว่า เมือใดที่น้ำจืดที่ใช้หมุนเวียนได้ที่ใช้ต่อคน/ปีลดต่ำลงกว่า 1,700 ลูกบาสก์เมตร ประเทศนั้นๆ จะพบกับปัหาการเครียดน้ำ ต่ำกว่า 1,000 ลบม. ความขาดแคลนน้ำจะเริ่มมีผลกระทบต่อเศรษบกิจของประเทศและเกิดปัญหาสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชน
       
 มีหลายส่ิงที่คุกคามต่อแหล่งน้ำจืดของโลก สิ่งคุกคาดังกล่วได้แก่
         - การเพิ่มจำนวนประชากร
         - การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน้ำ
         ประชาคมอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวดว่าด้วยความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม ในข้อ D9 : ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยการน้ำจืด เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร คือ ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด ดดยให้ความเชื่อมั่นในเรื่องการเข้าถึงทรัพยากรน้ำอย่างเท่าเทียมกัน และคุณภาพที่ได้รับการอมรับได้ในปริมราณที่เพียงพอ เพื่อรองรับความต้องการของประชาชนอาเซียน
          มาตรการ :
          i. สารต่อการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์อาเซียนว่าด้วยการจัดการทรัพยากรน้ำ
          ii. พยายามที่จะลดจำนวนประชากร ที่ไม่สามารถเข้าถึงน้ำดื่มปลอดภัยใหนเลหือเพียงครึ่งเดียวภายในปี 2553
         iii. จัดการทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผลเพื่อให้สามารถได้บริการน้ำดื่มได้อย่างเพียงพอภายในปี 2558
         iv. ส่งเสริมการดำเนินการจัดการลุ่มแม่น้ำอย่างบูรณาการภายในปี 2558
         v. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้และากรเป็นหุ้นส่วนเพื่อสเริมสร้างการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการ
         vi. ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาควาด้วยมาตรการและดครงการอนุรักษ์น้ำ รวมทั้งนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการปรับปรุงคุณภาพและการจัดหาน้ำmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d9/
         
         

วันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560

CITES : The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora

           อนุสัญญาไซเตส ไซเตส อนุสัญญาว่าด้วยการต้าระหว่งประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสัญญาวอชิงตัน ประเทศไทยเป็นสมาชิกลำดับที่ 80 โดยลงนามรับรองอนุสัญญาในปี 2518  และให้สัตยาบันในวันที่ 21 มกราคม 2526 
           คณะกรรมการ ไซเตส ประจำปรเทศไทย สังกัน กระทรวงเกษตรและสหกรณื เนื่องจากประทรวงเกษตรและสหกรณื ได้มีคำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ไซเตส ประจำประเทศไทยขึ้น โยมีัหน้าที่ดำเนินการในกิจกรรมต่างๆ และให้คำปรึกษาแก่รัญมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอนุสัะญญา ไซเตสในประเทศไทย
           กระทรวงเกาณตาและสหการณ์ได้จัแบ่หน้าที่รความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานของ ไซเตส ในปรเทศไทยมอบหมายให้ ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดดยตรง ในการดูแลชนิดพันธุ์ที่ ไซเตส ควบคุม คือ
         
 สัตว์ป่า พืิชป่า ของป่า อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมป่าไม้
           พืช อยู่ในความรีับผิดชอบของ กรมวิชาการเกษตร
           สัตว์น้ำ อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมประมง 
           ปัจจุบัน การดำเนินงานการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์ป่า เพื ่อมิให้ประชกรของสัตว์ป่าลดน้อยลงหรือสูญพันธุ์ไป กรมป่าไม้ ได้ดำเนินการร่วมมือและประสานงานกับนานาชาติในการอนุรักษ์สัตว์ป่าและดำเนินงานด้านการป้องกันและปราบปราม โดยได้จัดตั้งด่านตรวจสัตว์ป่าขึ้นที่ทาอากาศยานนานาชาติ ท่าเรือและจุดตรวจตามแนวชายแดน เพื่อป้องกันการลักลอบการค้ การนำเ้ขา การสงออกและนำผ่านแดนซึ่งสัตว์ป่า ที่กระทำผิด พ.ร.บ.สงงนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ในปัจจุบันได้จัดตั้งขึ้นแล้วจำนวน 49 ด่าน
           ไซเตส เร่ิมมีขึ้นเมื่อ สหพันะ์ระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ หรือ IUCN ได้จัดการประชุมนานาชาติ ขึ้นในปี 2516 ที่กรงุวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อร่างอนุสัญญา ไซเตส ขึ้น มีประเทศที่เข้าร่วมประชุม 83 ประเทศรวมทั้งตัวแทนจากประเทไทยด้วย โดยมีผุ้ลงนามรับรองอนุสัญญาฉบับนี้ทันที่ 21 ประเทศและในปี พ.ศ. 2518 IUCN ได้จัดตั้งสำนักงานเลขาธิการ ไซเตส ขึ้น ทำหน้าที่บริหารอนุสัญญาฉบับนี้ ภายใต้การดูแลของ IUCN ปัจจุบนมีสำนักงานอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวตตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกกว่า 140 ประเทศ โดยสมาชิกจะต้องจ่ายเงินอุดหนุนรายไปเป็นค้าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักเลขาธิการ ไซเตส สำหรับประเทศไทยนั้น กรมป่าไม้เป้นผุ้ขอตั้งงบประมาณเงินอุดหนุน ไซเตส โดยช่วงปี พ.ศ. 2536-2538 ประทศไทยต้องจ่ายเงินปีละ 112,000 บาทให้กับ ไซเตส
           
ไซเตสมีจุประสงค์ คือ การอนุรักษณ์ททรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าในโลก เพื่อประโยชน์แห่งมวลมนุษย์ชาติโดยเน้นทรัพยากรสัตว์ป่าแฃละพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือมีการคุกคาม ทำให้มีปริมาณร่อยหรอจนอาจเป้นเหตุให้สูญพันธุ์ วิธีการอนุรักษ์ของ ไซเตส ก็คือ การสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่ไม่ควบคุมการต้าภายในประทเศ สำหรับชนิดพันธุ์อื่นๆ 
              หน้าที่ของไซเตส คือ 
               - สมาชิกต้องกำหนดมาตราการในการบังคับใช้อนุสัญญ ไซเตส มิให้มีการต้าสัตว์ป่า พืชป่าที่ผิดระเบียบอนุสัญญาฯ โดยมีมาตรการลงโทษผุ้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีที่ทราบถึงถ่ินกำเนิด
               - ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่าระหว่งประเทศเพื่อควบคุมและตรวจสอบการต้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญ ไซเตส
               - ต้องส่งรายงานประจำปี เกี่ยวกับสถิติการต้าสัตว์่ป่า พืชป่าของประเทศตนแก่สำนักงานเลขาธิการ ไซเตส
               - ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการ และคณะทำงานฝ่ายวิทยาการ ประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
              -  มีสิทธิเสนอขอเเลกเปลี่ยนชนิดพันธุ์ในบัญชี Appendix I-II-III ให้ภาคีพิจารณา
             ระบบการควบคุมของไซเตส การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศจะถูกควบคุมโดยระบบใบอนุญาต ซึ่งหมายถึงว่า สัตว์ป่าและพืชป่าที่ ไซเตส ควบคุมต้องมีใบอนุญาตในการ 
           
  -นำเข้า
              - ส่งออก
              - นำผ่าน
             - ส่งกลับออกไป 
              ประชาคมอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้มีการจำแนกความสำคัญในลักษณะต่างๆ โดยสิ่งแวดล้อมอยู่ในหมวด  D ซึ่งในข้อ D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษณ์ทรัยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน โดยเป้าหมายทางยุทธศาตร์ คือ ให้ความมัี่นใจว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณ์ของอาเวียนจะได้รับการรักษาและจัดการอย่างยั่งืนโดยการเสริมสร้างสภาวะที่ดีทางด้านสังคม เศราฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
            มาตรการ :
            i. บรรลุเป้าหมาย ภายในปี 2553 ในเรื่องการลดอย่างมีความหมายของอัตราการสูญเสียในปัจจุบันของความหลากหลายทางชีวภาพโดยกาดำเนินแผนงานที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ 
            ii. ส่งเสริมการประสานงาน การแบ่งปันตัวอย่างบทเรียนในการเข้าถึงและการแบ่งปันทรัพยากรทางพันธุกรรมและชีวภาพอย่วงเท่าเทียมกันภายในปี 2558 
            iii. ส่งเสริมการจัดทำรายการและการร่วมกันจัดการอุทยานที่เป็นมรดกของอาเซียนในการเป้นเวทีที่มีประสิทธิภาพสำหรับการจัดการพิ้ที่ที่ได้รับการคุ้มครองทางระบบนิเวศ ภายในปี 2558 
            iv.ส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการพื้นที่คุ้มครองข้ามพรมแดนระหว่างประเทศสมราชิกอาเวียนที่เป็นเพื่อนบ้านกัน
            v. ดำเนินมาตรการที่เหมาะสมเพื่อลอผลกระทบของการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของส่ิงม่ีชีวิตที่เกิดจากการตัดต่อสารพันธุกรรมโดยเป้นไปตามพิธีสารคาร์ทาเกน่าว่าด้วยควาปลอดภัยทางชีวภาพภายในปี 2558
            vi. จัดตั้งเครือข่ายการทำงานในระดับภุมิภาคเพืรีอการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดทำรายการของทรัพยากรทางชีวภาพและมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียนภายในปี 2558
         
  vii. ส่งเสริมบทบาทและศัยภาพของศูนย์อาเวียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์ความเป็นเลิศในระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการอนุรักษ์ และการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
            viii. ส่งเสริมการมีสวนร่วมของชุมชนท้องถ่ินในการักษาความหลากหลายทางชีวภาพแลสุขภาพป่าไม้ ภายในปี 2558
            ix. ส่งเสริมนโยบายการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและแนวปฏิบัติที่จะลอผลกระทบจากการบุกรุกของสายพันธุ์ต่างถิ่นในระดับภูมิภาคและระหว่งประเทศ
            x. ส่งเสริมความร่วมมือในระดับภูมิภาคว่าด้วยการจัดการความหลากหลายทางชีัวภาพอย่างยั่งยืน เช่น การทำวิจัยร่วมกัน และการพัฒนาประสบการณ์ การแลกเปลี่ยนผุ้เชี่ยวชาญและการฝึกอบรม
           xi. เสริมสร้างความพยายาที่จะควบคุมการต้าข้ามพรมแดนในเรื่องสัตว์ป่าและพืชป่าภายใต้แผนงานอาเซียนว่าด้วยเรื่องการต้าพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ปี 2548-2553 และเครือข่ายการป้องกันและปราบปรามการต้าสัตว์ป่าที่ผิดกฎหมาย (อาเซียน-เว็น) เพื่อดำเนินการตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาว่ด้ายการต้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส)
          xii. แสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดทำการสำรวจร่วมกันและการติดตามการอพยพของสัตว์ป่า
          xiii. ส่งเสริมความร่วมือระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดการพื้นดินเสื่อมโทรมสำหรับการจัดการพื้นดินอย่างยั่งยืนเพื่อสนัยสนุนการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d8/

วันจันทร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2560

Biodiversity

              ชีวภาพ หมายถึง ชีวิต เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพทำให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต เช่น ภวะซึมเศร้าอาจเกิดจากความไม่สมดุลของสารชีวภาพในสมอง บางครั้งคำว่าชีวภาพ ใช้เกี่ยวกับจุลินทรีย์และกระบวนการผลิตส่ิงที่ได้และเกิดจากส่ิงมีชีวิต ะช่น เกษตรกรมักใช้วิธีการทางชีวภาพทำปุ๋ยหมัก การกำจัดน้ำเสีย ด้วยน้ำหมักwww.royin.go.th/?knowledges=%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E-%E0%B9%98-%E0%B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%95
ชีวภาพซึ่งมีจุลินทรีย์นับว่าได้ผลเป็นที่พอใจ ในการทำสงครามนอกจากจะใช้ขีปนาวุธและยุทโธปกรณ์ต่างๆ ยังพบการใช้อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธเคมี และอาวุธชีวภาพ อีกด้ว นอกจากน้คำว่าชีวภาพยังมีความหมายตรงข้ามกับคำว่า กายภาพ ในความหมายว่า สิ่งมีชวิต ตรงข้ามกับ สิ่งไม่มีชีวิต เช่น เพ่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ครัวเรือนของเกษตรกรต้องมีทรัพยากรทางกายภาพ และชีวภาพเพียงพอต่อการดำรงชีพ บุคลากรทีทำงานเสี่ยงภัยต้องสวมใส่ถุปกรณืเพื่อป้องกันตนเองจากอันตรายทางกายภาพ และอันตรายทางชีวภาพ
              ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีส่ิงมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโล หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์, สายพันธุ์ และระบบนิเวศ ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก
              ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายบระหวา่งสายพันธุื ระหว่างชนิดพันธุ์และระหว่างระบบนิเวศ
              ความหลากหลายางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์สามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์และระหว่างระบบนิเวศ
              ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่าสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือ ข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยุ่ในสายพันธุ์ต่างๆ ังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องากรของ ตลาดได้ เช่น ไก่พันะู์เนื่อ ไก่พันธุ์ไข่ดก และวัดพันธุ์เนื้อ เป็นต้น
           
ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธ์ุ สามารถพบเห้นได้โดยที่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป้ฯต้น หรือส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และว้วแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาเศยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยช์ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม น้อยกกว่าร้อบละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป้นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็อาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพัชมมีท่อลำเลียง ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงน้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี่ยงมาเพือใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มกระดูกสันหลง ทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด
             ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป้นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่งระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่นทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ้งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาเศัยแตกต่างกัน
              ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถ่ินทีอยู่อาเศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมสีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้บริการทางสิ่งแวดล้อม ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ ทำหน้าที่ดุดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่อนด้วย เป้นต้น
              อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ
              จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา หรือการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม ณ กรุงระโอ เดอ เจเนโร ประเทบราซิล เมื่อวันที่ 5-14 มิถูนายน พ.ศ. 2535 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรองอนุสัญญาว่ด้วยความหลากลหลายทางชีวภาพ โดยมีทั้งสิ้น 157 ประเทศร่วมลงนาม อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ 2536 ปัจจุบัมีภาคี 191 ปรเทศ ในส่วนของประเทศไทย ได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พงศ. 2535 และให้สัตยาันเข้าเป็นภาคีเมือวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใ้เมือวันที่ 29 มกตาคม พ.ศ. 2547
             อนุสัญญาฯ เป้ฯความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่งปรเท ที่มีเจตนารมณ์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษษวินัยสิ่งแวดล้อม อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เป็นอนุสัญญานานาชติฉบับแรกที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ ทั้งพันธุกรรม ชนิดพันธู์ และระบบนิเวศ โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ
            - เพื่ออนุรักษณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
            - เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากลหยทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
            - เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมth.wikipedia.org/wiki/ความหลากหลายทางชีวภาพ
             ระบบนิเวศ คือกลุ่มอินทรีย์ (พืช สัตว์และจุลินทรีย์) ร่วมกับองค์ประกอบชีวนะของส่ิงแวดล้อมของพวกมัน (เช่น อากาศ น้ำและดินอนินทรีย์) ซึงมีปฏิสัมพันะ์กันเป็นระบบ ถือว่ ส่วนประกอบชีวนะและอชีวนะเชื่อมกันผ่านวัฎจักรสารอาหรและการถ่ายทอดพลังงาน ระบบนิเวศนิยามเป้นเครือข่ายปฏิสัมพันธ์ระหว่างอินทรีย์ด้วยกันและระหว่างอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศมีขนาดเท่าใดก็ได้ แตกปกติครอลคลุมพื้นที่เฉพาะจำกัด แม้นักวิทยาศาสตร์บลางส่วนกล่าวว่า ทั้งโลกก็เป็นระบบนิเวศหนึ่งด้วย
           
พลังงาน น้ำ ไนโตรเจนและดินอนินทรีย์เป็นอีกส่วนประกอบอชีวะนะของระบบนิเวศ พลังงานซึ่งถ่ายทอดผ่านระบบนิเวศได้มาจากดวงอาทิตย์เป็นหลัก โดยทั่วไปเข้าสู่ระบบผ่านการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งกระบวนการนี้ยังจับคาร์บอนจากบรรยากาศด้วย สัตว์มีบทบาทสำคัญในการเคลื่อนของสสารและพลังงานผ่านระบบนิเวศ โดยการกินพืชและสัตว์อื่น นอกจากนี้ สัตว์ยังมีอิทธิพลต่อปริมาณพืชและชีวมวลจุลินทรีย์ที่มีอยู่ ตัวสลายสารอินทรีย์ปลดปล่อยคาร์บอนกลับสู่บรรยากาศและเอื้อการเกิดวัฎจักรสารอาหารโดยการแปลงสารอาหารที่สะสมอยุ่ในชีวมวลตายกลับสุ่รูปที่พร้อมถูกพืชและจุลินทรีย์อื่นใช้ โดยการย่อยสลายสารอินทรรีีย์ตาย ในธรรมชาิตและ้มีสาร 60 ชนิด ในจำนวน 96 ชนิด หมุนเวยนผ่านเข้าไปในอินทรีย์
             ระบบนิเวศมีทั้งปัจจัยภายนอกและภายในควบคุม ปัจจัยภายนอก เช่นภูมิอากาศ วัสดุกำเนิด วึ่สร้างดินและภูมิลักษณ์ ควบคุมโครงสร้างโดยรวมของระบบนิเวศและวิธีที่สิ่งต่างๆ เกิดในนั้น แต่ปัจจัยดังกล่าวไม่ได้รับอิทธิพลจากระบบนิเวศ ปัจจัยภายนอกอื่นรวมเลาและชีวชาติศักยะ ระบบนิเวศเป้นส่ิงพลวัต คือ อยู่ภายใตการรบกวนเป็นระยและอยู่ในกระบฝวนการฟื้นตัวจากการรบกวนในอดีตบางอย่าง ระบบนเวศในสิ่งแวดล้อมคล้ายกันที่ตั้งอยุ่ในส่วนของโลกต่างกันสามารมีลักษณะต่างกันมากเพราะมีชนิดต่างกัน การน้ำชนิดต่างถ่ินเข้ามาสามารถทใไ้เกิดการเลื่อนอย่างสำคัญในการทำหน้าที่ของระบบนิเวศ ปัจจัยภายในไม่เพียงควบคุมกระบวนการของระบบนิเวศ แต่ยังถูกระบบนิเวศคบคุมและมักอยู่ภายใต้วงวนป้อนกลับ เช่นกัน ขณะที่ทรัพยากรป้อนเข้าปกติถูกกระบวนการภายนอก เช่น ภูมิอากาศและวัสดุกำเนิด ควบคุม แต่การที่ทรัพยากรเหล่านี้ในระบบนิเวศถูกปัจจยภายใน เช่นการผุสลายตัว การแข่งขันรากหรือการเกิดร่ม ควบคุม ปัจจัยภายในอื่นมีการรบกวน การสืบทอด และประเภทของชนิดทีมี แม้มนุษย์อยู่ใและก่อให้เกิดผลภายในระบบนิเวศ แต่ผลลัพธ์รวมใหญ่พอมีอิทธิลต่อปัจจัยภายนอกอย่างภูมิ
อากาศ
             ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่นเดียวกับการรบกวนและการสืบทอด มีผลต่อการทำหน้าที่ของระบบนิเวศ ระบบนิเวศให้สินค้าและบริหารต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการ หลักกรการจัดการระบบนิเวศเสนอว่า แทนที่จะจัดการชนิดหนึงเพียงชนิดเดียว ควรจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ระบบนิเวศด้วยการจำแนกระบบนิเวศเป็นหน่วยเอกพันธุ์ทางระบบนิเวศ เป็นขึ้นตอนสำคัญสู่การจัดการระบบนิเวศอย่างสัมฤทธิ์ผล แต่ไม่มีวิธีทำวิธีใดหนึ่งตกลงกัน
              กระบวนการระบบนิเวศ











            แผนภาพการถ่ายทอดพลังงานของกบ กบเป็นสัญลักษณ์ของปมหนึ่งในสายใยอาหารขยาย พลังงานจากการกินถูกใช้ประโยชน์เพื่อกรบวนการเมแทบอลิซึมแล้วแผลงเป้นชีวมวล การถ่ายทอดพลังงานดำเนินวิถีของมันต่อการกบูกนักล่าหรือปรสิตกินต่อ หรือถูกกินเป็นซากสลายในดิน แผนภาพการถ่ายทอดพลังงานนี้แสดงวิธีที่พลังงานเสียไปเพื่อเป็นเชื้องเพลิงกระบวนการเมเทบอลิซึมซึ่งแปลงพลังงานและสารอาหารเป็นชีวมล 

            โซ่อาหารพลังงานเชื่อโยงสามขยาย (1. พืช, 2. สัตว์กินพช 3. สัตว์กินเนื้อ) แสดงความสัมพันธ์ระหว่งแผนภาพการถ่ายทอดอาการและสัดส่วนการแปลงพลังงาน สัดส่วนการแปลงพลังงานลดลงจากคุณภาพสูงกว่เป็นคุณภาพต่ำกว่าเมื่อพลังงานในโซ่อาหารไหลจากชนิดโภชนาการหนึ่งไปอีกชนิดหนึ่ง ( I สิ่งป้อนเข้า, A การนำอาหารไปเสริมสร้างเนื้อเยื่อ, R การหายใจ, NU ไม่ถูกใช้ประโยชน์, P การผลิต B ชีวมวล)
            คาร์บอนและพลังงานซึ่งรวมอยุ่ในเนื้อเยื้อพืช(การผลิตปฐมภูมิสุทธิ) ถูกสัตว์บริโภคขณะพืชยังมีชีวิต หรือยังไม่ถูกกินเมือเนื้อเยือพืชตายและกลายเป็นซากสลาย ในระบบนิเวศบนดินการผลิตปฐมภูมิสุทธิราว 90%  ถูกตัวสลายสารอินทรีย์สลาย ส่วนที่เหลือไม่ถุกสัตว์บริโภคขณะยังมีชีวิตแล้วเข้าสูระบบโภชนาการที่มีพืชเป็นฐาน ก็ถุกบริโภคหลังตายแล้วแล้วเข้าระบบโภชนาการที่มีซากสลายเป็นฐาน ในระบบในน้ำ สัดส่วนชีวมวบลพืชที่ถูกสัตว์กินพืชบริโภคมีสุงกว่ามาก ในระบบโภชนาการ อินทรีย์สังเคราห์ด้วยแสดงเป็นผุ้ผลติปฐมภูมิ อินทรีย์ที่บริโภคเนื้อเยื่อของผุ้ผลิตปฐมภูมิ เรียก ผุ้บริโภคปฐมภุมิ ผุ้บริโภคลำดับที่หนึ่ง หรือผุ้ผลิตทุติยภูมิ คือ สัตว์กินพืช สัตว์ที่กินผุ้บริโภคปฐมภุมิ คือ  สัตว์กินเนือ เป็นผุ้บริโภคทุติยภูมิหรือผุ้บริโภคลำดับที่สอง ผุ้ผลิตและผุ้บริโภคเหล่านี้ประกอบเป็นระดับโภชนาการ ลำดับการบริโภค ตั้งแต่พืชถึงสัตว์กินพืช ถึงสัตว์กินเนื้อ ก่อเป้นโซ่อาหารระบบจริงซับซ้อนกว่านี้มาก โดยทัี่วไปอินทรีย์จะกินอาหารมากว่าหนึ่งรูปและอาจกินที่ระดับโภชนาการมากกว่าหนึ่งระดับ สัตว์กินเนื้ออาจจับเหยื่อบางส่วนซึ่เป็นส่วนหนึ่งของระบบโภชนาการที่มีพืชเป็นฐานและบางส่ยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบโภชนาการที่มีซากสลายเป็นฐาน เช่น นกกินทั้งตั้กแตนซึ่งเป็นสัตว์กินพืช และไส้เดือนเดินซึ่งบริโภคซากสลาย ระบบจริงที่มีบรรดาความซับซ้อนเหล่านี้ ก่อสายใยอาหารแทนโซ่อาหาร
             
การผุสลายตัว คาร์บอนและสารอาหารที่อยู่ในสารอินทรีย์ที่ตายแล้วจะโดนแบ่งกลุ่มด้วยกระบวนการที่เรียก่ารสลายตัว สารอาหารที่ได้จากการสลายตัวนั้นสามารถนำกลับมารใช้ได้สำหรับพืชและจุลินทรีย์และอีกส่วนหนึ่งจะกลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์กลับสู่ชั้นบรรยากาศเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสง หากไม่มีการสลายตัวจะมีสารอินทรีย์ที่ตายแล้วและสารอาเหารการสะสมอยู่ในระบบและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศก็จะหมดไป ประมาณ 90% ของอัตราการผลิตปฐมภูมิสุทธิ จะมาจากผู้ย้อยสลายโดยตรง
              กระบวนการย่อยสลายสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
              - การกระจายตัวและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของวัตถุที่ตายแล้วเมื่อมีน้ำไหลผ่านสารอินทรีย์ที่ตายแล้ว มันจะละลายและกลางเป็นองค์ประกอบของนำซึ่งเป้ฯส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในดิน หรือสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากส่ิงที่มีในระบบนิวเศ ใบไม้ที่เพิ่งผลัดใบและสัตง์ที่เพีิงตายเป็ฯส่วนที่ทำให้ความเข้มข้นของน้ำเพ่ิมมากขึ้นและรวมถึงน้ำตาล กรดอะมิโนและแร่ธาตุ การชะล้างที่สำคัญจะเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เปียกและความสำคัญจะลดลงเมือชะล้างแห้งแล้ง
              - กระบวนการการแยกชิ้นส่วนโดยการทำให้อินทรีย์วัตถุแตแล้วกลายเป้นชิ้นส่วนเล็กๆ ซึ่งทำให้เห็นบริเวณที่จุลินทรีย์กระจายตัว แต่สำหรับใบไใ้สดจุลินทรีย์ไม่สามารถเข้าถึงได้เนื่องจากผิฟหรือเปลือกไม้และองค์ประกอบเซลล์จะถูกปกป้องไว้ด้วยผนังเซลล์ สำหรับสัตว์ที่เพิ่งตายจะโดนครอบคลุมด้วยโครงกระดูกแข็ง โดยกระบวนการแยกนี้หากชิ้นสวนที่แตกสามารถผ่านชั้นที่มีการปกป้องนี้ได้ก็จะสามารถช่วยเร่งการย่อยสลายของจุลินทรีย์ได้ดีชขึ้น การล่าซกชิ้นสวนของสัตว์ก็เพื่อนำไปเป็นอาหาเืพ่อการดำรงชีพ ซึ่งเปรียบเสมอืนเป้นวงจรที่ใช้ทดสอบความคงตัวและวงจรของชิ้นส่วนวัตถุที่ตายแล้วในสภาพแวดล้อมที่เปียกและแห้ง
             - การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารอินทรีย์ที่ตายส่วนใหญ่จะได้จากแบคทีเรียและการกรทำของเชื้อราเป้ฯหลัก โดยเส้นใยราจะสร้างเอนไซม์เพื่อสามารถแทรกผ่านโครงสร้างภายนอกของวัตถุอินทรีย์ของพืชที่ตายแล้วได้ อีกทั้งผลิตเอเนไซม์เพื่อสลายลิกนินซึ่งช่วยให้มันสมารถผ่านไปยังทั้งสองเซลล์และไปยังไนโตรเจนที่อยู่ในลิกนิน เชื้อราสามารถแลกเปลี่ยนคาร์บอนและไนโตรเจนผ่านเส้นใยที่มีโครงสร้างเป้นร่างแหดังนั้นจึงแตกต่างจากแบที่เรียและไม่ขึ้นอยูกับทรัพยากรที่มีอยุ่ในบริเวณดังกล่าว
             การจัดการระบบนิเวศ 
             การจัดการระบบนิเวศ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการจัดการทรัยากรธรรมชาิต ที่มีในรบบนิเวศมากว่า 1 ชนิด ได้นิยามไวว่า "การประยุกต์ใช้ศษสตร์ทงนิเวศวิทยาในการจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนของระบบนิเวศในระยะยาวและ การส่งมอบสินค้าและบริการของระบบนิเวศที่สำคัญ มีผุ้ให้นิยามระบบนิเวศไว้ว่า "การจัดการเป้าหมายอย่งชัดเจน ดำเนินการตามนโยบาย ระเบียบการ การปฏิบติแลสามารถปรับตัวได้จากการตรวจสอบและกระบวนการที่จำเป็นเพื่อรักษาโครงสร้างของระบบนิเวศและการวัจัยบนพื้นฐานความเข้าใจที่ดีที่สุดของเรามีปฏิสัมพันธ์ทางนิเวศวิทยา" และ "การจัดการพื้นที่ที่มีคามหลากหลายแบบนิเวศบริการและชีวภาพ มีเก็บทรัพยากรเพื่อที่มนุษย์ใช้อย่งเหมาะสมและการดำรงชีวิตที่ยั่งยืน
           
แม้ว่าคำจำกัดควมของการจัดการระบบนิเวศจะมีมากมาย ได้มีการกำหนดหลักการเพื่อรองรัลบคำนิยามเหล่านี้ ไว้ว่า หลักการพื้นฐาคือการพัฒนาอย่างยั้งยืนในระยะยาวของการผลิตสินค้าและนิวเศบริการ "การพัฒนาอย่งยังยืนเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการจัดการ ไม่ใช่ของแถม" นอกจากนี้ยังต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทของมนุษย์เป็นส่วนประกอบของนระบบนิเวศและการจัดการที่เหมาะสม ในขณะที่การจัดการระบบนิเวศที่สามารถนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของแผนเืพ่อการอนุรักษ์ป่าก้ยังสามารถน้ำมาใช้ในการจัดการระบบนิเวศ เช่นระบบนิเวศเกษตร
           ภัยคุกคามจากมนุษย์ที่มีต่อระบบนิเวศ
           ขณะที่ประชากรกรมในุษย์เติบโตขึ้นเพื่อทำต้องการทรัพยากรที่กาำหนดในระบบนิเวศและผฃกระทบของรายเท่าทางนิวเศของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติสามารถทำลายได้และใช้ได้อย่งมากมายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการกรทำของมนุษย์ล้วนเป้นกระบวนการหรือวัสดุที่ได้มาจากการกระทำของมนุษย์ จะส่งผลให้คุณภาพของอาเาศและน้ำถูกทำลายมากยิ่งขึ้น รวมถึงการทำการประมงที่มากเกินไปทำให้ศัตรูพืชและโรคระบาดจะขยายพื้นที่มากย้ิงขึ้นเกินการควบคุมและการตัดไม้ทำลายป่าจะก่อให้เกิดน้ำท่วมรุนรแง จากรายงานพบว่าประมาณ 40-50% ของโลกในส่วนที่เป็นชั้นน้ำแขช็งวได้เลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากซึ่งความเสื่อมโทรมนี้ล้วนเกิดจากการกระทำของมนุษย์ และอีก 66% เป้ฯการทำth.wikipedia.org/wiki/ระบบนิเวศ
ประมงมากเกินไปของมนุษย์ ในปัจจุบันปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นกว่า 30% ตัี้งแต่มีการทำอุตสาหกรรมต่างๆ และในช่วง 2000 ปีที่ผ่านมามีสายพันธุ์ของนกกว่า 25% ที่สูญพันธ์ไป ทำให้สังคมมีการตระหนักถึงผลกระทบมากย่ิงขึั้นจึงก่อให้เกิดนเวิศบริการที่มีไม่จำกัด อย่างไรก็ตามภัยคุกคามส่วนใหญ่มักเกิดจากการกระทำของมนุษย์จึงจำเป้ฯจะต้องพิารณาถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศในระยะยาวและเพ่ิมบทบาทในการเพิ่มที่อยู่อาเศยอขงมนุษย์เพื่อเป็นกฎในการกระทำการทางเสณาบกิจให้กับธรรมชาิตอย่งต่อเนื่อง เช่น ธนาคารความหลากหลาย างชีวภาพ เป็นต้น จะเป้นส่วนที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้อีกสาขาวิชหนึค่งเพื่อช่วยในการจัดการสภาพแวดล้อม ความรับผิดชอบต่อสังคม โอกาศทางธุรกิจและรวมไปถึงอนาคตของเราเอง

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...