Global warming

             ปรากฎการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใหล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
             ในช่วง 100 ปี ที่ผ่านมา นับถึง พงศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉพลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.75 (บวก, ลบ) 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหวางรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า "จากการสังเกตการณืการเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) คอนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพ่ิมความเข้มของ
แก๊สเรือนกระจก ที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่ เป็นผลในรูปของปรากฎการณ์เรือนกระจก ปรากฎการธรรมชาติบาองอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุรหภูิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมาข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการับรองโดยสมาคมและสภาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประทศอุตสาหกรรมต่างๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงสวนใหญ่ของนักวิทยาศาสต์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิ อากาศของโลกโดยตรงเห้ฯด้วยกับข้อสรุปนี้  
         
แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึคง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544-2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสภานการณ์แบบต่างๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปทีช่วงเวลาถึงเพียงปี พงศ. 2643 แต่ความร้อนจะยังคงเพ่ิมขึ้นและระดับน้ำทะเลก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษ แม้ว่าระดับของแก๊สเรือนกระจกจะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูิและระดับน้ำทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจากความจุความร้อนของน้ำในมหาสมุทรซึ่งมีค่าสุงมาก
           การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทำให้เกิดภาวะลมฟ้าอากาศสุโต่ง ที่รุแรงมาขึ้นปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้ำฟ้า จะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่นๆ ของปรากฎกาณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารน้ำเเข็ง การสูยพันธุ์พืช-สัตว์ต่างๆ รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่างๆ เพ่ิมมากขึ้น  th.wikipedia.org/wiki/ปรากฏการณ์โลกร้อน
          การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงการกระจายทางสถิติของรูปแบบสภาพอากาศเมื่อกาเรปลี่ยนแปลงนั้นกินเวลานาน (เช่น หลายสิบปีถึงหลายล้านปี) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเฉลี่ย หรือความแปรผันของเวลาของสภาพอากาศเกี่ยวกับภาวะเฉลี่ยที่กินเวลานาน (คือ มีเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้นมากขึ้นหรือน้อยลง) การเปลี่ยนแปลวภุมิอากาศมีสาเหตุจากปัจจัยอย่งกระบวนการชีวนะ ความแปรฝันของรังสีดวงอาทิตย์ที่โลกได้รับ การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค และการปะทุของภูเขาไฟ กิจกรรมบางอย่างของมนุษย์ยังถูกระบุว่าสาเหตุสำคัญของการเปลี่ยนแปลงภูมิอาเกาศลาสุด มักเรียกว่า "โลกร้อน"
           ตามความหายของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)) หรือหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่สามารถพิสูจน์ได้างสถิติของสภาพภูมิอากาศจากภาวะปกติหรือเกินไปจากความแปรผันตามธรรมชาติและากรเปลี่ยนไปนั้นมีความต่อเนื่องยาวนานเกินทศวรรษ ซึ่งสามารถเกิดได้จากการเปลี่ยนแปลงตามะรรมชาติหรือการเปลี่ยนแปลงจากกิจกรรมของมนุณย์
          ความหมายจากกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC)) ที่ให้ความหมายว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเป็นผลทางตรง หรือทางอ้กมจากิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้องค์ประกอบของบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป นอกเหนือจากความผันแปรตามธรรมชาติ th.wikipedia.org/wiki/การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
         ประชาคมโลกตอสนองต่อปัญหานี้ดังนี้
          ในการประชุมภูมิอากาศโลกครั้งแรก ซึ่งจัดขึ้นที่เจนีวประเทศวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 12-23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 นักวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักถึงปัญหารเปลี่ยนแปลงภูมิแอากาศของโลก การประชุมครั้งนี้เน้นถึงเรื่องผลกระทบของการปลี่ยนแปลงภูมิากาสที่มีต่อมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ และเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลงและป้องกันการกระทำของมนุษย์เอง นอกจากนี้ยังได้วางแผนจัดตั้ง "แผนงานภูมิอากาศโลก" ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ และ International Council of Science Unions หรือ ICSU
          หลังจาก พ.ศ. 2522 เป็นต้นมาได้มรการประชุมระหว่าประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีกหลายครั้ง ซึ่งการประชุมเหล่านี้ช่วยให้ประเทศต่างๆ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศมาขึ้น ผุ้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผุ้กำหนดนโยบายในหน่วยงานรัฐบาล นักวิทยาศาสตร์และนักสิ่งแวดล้อม ไดพิพจารณาประเด็นทั้งด้านวิทยาศาสตร์และนโยบาย และเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกร่วมมือดำเนินการเกี่ยวกับปัญหานี้
          พ.ศ.2531 องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และโครงการสิ่งแวล้อมแห่งสหประชาชาติ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาส โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมนข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเท่าปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศ
          พ.ศ. 2533 IPCC ได้เสนอรายงานการประเมินครั้งที่ 1 ซึค่งเน้นย้ำปรากฎการณ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายงานนี้มีผลอย่างมากต่อสาธารณชนและผุ้กำหนดนโยบาย และเป็นพื้นฐานในการเจรจาอนุสัญญาว่าด้วยการเปลีี่ยนแปลงภูมิอากาศ
          เดือนธันวาคม 2533 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติมีมติให้เร่ิมดำเนินการเจรจาข้อตกลง โดยตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลบเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งได้มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง ต้งแต่กุมภาพันธ์ 2534- พฤษภาคม 2535 และเนื่งจากเส้นตายที่จะมีการประชุมสุดยอดของโลก หรือการประชุมแ่หงสประชาชาติว่า้ดวยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ในดิืนมิถุนาย 2535 ผู้เจรจาจาก 150 ประเทศ จึงจัดทำร่างอนุสัญญาฯ เสร็จสิ้น และยอมรับยที่นิวยอร์ค เมื่อวันที่ พ9 พฤษภาคม 2535 ในการปะชุมสุดยอดของโลก เมื่อเดินมิถุนายน 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ตัวแทนรัฐบาล 154 รัฐบาล ผรวมสหภาพยุโรป) ได้ลงนามในอนุสัญญาสหปรุชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยเป้าหมายสูงสุดของ คือ การรักษาระดับประมิาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่อยู่ในรดับที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบภูมิอากาศ
       
 21 มีนาคม 2537 เป็นวันที่อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้ เนื่องจากอนุสัญญาณ ระบุว่าให้มีผลบังคับใช้ภายใน 90 วัน หลังจากประเทศที่ 50 ให้สัตยาบัน ต่อจากนั้นอีก 6 เดือน
         21 กันยายน 2537 ประเทศพัฒนาแล้วเร่ิมเสนอรายงานแห่งชาติ เกี่ยวกับกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงภูมิาอากาศ ขฯะเดียวกัน คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลฯ ได้มีการประชุมกันหลายครั้งเพื่อพิจารณาเรื่องการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ การจัดการเกี่ยวกับการเงิน การสนับสนุนเงินทุนและเทคโนโลยีแก่ประเทศกำลังพัฒนารวมทั้งแนวทางการดำเนินงสรแลสถาบันที่เกี่ยวช้อง ต่อมาคณะกรรมการชุนนี้ค่อยไ ลดบทบาทลงและยุบไป (การประชุมครั้งสุดท้าย เดือนกุมภาพันธ์ 2538) และได้ไให้ที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ เป็นองค์กรสุงสุดของุอนุสัญญาฯ โดย COP มีหน้าที่ติดตามตรวจสอลกาอนุวัติตามอนุสัญญาฯ และประเด็นทางกฎหมายที่เีก่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งการตัดสินใจสนับสนุนและส่งเสริมการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ อย่างมีประสิทธิภาพ...www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=86
         อาเซียนเองก็ตระหนักถึงความสำคัญเรือง "ภาวะโลกร้อน" ซึ่งในประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม ในความสำคัญที่ว่าด้วยความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม หมวด D ข้อ D10  คือ "การตอบสอนงต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ" โดยเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ การส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรากบิจและสังค สุขภาพและส่ิงแวดล้อมในรัฐสมาชิกอาเซียน ดดยดำเนินมาตรการนใการบรรเทาและการปรับตัวบนพื้นฐานของหลักความเป้นธรรม ความยืดหยุ่น การมีประสิทธิภาพและความรับผิดชขชอบร่วมกัน และแตกต่างกัน ตามขีดความสามารถ รวสมทั้งสะท้อนสภาวะที่แตกต่างทางสังคมและเศรษบกิจของแต่ละประเทศ
       
โดยมีมาตรการดังนีั
          i. ส่งเสริมความเข้าใจร่วมกันของอาเซียนว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภพภูมิอากาศและ (เท่าที่เป็นไปได้) มีส่วนร่วมในความพยายามและท่าที่ร่วมกันในการจัดการประเด็นเหล่านี้
          ii. ส่งเสริมความพยายามในการจัดทำข้อริเร่ิมการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
          iii. ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ (R&D) การถ่ายทือดเทคโนโลยีและแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการปรับตัวแลมาตรการลดผลกระทบ และส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
          iv. สรับสนุนให้ประชาคม
ดลกมีส่วนร่วมและช่วยสนับสนุนความพยายามของอาเซียนในเรื่องการปลูกป่า และฟื้นฟูผืนป่ารวมทั้งเพื่อลดปริมาณการตัดไม้ทำลายป่าและากรทำให้ป่าเสื่อมสสภพ
          v. พัฒนายุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคเพ่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวสำหรับกิจกรรมทางเศรษบกิจที่ก่อให้เกิดคาร์บอนต่ำ และส่งเสริมการตะหนักรับรู้ของสาธารณชนเพื่อจัดการผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภุมิอากาศ
           vi. เสริมสร้างการประสานงานระหว่งประเทศมาชิกอาเซียนและประเทศคุ่เจรจาในการจัดการภูมิอากาศที่เกี่ยวกับภัยพิบัติและดครงการการเลปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
           vii. พัฒนาระบบสังเกตการณ์ในระดับภมิภาคเพื่อตรวจสอบผลกระทบจากการเปลียนแปลงทงภูมิอากาศที่เป็นภัยต่อระบบนิวศในอาเซียน
           viii. สนับสนุนการจัดทำนโยบายระดับภมูิภาค การศึกษาทางวิทยาศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยดำเนินการให้เป็นไปตามอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและอนุสัญญาที่เกี่ยวข้อง
            ix. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้แลสนับสนุนการมีส่วนร่วมของขชุมขชนในการปกป้องสุขภาพมนุาญ์จาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
           x. ส่งเสิรมการมีส่วนนร่วมขององค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน องค์กรเอกชน และชุมชนในการจัดการกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมออากาศ
           xi. ส่งเสิรมยุทธศาสตร์เพื่อทำให้เิดความเชื่อมั่นว่าข้อริเริ่มที่นำไปสู่ประชาคมอาเซียนที่มีเศรษบกิจที่ดีและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดดยคำนึงถึงความร่วมมือที่ต่างผ่ายต่างได้ประโยชน์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาทงเศรษบกิจmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d10/
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)