Biodiversity

              ชีวภาพ หมายถึง ชีวิต เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพทำให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต เช่น ภวะซึมเศร้าอาจเกิดจากความไม่สมดุลของสารชีวภาพในสมอง บางครั้งคำว่าชีวภาพ ใช้เกี่ยวกับจุลินทรีย์และกระบวนการผลิตส่ิงที่ได้และเกิดจากส่ิงมีชีวิต ะช่น เกษตรกรมักใช้วิธีการทางชีวภาพทำปุ๋ยหมัก การกำจัดน้ำเสีย ด้วยน้ำหมักwww.royin.go.th/?knowledges=%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E-%E0%B9%98-%E0%B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%95
ชีวภาพซึ่งมีจุลินทรีย์นับว่าได้ผลเป็นที่พอใจ ในการทำสงครามนอกจากจะใช้ขีปนาวุธและยุทโธปกรณ์ต่างๆ ยังพบการใช้อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธเคมี และอาวุธชีวภาพ อีกด้ว นอกจากน้คำว่าชีวภาพยังมีความหมายตรงข้ามกับคำว่า กายภาพ ในความหมายว่า สิ่งมีชวิต ตรงข้ามกับ สิ่งไม่มีชีวิต เช่น เพ่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ครัวเรือนของเกษตรกรต้องมีทรัพยากรทางกายภาพ และชีวภาพเพียงพอต่อการดำรงชีพ บุคลากรทีทำงานเสี่ยงภัยต้องสวมใส่ถุปกรณืเพื่อป้องกันตนเองจากอันตรายทางกายภาพ และอันตรายทางชีวภาพ
              ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีส่ิงมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโล หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์, สายพันธุ์ และระบบนิเวศ ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก
              ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายบระหวา่งสายพันธุื ระหว่างชนิดพันธุ์และระหว่างระบบนิเวศ
              ความหลากหลายางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์สามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์และระหว่างระบบนิเวศ
              ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่าสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือ ข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยุ่ในสายพันธุ์ต่างๆ ังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องากรของ ตลาดได้ เช่น ไก่พันะู์เนื่อ ไก่พันธุ์ไข่ดก และวัดพันธุ์เนื้อ เป็นต้น
           
ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธ์ุ สามารถพบเห้นได้โดยที่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป้ฯต้น หรือส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และว้วแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาเศยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยช์ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม น้อยกกว่าร้อบละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป้นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็อาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพัชมมีท่อลำเลียง ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงน้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี่ยงมาเพือใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มกระดูกสันหลง ทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด
             ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป้นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่งระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่นทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ้งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาเศัยแตกต่างกัน
              ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถ่ินทีอยู่อาเศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมสีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้บริการทางสิ่งแวดล้อม ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ ทำหน้าที่ดุดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่อนด้วย เป้นต้น
              อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ
              จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา หรือการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม ณ กรุงระโอ เดอ เจเนโร ประเทบราซิล เมื่อวันที่ 5-14 มิถูนายน พ.ศ. 2535 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรองอนุสัญญาว่ด้วยความหลากลหลายทางชีวภาพ โดยมีทั้งสิ้น 157 ประเทศร่วมลงนาม อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ 2536 ปัจจุบัมีภาคี 191 ปรเทศ ในส่วนของประเทศไทย ได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พงศ. 2535 และให้สัตยาันเข้าเป็นภาคีเมือวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใ้เมือวันที่ 29 มกตาคม พ.ศ. 2547
             อนุสัญญาฯ เป้ฯความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่งปรเท ที่มีเจตนารมณ์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษษวินัยสิ่งแวดล้อม อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เป็นอนุสัญญานานาชติฉบับแรกที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ ทั้งพันธุกรรม ชนิดพันธู์ และระบบนิเวศ โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ
            - เพื่ออนุรักษณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
            - เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากลหยทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
            - เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมth.wikipedia.org/wiki/ความหลากหลายทางชีวภาพ
             ระบบนิเวศ คือกลุ่มอินทรีย์ (พืช สัตว์และจุลินทรีย์) ร่วมกับองค์ประกอบชีวนะของส่ิงแวดล้อมของพวกมัน (เช่น อากาศ น้ำและดินอนินทรีย์) ซึงมีปฏิสัมพันะ์กันเป็นระบบ ถือว่ ส่วนประกอบชีวนะและอชีวนะเชื่อมกันผ่านวัฎจักรสารอาหรและการถ่ายทอดพลังงาน ระบบนิเวศนิยามเป้นเครือข่ายปฏิสัมพันธ์ระหว่างอินทรีย์ด้วยกันและระหว่างอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศมีขนาดเท่าใดก็ได้ แตกปกติครอลคลุมพื้นที่เฉพาะจำกัด แม้นักวิทยาศาสตร์บลางส่วนกล่าวว่า ทั้งโลกก็เป็นระบบนิเวศหนึ่งด้วย
           
พลังงาน น้ำ ไนโตรเจนและดินอนินทรีย์เป็นอีกส่วนประกอบอชีวะนะของระบบนิเวศ พลังงานซึ่งถ่ายทอดผ่านระบบนิเวศได้มาจากดวงอาทิตย์เป็นหลัก โดยทั่วไปเข้าสู่ระบบผ่านการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งกระบวนการนี้ยังจับคาร์บอนจากบรรยากาศด้วย สัตว์มีบทบาทสำคัญในการเคลื่อนของสสารและพลังงานผ่านระบบนิเวศ โดยการกินพืชและสัตว์อื่น นอกจากนี้ สัตว์ยังมีอิทธิพลต่อปริมาณพืชและชีวมวลจุลินทรีย์ที่มีอยู่ ตัวสลายสารอินทรีย์ปลดปล่อยคาร์บอนกลับสู่บรรยากาศและเอื้อการเกิดวัฎจักรสารอาหารโดยการแปลงสารอาหารที่สะสมอยุ่ในชีวมวลตายกลับสุ่รูปที่พร้อมถูกพืชและจุลินทรีย์อื่นใช้ โดยการย่อยสลายสารอินทรรีีย์ตาย ในธรรมชาิตและ้มีสาร 60 ชนิด ในจำนวน 96 ชนิด หมุนเวยนผ่านเข้าไปในอินทรีย์
             ระบบนิเวศมีทั้งปัจจัยภายนอกและภายในควบคุม ปัจจัยภายนอก เช่นภูมิอากาศ วัสดุกำเนิด วึ่สร้างดินและภูมิลักษณ์ ควบคุมโครงสร้างโดยรวมของระบบนิเวศและวิธีที่สิ่งต่างๆ เกิดในนั้น แต่ปัจจัยดังกล่าวไม่ได้รับอิทธิพลจากระบบนิเวศ ปัจจัยภายนอกอื่นรวมเลาและชีวชาติศักยะ ระบบนิเวศเป้นส่ิงพลวัต คือ อยู่ภายใตการรบกวนเป็นระยและอยู่ในกระบฝวนการฟื้นตัวจากการรบกวนในอดีตบางอย่าง ระบบนเวศในสิ่งแวดล้อมคล้ายกันที่ตั้งอยุ่ในส่วนของโลกต่างกันสามารมีลักษณะต่างกันมากเพราะมีชนิดต่างกัน การน้ำชนิดต่างถ่ินเข้ามาสามารถทใไ้เกิดการเลื่อนอย่างสำคัญในการทำหน้าที่ของระบบนิเวศ ปัจจัยภายในไม่เพียงควบคุมกระบวนการของระบบนิเวศ แต่ยังถูกระบบนิเวศคบคุมและมักอยู่ภายใต้วงวนป้อนกลับ เช่นกัน ขณะที่ทรัพยากรป้อนเข้าปกติถูกกระบวนการภายนอก เช่น ภูมิอากาศและวัสดุกำเนิด ควบคุม แต่การที่ทรัพยากรเหล่านี้ในระบบนิเวศถูกปัจจยภายใน เช่นการผุสลายตัว การแข่งขันรากหรือการเกิดร่ม ควบคุม ปัจจัยภายในอื่นมีการรบกวน การสืบทอด และประเภทของชนิดทีมี แม้มนุษย์อยู่ใและก่อให้เกิดผลภายในระบบนิเวศ แต่ผลลัพธ์รวมใหญ่พอมีอิทธิลต่อปัจจัยภายนอกอย่างภูมิ
อากาศ
             ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่นเดียวกับการรบกวนและการสืบทอด มีผลต่อการทำหน้าที่ของระบบนิเวศ ระบบนิเวศให้สินค้าและบริหารต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการ หลักกรการจัดการระบบนิเวศเสนอว่า แทนที่จะจัดการชนิดหนึงเพียงชนิดเดียว ควรจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ระบบนิเวศด้วยการจำแนกระบบนิเวศเป็นหน่วยเอกพันธุ์ทางระบบนิเวศ เป็นขึ้นตอนสำคัญสู่การจัดการระบบนิเวศอย่างสัมฤทธิ์ผล แต่ไม่มีวิธีทำวิธีใดหนึ่งตกลงกัน
              กระบวนการระบบนิเวศ











            แผนภาพการถ่ายทอดพลังงานของกบ กบเป็นสัญลักษณ์ของปมหนึ่งในสายใยอาหารขยาย พลังงานจากการกินถูกใช้ประโยชน์เพื่อกรบวนการเมแทบอลิซึมแล้วแผลงเป้นชีวมวล การถ่ายทอดพลังงานดำเนินวิถีของมันต่อการกบูกนักล่าหรือปรสิตกินต่อ หรือถูกกินเป็นซากสลายในดิน แผนภาพการถ่ายทอดพลังงานนี้แสดงวิธีที่พลังงานเสียไปเพื่อเป็นเชื้องเพลิงกระบวนการเมเทบอลิซึมซึ่งแปลงพลังงานและสารอาหารเป็นชีวมล 

            โซ่อาหารพลังงานเชื่อโยงสามขยาย (1. พืช, 2. สัตว์กินพช 3. สัตว์กินเนื้อ) แสดงความสัมพันธ์ระหว่งแผนภาพการถ่ายทอดอาการและสัดส่วนการแปลงพลังงาน สัดส่วนการแปลงพลังงานลดลงจากคุณภาพสูงกว่เป็นคุณภาพต่ำกว่าเมื่อพลังงานในโซ่อาหารไหลจากชนิดโภชนาการหนึ่งไปอีกชนิดหนึ่ง ( I สิ่งป้อนเข้า, A การนำอาหารไปเสริมสร้างเนื้อเยื่อ, R การหายใจ, NU ไม่ถูกใช้ประโยชน์, P การผลิต B ชีวมวล)
            คาร์บอนและพลังงานซึ่งรวมอยุ่ในเนื้อเยื้อพืช(การผลิตปฐมภูมิสุทธิ) ถูกสัตว์บริโภคขณะพืชยังมีชีวิต หรือยังไม่ถูกกินเมือเนื้อเยือพืชตายและกลายเป็นซากสลาย ในระบบนิเวศบนดินการผลิตปฐมภูมิสุทธิราว 90%  ถูกตัวสลายสารอินทรีย์สลาย ส่วนที่เหลือไม่ถุกสัตว์บริโภคขณะยังมีชีวิตแล้วเข้าสูระบบโภชนาการที่มีพืชเป็นฐาน ก็ถุกบริโภคหลังตายแล้วแล้วเข้าระบบโภชนาการที่มีซากสลายเป็นฐาน ในระบบในน้ำ สัดส่วนชีวมวบลพืชที่ถูกสัตว์กินพืชบริโภคมีสุงกว่ามาก ในระบบโภชนาการ อินทรีย์สังเคราห์ด้วยแสดงเป็นผุ้ผลติปฐมภูมิ อินทรีย์ที่บริโภคเนื้อเยื่อของผุ้ผลิตปฐมภูมิ เรียก ผุ้บริโภคปฐมภุมิ ผุ้บริโภคลำดับที่หนึ่ง หรือผุ้ผลิตทุติยภูมิ คือ สัตว์กินพืช สัตว์ที่กินผุ้บริโภคปฐมภุมิ คือ  สัตว์กินเนือ เป็นผุ้บริโภคทุติยภูมิหรือผุ้บริโภคลำดับที่สอง ผุ้ผลิตและผุ้บริโภคเหล่านี้ประกอบเป็นระดับโภชนาการ ลำดับการบริโภค ตั้งแต่พืชถึงสัตว์กินพืช ถึงสัตว์กินเนื้อ ก่อเป้นโซ่อาหารระบบจริงซับซ้อนกว่านี้มาก โดยทัี่วไปอินทรีย์จะกินอาหารมากว่าหนึ่งรูปและอาจกินที่ระดับโภชนาการมากกว่าหนึ่งระดับ สัตว์กินเนื้ออาจจับเหยื่อบางส่วนซึ่เป็นส่วนหนึ่งของระบบโภชนาการที่มีพืชเป็นฐานและบางส่ยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบโภชนาการที่มีซากสลายเป็นฐาน เช่น นกกินทั้งตั้กแตนซึ่งเป็นสัตว์กินพืช และไส้เดือนเดินซึ่งบริโภคซากสลาย ระบบจริงที่มีบรรดาความซับซ้อนเหล่านี้ ก่อสายใยอาหารแทนโซ่อาหาร
             
การผุสลายตัว คาร์บอนและสารอาหารที่อยู่ในสารอินทรีย์ที่ตายแล้วจะโดนแบ่งกลุ่มด้วยกระบวนการที่เรียก่ารสลายตัว สารอาหารที่ได้จากการสลายตัวนั้นสามารถนำกลับมารใช้ได้สำหรับพืชและจุลินทรีย์และอีกส่วนหนึ่งจะกลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์กลับสู่ชั้นบรรยากาศเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสง หากไม่มีการสลายตัวจะมีสารอินทรีย์ที่ตายแล้วและสารอาเหารการสะสมอยู่ในระบบและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศก็จะหมดไป ประมาณ 90% ของอัตราการผลิตปฐมภูมิสุทธิ จะมาจากผู้ย้อยสลายโดยตรง
              กระบวนการย่อยสลายสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
              - การกระจายตัวและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของวัตถุที่ตายแล้วเมื่อมีน้ำไหลผ่านสารอินทรีย์ที่ตายแล้ว มันจะละลายและกลางเป็นองค์ประกอบของนำซึ่งเป้ฯส่ิงมีชีวิตที่อยู่ในดิน หรือสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากส่ิงที่มีในระบบนิวเศ ใบไม้ที่เพิ่งผลัดใบและสัตง์ที่เพีิงตายเป็ฯส่วนที่ทำให้ความเข้มข้นของน้ำเพ่ิมมากขึ้นและรวมถึงน้ำตาล กรดอะมิโนและแร่ธาตุ การชะล้างที่สำคัญจะเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เปียกและความสำคัญจะลดลงเมือชะล้างแห้งแล้ง
              - กระบวนการการแยกชิ้นส่วนโดยการทำให้อินทรีย์วัตถุแตแล้วกลายเป้นชิ้นส่วนเล็กๆ ซึ่งทำให้เห็นบริเวณที่จุลินทรีย์กระจายตัว แต่สำหรับใบไใ้สดจุลินทรีย์ไม่สามารถเข้าถึงได้เนื่องจากผิฟหรือเปลือกไม้และองค์ประกอบเซลล์จะถูกปกป้องไว้ด้วยผนังเซลล์ สำหรับสัตว์ที่เพิ่งตายจะโดนครอบคลุมด้วยโครงกระดูกแข็ง โดยกระบวนการแยกนี้หากชิ้นสวนที่แตกสามารถผ่านชั้นที่มีการปกป้องนี้ได้ก็จะสามารถช่วยเร่งการย่อยสลายของจุลินทรีย์ได้ดีชขึ้น การล่าซกชิ้นสวนของสัตว์ก็เพื่อนำไปเป็นอาหาเืพ่อการดำรงชีพ ซึ่งเปรียบเสมอืนเป้นวงจรที่ใช้ทดสอบความคงตัวและวงจรของชิ้นส่วนวัตถุที่ตายแล้วในสภาพแวดล้อมที่เปียกและแห้ง
             - การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารอินทรีย์ที่ตายส่วนใหญ่จะได้จากแบคทีเรียและการกรทำของเชื้อราเป้ฯหลัก โดยเส้นใยราจะสร้างเอนไซม์เพื่อสามารถแทรกผ่านโครงสร้างภายนอกของวัตถุอินทรีย์ของพืชที่ตายแล้วได้ อีกทั้งผลิตเอเนไซม์เพื่อสลายลิกนินซึ่งช่วยให้มันสมารถผ่านไปยังทั้งสองเซลล์และไปยังไนโตรเจนที่อยู่ในลิกนิน เชื้อราสามารถแลกเปลี่ยนคาร์บอนและไนโตรเจนผ่านเส้นใยที่มีโครงสร้างเป้นร่างแหดังนั้นจึงแตกต่างจากแบที่เรียและไม่ขึ้นอยูกับทรัพยากรที่มีอยุ่ในบริเวณดังกล่าว
             การจัดการระบบนิเวศ 
             การจัดการระบบนิเวศ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการจัดการทรัยากรธรรมชาิต ที่มีในรบบนิเวศมากว่า 1 ชนิด ได้นิยามไวว่า "การประยุกต์ใช้ศษสตร์ทงนิเวศวิทยาในการจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนของระบบนิเวศในระยะยาวและ การส่งมอบสินค้าและบริการของระบบนิเวศที่สำคัญ มีผุ้ให้นิยามระบบนิเวศไว้ว่า "การจัดการเป้าหมายอย่งชัดเจน ดำเนินการตามนโยบาย ระเบียบการ การปฏิบติแลสามารถปรับตัวได้จากการตรวจสอบและกระบวนการที่จำเป็นเพื่อรักษาโครงสร้างของระบบนิเวศและการวัจัยบนพื้นฐานความเข้าใจที่ดีที่สุดของเรามีปฏิสัมพันธ์ทางนิเวศวิทยา" และ "การจัดการพื้นที่ที่มีคามหลากหลายแบบนิเวศบริการและชีวภาพ มีเก็บทรัพยากรเพื่อที่มนุษย์ใช้อย่งเหมาะสมและการดำรงชีวิตที่ยั่งยืน
           
แม้ว่าคำจำกัดควมของการจัดการระบบนิเวศจะมีมากมาย ได้มีการกำหนดหลักการเพื่อรองรัลบคำนิยามเหล่านี้ ไว้ว่า หลักการพื้นฐาคือการพัฒนาอย่างยั้งยืนในระยะยาวของการผลิตสินค้าและนิวเศบริการ "การพัฒนาอย่งยังยืนเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการจัดการ ไม่ใช่ของแถม" นอกจากนี้ยังต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทของมนุษย์เป็นส่วนประกอบของนระบบนิเวศและการจัดการที่เหมาะสม ในขณะที่การจัดการระบบนิเวศที่สามารถนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของแผนเืพ่อการอนุรักษ์ป่าก้ยังสามารถน้ำมาใช้ในการจัดการระบบนิเวศ เช่นระบบนิเวศเกษตร
           ภัยคุกคามจากมนุษย์ที่มีต่อระบบนิเวศ
           ขณะที่ประชากรกรมในุษย์เติบโตขึ้นเพื่อทำต้องการทรัพยากรที่กาำหนดในระบบนิเวศและผฃกระทบของรายเท่าทางนิวเศของมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติสามารถทำลายได้และใช้ได้อย่งมากมายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการกรทำของมนุษย์ล้วนเป้นกระบวนการหรือวัสดุที่ได้มาจากการกระทำของมนุษย์ จะส่งผลให้คุณภาพของอาเาศและน้ำถูกทำลายมากยิ่งขึ้น รวมถึงการทำการประมงที่มากเกินไปทำให้ศัตรูพืชและโรคระบาดจะขยายพื้นที่มากย้ิงขึ้นเกินการควบคุมและการตัดไม้ทำลายป่าจะก่อให้เกิดน้ำท่วมรุนรแง จากรายงานพบว่าประมาณ 40-50% ของโลกในส่วนที่เป็นชั้นน้ำแขช็งวได้เลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากซึ่งความเสื่อมโทรมนี้ล้วนเกิดจากการกระทำของมนุษย์ และอีก 66% เป้ฯการทำth.wikipedia.org/wiki/ระบบนิเวศ
ประมงมากเกินไปของมนุษย์ ในปัจจุบันปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นกว่า 30% ตัี้งแต่มีการทำอุตสาหกรรมต่างๆ และในช่วง 2000 ปีที่ผ่านมามีสายพันธุ์ของนกกว่า 25% ที่สูญพันธ์ไป ทำให้สังคมมีการตระหนักถึงผลกระทบมากย่ิงขึั้นจึงก่อให้เกิดนเวิศบริการที่มีไม่จำกัด อย่างไรก็ตามภัยคุกคามส่วนใหญ่มักเกิดจากการกระทำของมนุษย์จึงจำเป้ฯจะต้องพิารณาถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศในระยะยาวและเพ่ิมบทบาทในการเพิ่มที่อยู่อาเศยอขงมนุษย์เพื่อเป็นกฎในการกระทำการทางเสณาบกิจให้กับธรรมชาิตอย่งต่อเนื่อง เช่น ธนาคารความหลากหลาย างชีวภาพ เป็นต้น จะเป้นส่วนที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้อีกสาขาวิชหนึค่งเพื่อช่วยในการจัดการสภาพแวดล้อม ความรับผิดชอบต่อสังคม โอกาศทางธุรกิจและรวมไปถึงอนาคตของเราเอง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)