Forest resources

            ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรชาติที่มีความสำคัญอย่างย่ิงต่อส่ิงมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ เพราะป่าไม้มีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัยสี่ คื ออาการ เครื่องนุ่งห่ม ที่อยุ่อาเศียและยารักษาโรคสำหรับมนุษย์ และยังมีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัยสี คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาเสัยและยารักษาโรคสำหรับมนุษ์ และยังมีประโยชน์ในการรักษาสมดุลของิ่งแวดล้อม ถ้าป่าไม้ถูกทำลายลงวไปมาก ๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น สัตว์ป่า ดิน น้ำ อากาศ ฯลฯ เมื่อป่าไม้ถูกทำลาย จะส่งผลไปถึงดินและแหลง้ำด้วย เพราะเมื่อเผาหรือถางป่าไปแล้ว พื้นดินจะโล่งขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะล้างหน้าดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนั้นเมื่อขาดต้นไม้คอยดูดซับน้ำไว้น้ำก็จะไหลผ่าท่วมบ้านเรื่อน และที่ลุ่มในฤดู้ำหลากพอถึงฤดูแล้งก็ไม่มีน้ำซึมใต้ดินไว้หล่อเี้ยงต้นน้ำลำธารทำให้แม่น้ำมีน้ำน้อย ส่งผลกระทบต่อมาถึงระบบเสราฐกิจและสังคม เช่น การขาดแคลนน้ำในการชลประทาฯทใไ้ทำนาไม่ไ้ผลจขาดน้ำมาผลิตกระแสไฟฟ้า
         
ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย ประเภทของป่าไม้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการกระจายของฝน ระยะเวลาที่ฝนตกรวมท้งปริมาณน้ำฝนทำให้ป่าแต่ละแห่งมีความชุ่มชื้นต่างกัน สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
           - ป่าประเภททีไม่ผลัดใบ เป็นป่าทีมองดุเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ขึ้นอยู่เป้นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่าชนิดสำคัญซึงจัดอยุ่ในประเภทนี้ ได้แก่
              ป่าดงดิบ ซึ่งมักกตะจายอยู่บริเวณที่มีความชุ่มชื้นมากๆ เช่น ตามหุบเขาริมแม่น้ำลำธาร ห้วย แหล่งน้ำ และบนภูเขา ซึ่งสมาถแยกออกเป็นป่าดงดิบชนิดต่างๆ ดังนี้
              ป่าดิบชื้น เป้ฯป่ารกที่มองดูเขียวชอุ่มตลอดปีมีพันธุ์ไม้หลายร้อยชนิดขึ้นเพบียดเสียดกันอยู่มักจะพบกระจัดกระจายตั้งแต่ความสุง 600 ม. จากระดับน้ำทะเล ไม้ที่สำคัญคือ ไม้ตะกูฃยางต่างๆ เช่น ยางนา ยางเสียน ส่วนไม้ชั้นรอง คือ พวกไม้กอ เช่น กอน้ำ กอเดือย
              ป่าดิบแล้ง เป้ฯป่าที่อยู่ในพื้นที่ค่อยข้างรา่บมีความชุ่มชื้นน้อย เช่น ในแถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉอียงเหนือมัอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ที่สำคัญได้แก่ มะคาโมง ยางนา พยาม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสือ
              ป่าดิบเขา ป่าชนิดนี้เกิดขคึ้นในพื้นที่สูงๆ หรือบนภูเขา ตั้งแต่ 1,000-1,200 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ำทะเล ไม้สวนมากเป็นพวก ยีนโมโนสเปริม ได้แก่ พวกไม้ขุนและสนสามพันปี นอกจากนี้ยังมีไม้ตระกูลกอขึ้นอยู่ พวกไม้ชั้นที่สองรองลวมาได้แก่ เป้ง สะเดาช้าง และขมิ้นต้น
           
 ป่าสนเขา ป่าสนเขามักปรากฎอยู่ตามภูเขาสูงส่วนใหญ่เป็ฯพื้นที่ึ่งมีความสูงประมาณ 200-1,800 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ำทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันอกเฉียงเหนือ บางที่อาจประากฎในพื้นที่สูง 200-300 เมตร จากระดับน้ำทะเลในภาคระวันอกเแียงใต้ ป่าสนเขามัลักษณะเป้ฯป่าโปร่ง ชนิดพันธุ์ไม้ที่สำคัญของป่าชนิดนี้คือ สนสองใบ และสนสามใบ ส่วนไม้ชนิดือื่นที่ขึ้นอยู่ด้วยได้แก่พันธุ์ไม้ป่าดิบเขา เช่น กอชนิดต่างๆ หรือพันธ์-ม้ป่าแดงบางชนิด คือ เต็ง รัง เหนียง พลวง เป็นต้น
             ป่าชายเลน บางที่เรียกว่า "ป่าเลนน้ำเค็ม" หรือป่าเลน มีต้นไไม้ขึ้นหนาแน่นแต่ละชนิดมีรากค้ำยันและรากหายใจ ปาชนิดนี้ปรากฎอยู่ตามที่ดิจและริมทะเลหรือบริเวณปากน้ำแม่น้ำใหญ่ ๆ ซึ่งมีน้ำเค็มท่วมถึงในพื้นที่ภาคใต้มีอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั้งสองด้าน ตามชายทะเลภาคตะวันออกเมีอยู่ทุกจังหวัด พันธ์ไม้ที่ขึ้นอยุ่ตามป่าชายเลน ส่วนมากเป้ฯพันธุ์ไม้ขนาดเล็กใช้ประโยชน์สำหรับการเผาถ่านและท่ำฟืนไม้ชนิดที่สำคัญ คือ โกกาง ประสัก ถั่วขาว ถัวขำ โปรง ตะบุน แสมทะเล ลำพูนและสำแพน ฯลฯ สวนไม้พื้นล่างมักเป้ฯพวก ปรงทะเลเหวือกปราหมอ ปอทะเล และเป้. เป็นต้น
             ป่าพรุนหรือป่าบังน้ำจืด ป่าชนิดนี้มักปรากฎในบริเวณที่มีน้ำจือดท่ามมากๆ ดินระบายน้ำมไ่ดีป่าพรุในภาคกลาง มีลัษณะโปร่งและมีต้นไม้ขึ้อยู่ห่าง ๆ เช่น ครอเที่ยน สนุ่น จิก โมกบ้าน หวายน้ำ หยายโปร่ง ระกำ อ้อ และแขม ในภาคใต้ป่าพรุมีขคึ้นอยู่ตามบริเวณที่มีน้ำขึงตลอดปี ดินป่าพรุที่มีเนือที่มากที่สุดอยู่ในบริเวณจังหวัดนรธิวาสดินเป็นพท ซึ่งเป็นซากพืชสลายทับถมกัน เป็นเวลานานป่าพรุแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบริเวณซึ่งเป็นพรุน้ำกรอ่ยใกล้ชายทะเลต้นเสม็ดจะขั้นอยุ่หนาแน่นพื้นที่มต้นกกชนิดต่างๆ เรียก "ป่าพรุเสม็ด หรือ ป่าเสม็ด" อีกลักษณะเป็นป่าที่มีพันธ์ไมต่างๆ มากชนิดขึ้นประปนกัน ชนิดพันธุืไม้ที่สำคัญของป่าพรุ ได้แก่ ทินทนิล น้ำหว้า จิก โสกน้ำ กระทุ่มน้ำกันเกรา โงงันกระทั่งหัน ไม้พื้นล่างประกอบด้วย หวาย ตะค้ำทาองหมากแดง และหมากชนิดอื่นๆ
             ป่าชายหาด เป็นป่าโปร่งไม้ผลัดใบขึ้นอยู่ตามบริเวณหาดชายทะเล น้ำไม่ท่วมตามฝั่งดินและชายเขาริมทะเล ต้นไม้สำคัญที่ขึ้นอยู่ตามหาดชายทะเล ต้องเป็นพื้ชทนเค็ม และมักมีลักาณะไม้เป็นพุ่มลักษณะต้นคดงอ ใบหนาแข็ง ได้แก่ สนทะเล หูกลาว โพธิ์ทะเล  กระทิง ดินเป็ดทะเล หยีน้ำ มักมีต้นเตยและหญ้าต่างๆ ขึ้นอยู่เป็นไม้พื้นล่าง ตามฝั่งดินและชายเขา มักพบไม้เกตลำบิด มะคาเต้ แระบองเพชร เสมา และไม้หนามชนิดต่างๆ เช่น ชิงชัง หนามหัน กำจาย มะดันขอ เป็นต้น
         
 - ป่าประเภทผลัดใบ ต้นไม่ที่ขึ้นอยู่ในป่าประเภทน้ลี้เป็นจำพวกผลัดใบแทบทั้งสิ้น ในฤดูผนป่าประเภทนี้จะมองดูเขียวชอุ่มพอถึงฤดูแล้งต้นไม้ ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบทำให้ป่ามองดูโปร่งขึ้น และมักจะเกิดไฟผ่าเผาไหม้ใบไม้และต้นไม้เล็กๆ ป่าชนิดสำคัญซึ่งอยู่ประเภทนี้ ได้แก่
                ป่าเบญจพรรณ ป่าผลัดใบผสม หรือป่าเบญจพรรณมีลักษณะเป็ป่าโปร่งและยังมีไม้ไผ่ขชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่กระจัดกระจายทั่วไปพื้นที่ดินมักเป็นดินร่วนปนทราย ป่าเญจพรรณ ในภาคเหนือมักจะมีไม้สักขึ้นปะปนอยู่ทั่วไปครอบคลุมลมาถึงจงหวัดกาญจนบุรี ในภาคกลางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก มีป่าเญจพรรณน้อยมากและกระจัดกระจาย พันธุ์ไม้ชนิดสำคัญได้แก่ สัก ประดูดแดง มะค่าโมง ตะแบก สเลา อ้อยชาง ส้าน ยม ห่อม ยมหิน มะเหลือ สมฬง เก็ตดำ เก็แง ฯลฯ นอกจากนี้ไม้ไผ่ที่สำคัญ เช่น ไผ่ป่า ไผ่บง ไผ่ชาง ไผ่รวก ไผ่ไร เป็นต้น
               ป่าเต็งรัง หรือที่เรียกกันว่าป่าแดง ป่าแพะ ป่าโคก ลักษณะทั่วไปเป็นป่าโปรง ตามพื้นป่ามักจะมีโค ต้นแปรง และหญ้าเพ็ก หืพ้นที่แห้งแล้งดินร่วมปนทราย หรือกรวด ลูกรัง พบอยู่ทั่วไปในที่ราบและที่ภูเขา ในภาคเหนือส่วนมากขึ้นอยุ่บนเขาทีั่มีดินตื้นและแห้งแล้งมากที่าภคาตะวันอกเแียงเนือ มีป่า แดงหรือป่าเต็งรังนี้มากที่สุด ตามเนินเขาหรือที่ราบดินทรายชนิดพันธุ์ไม้ที่สำคัญในป่าแดง หรือป่าเต็งรักง ได้แก่ เต็ง รังเหนียง พลวง กรวด พะยอม ติ้ว แต้ว มะเค่าแต ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบก เลือดแสดงใจ รกฟ้า ฯลฯ ส่วนไม้พื้นล่างที่พบมา ได้แก มะพร้าวเต่า ปุ่มแป้ง หญ้า เพ็ก โจด ปรุงและหญ้าชนดอื่นๆ
              ป่าหญ้า ป่าหญ้าที่อยุ่ทุกภาคบริเวณป่าที่ถุกแผ้วถางทำลายบริเวณพื้นที่ดินที่ขาดความสมบูร์และถูกทอดท้อง หญ้าชนิดต่างๆ จึงเกิดขึ้นทแดทนและพอถึงหน้าแล้งก็เกิดไผไหม้ทำให้ต้นไม้บริเวณข้างเคียงล้มตาย พื้นที่ป่าหญ้าจึงขยายมากขึ้นทุกปี พืชที่พบมากที่สุดในป่าหย็าก็คือ หญ้า หย็าขนตาชาง หญ้าโขมง หญ้าเพ็กและปมแป้ง บริเวณที่พอจะมีความชื้นอยู่บ้าง และการระบายน้ำได้ดีก็มักจะพบพงและแซมขึ้นอยู่ และอาจพบต้นไม้ทนไฟขึ้นอยู่  เช่น ดับเต่า รกฟ้าตามเหลือง ติ้วและแต้ว web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/forest/forestn.htm
                ประเทศในภูมิภาคอาเซียนมีพื้นที่ป่าประมาณ 2 ล้านตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 42.7 ของพื้นที่ทั้งหมดแต่อย่งไรก็ดี แนวโน้มที่ผ่ามมาคือเกือบทุกปะเทศล้วนมีสัดส่วนพื้นที่ป่าที่ลดลง และหากพิจาณรถึงพื้นที่อนุรักาณ์ ประเทศที่มีพื้นที่อนุนรักษ์สูงที่สุด คือประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีพื้นทีอนุรักษ์ประมาณ  247,269 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือประเทศไทย และฟิลิปปินส์ ตามลำดับ แต่เมือพิจารณาถึงสัดส่วนของพื้นที่อนุรักษ์ ต่อพื้นที่ทั้งหมดของประเทศแล้ว ประเทศที่มีสัดส่วนของพื้นที่อนุรักษ์สูงที่สุด  ือประเทศกัมพูชา โดยมีสัดส่วนอยู่ที่อระมาณร้อยละ 23.5 ของพื้นที่ประเทศ รองลงมาคือประเทศไทย และฟิลปปินส์ ตามลำดับ หากพิจารณาทรัพยการป่าายแลน จะพบว่าแทบทุกประเทศมีพื้นที่ป่าชายเลนที่ลดลงจาในอดีต การอนุรักษ์พื้นที่ป่าชายเลนจึงหลายเป็นประเด็นการอนุรักษ์ที่สำคัญในภูมิภาคอาเซียน

            พื้นที่ป่าไม้ในประเทศอาเซียน


             สัดส่วนของพื้นที่คุมครองต่อสัดส่วนของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ


            พื้นที่ป่าชายเลน เปรียบเทียบ ค.ศ. 1980 และ 2005


               mnre.stage.symetr.com/th/asean-environment-natural-resources/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89/

              อาเซียนให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม โดยระบุไว้ใน พิมพ์เขียวความร่วมมืออาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม ในหมวดที่่  D ว่าด้วยความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดยในข้อ D 11 "ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน" โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ในภูมิภาคอาเวียนอย่างยั่งยืนและขจึดกิจกรรมยั่งยทน รวมถึงการดำเนินการปราบปรามการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ การถ่ายโอนเทคโนโลยี และส่งเริมการตระหนักรับรู้และส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายและธรรมาภิบาล
              โดยมีมาตรการ คือ
               i. ดำเนินตามแผนงานยุทธศาสตร์ของมาตรการความร่วมมือของอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านป่าไม้ ปี 2548-2553
               ii. สนับสนุนการวางแผนเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่งยั่งยืนและการจัดการเรืองป่าในอาเซียน
               iii. เสริมสสร้างการจัดการสังคมและวัฒนธรรมในด้านปัญหาการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการขจัดความยากจนและการปฏิบัติที่ผิดกฎหมาย เช่น การคอร์รัปชั่นและการฟอกเงิน
              iv. สนับสนุนข้อริเร่ิมระดับโลกและรดับภูมิภาคในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ทำลายป่าและการแผ้วถางป่า และเพื่อส่งเสริมการปลูกป่า และฟื้นฟูพื้นที่ป่าภายใต้ความพยายามของกำไกการพัฒนาที่สะอดา เพื่อกำหนดแรงจูงใจและความช่วยเหลือที่เหมาะสมระหวางประเทศ
              v. สรับสนุนข้อริรเ่มระดับภูมิภาคที่เกี่ยวกับป่าไม้ เช่นข้อริเร่ิมเรื่องการปลูกป่าในใจกลางบอร์เนียว หุ้นส่วนป่าแห่งเอเชีย และเครือข่ายเอเชีย-แปซิฟิก เพื่อการจัดการและการฟื้นฟูป่าอย่างยั่งยืนรวมทั้งความพยายามระดับโลก เช่น ป่าไม้ 1 เวที
             
vi. เสริมสร้างขีดความสามารถและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการวิจัยและการพัฒนาด้านป่าไม้เพื่อบรรลุการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
              vii. เสริมเสร้างความร่วมมือในอาเซียนและร่วมกันจัดการปัญหาเรื่องป่าไม้ทั้งในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศเพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาหุ้นส่วนระดับโลกเพื่อการพัฒนา
              viii. ส่งเสริมการจัดการป่าไ้ รวมทั้งการดำรงชีวิตในชุมชนที่อยู่ในบรเเวณป่าและพื้นที่รอบๆ ป่าให้มีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนของป่าไม้และความเจริญรุ่งเรื่องของประชาชน
              ix. ส่งเสริมการขัดแนวปฏิบัติการที่ไม่ยั่งยืนและที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย
              x. เสริมสร้างการดำเนินการเรื่องการบังคับใช้กฎหมายด้านป่าไม้และ ธรรมาภิบาลเพื่อบรรลุการจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและเพื่อช่วยสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหัสวรรษ รวมทั้งการขจัดและการต่อสู้กับกระบวนการลักลอบตัดไม้ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้อง รวมทัี้งการขจัดแนวปฏิบยัติที่ผิดกฎหมายเลช่นในเรื่องคอร์รัปชั้นและการฟอกเงิน
              xi. ตำเนินการตามแผนงานนการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเสริมสร้างป่าและธรรมาภิบาลในอาเวียน ปี 2551-2558 mnre.stage.symetr.com/th/ascc/d11/
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)