CITES : The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora

           อนุสัญญาไซเตส ไซเตส อนุสัญญาว่าด้วยการต้าระหว่งประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสัญญาวอชิงตัน ประเทศไทยเป็นสมาชิกลำดับที่ 80 โดยลงนามรับรองอนุสัญญาในปี 2518  และให้สัตยาบันในวันที่ 21 มกราคม 2526 
           คณะกรรมการ ไซเตส ประจำปรเทศไทย สังกัน กระทรวงเกษตรและสหกรณื เนื่องจากประทรวงเกษตรและสหกรณื ได้มีคำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ไซเตส ประจำประเทศไทยขึ้น โยมีัหน้าที่ดำเนินการในกิจกรรมต่างๆ และให้คำปรึกษาแก่รัญมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอนุสัะญญา ไซเตสในประเทศไทย
           กระทรวงเกาณตาและสหการณ์ได้จัแบ่หน้าที่รความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานของ ไซเตส ในปรเทศไทยมอบหมายให้ ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดดยตรง ในการดูแลชนิดพันธุ์ที่ ไซเตส ควบคุม คือ
         
 สัตว์ป่า พืิชป่า ของป่า อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมป่าไม้
           พืช อยู่ในความรีับผิดชอบของ กรมวิชาการเกษตร
           สัตว์น้ำ อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมประมง 
           ปัจจุบัน การดำเนินงานการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์ป่า เพื ่อมิให้ประชกรของสัตว์ป่าลดน้อยลงหรือสูญพันธุ์ไป กรมป่าไม้ ได้ดำเนินการร่วมมือและประสานงานกับนานาชาติในการอนุรักษ์สัตว์ป่าและดำเนินงานด้านการป้องกันและปราบปราม โดยได้จัดตั้งด่านตรวจสัตว์ป่าขึ้นที่ทาอากาศยานนานาชาติ ท่าเรือและจุดตรวจตามแนวชายแดน เพื่อป้องกันการลักลอบการค้ การนำเ้ขา การสงออกและนำผ่านแดนซึ่งสัตว์ป่า ที่กระทำผิด พ.ร.บ.สงงนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ในปัจจุบันได้จัดตั้งขึ้นแล้วจำนวน 49 ด่าน
           ไซเตส เร่ิมมีขึ้นเมื่อ สหพันะ์ระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ หรือ IUCN ได้จัดการประชุมนานาชาติ ขึ้นในปี 2516 ที่กรงุวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อร่างอนุสัญญา ไซเตส ขึ้น มีประเทศที่เข้าร่วมประชุม 83 ประเทศรวมทั้งตัวแทนจากประเทไทยด้วย โดยมีผุ้ลงนามรับรองอนุสัญญาฉบับนี้ทันที่ 21 ประเทศและในปี พ.ศ. 2518 IUCN ได้จัดตั้งสำนักงานเลขาธิการ ไซเตส ขึ้น ทำหน้าที่บริหารอนุสัญญาฉบับนี้ ภายใต้การดูแลของ IUCN ปัจจุบนมีสำนักงานอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวตตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกกว่า 140 ประเทศ โดยสมาชิกจะต้องจ่ายเงินอุดหนุนรายไปเป็นค้าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักเลขาธิการ ไซเตส สำหรับประเทศไทยนั้น กรมป่าไม้เป้นผุ้ขอตั้งงบประมาณเงินอุดหนุน ไซเตส โดยช่วงปี พ.ศ. 2536-2538 ประทศไทยต้องจ่ายเงินปีละ 112,000 บาทให้กับ ไซเตส
           
ไซเตสมีจุประสงค์ คือ การอนุรักษณ์ททรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าในโลก เพื่อประโยชน์แห่งมวลมนุษย์ชาติโดยเน้นทรัพยากรสัตว์ป่าแฃละพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือมีการคุกคาม ทำให้มีปริมาณร่อยหรอจนอาจเป้นเหตุให้สูญพันธุ์ วิธีการอนุรักษ์ของ ไซเตส ก็คือ การสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่ไม่ควบคุมการต้าภายในประทเศ สำหรับชนิดพันธุ์อื่นๆ 
              หน้าที่ของไซเตส คือ 
               - สมาชิกต้องกำหนดมาตราการในการบังคับใช้อนุสัญญ ไซเตส มิให้มีการต้าสัตว์ป่า พืชป่าที่ผิดระเบียบอนุสัญญาฯ โดยมีมาตรการลงโทษผุ้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีที่ทราบถึงถ่ินกำเนิด
               - ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่าระหว่งประเทศเพื่อควบคุมและตรวจสอบการต้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญ ไซเตส
               - ต้องส่งรายงานประจำปี เกี่ยวกับสถิติการต้าสัตว์่ป่า พืชป่าของประเทศตนแก่สำนักงานเลขาธิการ ไซเตส
               - ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการ และคณะทำงานฝ่ายวิทยาการ ประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
              -  มีสิทธิเสนอขอเเลกเปลี่ยนชนิดพันธุ์ในบัญชี Appendix I-II-III ให้ภาคีพิจารณา
             ระบบการควบคุมของไซเตส การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศจะถูกควบคุมโดยระบบใบอนุญาต ซึ่งหมายถึงว่า สัตว์ป่าและพืชป่าที่ ไซเตส ควบคุมต้องมีใบอนุญาตในการ 
           
  -นำเข้า
              - ส่งออก
              - นำผ่าน
             - ส่งกลับออกไป 
              ประชาคมอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้มีการจำแนกความสำคัญในลักษณะต่างๆ โดยสิ่งแวดล้อมอยู่ในหมวด  D ซึ่งในข้อ D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษณ์ทรัยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน โดยเป้าหมายทางยุทธศาตร์ คือ ให้ความมัี่นใจว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณ์ของอาเวียนจะได้รับการรักษาและจัดการอย่างยั่งืนโดยการเสริมสร้างสภาวะที่ดีทางด้านสังคม เศราฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
            มาตรการ :
            i. บรรลุเป้าหมาย ภายในปี 2553 ในเรื่องการลดอย่างมีความหมายของอัตราการสูญเสียในปัจจุบันของความหลากหลายทางชีวภาพโดยกาดำเนินแผนงานที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ 
            ii. ส่งเสริมการประสานงาน การแบ่งปันตัวอย่างบทเรียนในการเข้าถึงและการแบ่งปันทรัพยากรทางพันธุกรรมและชีวภาพอย่วงเท่าเทียมกันภายในปี 2558 
            iii. ส่งเสริมการจัดทำรายการและการร่วมกันจัดการอุทยานที่เป็นมรดกของอาเซียนในการเป้นเวทีที่มีประสิทธิภาพสำหรับการจัดการพิ้ที่ที่ได้รับการคุ้มครองทางระบบนิเวศ ภายในปี 2558 
            iv.ส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการพื้นที่คุ้มครองข้ามพรมแดนระหว่างประเทศสมราชิกอาเวียนที่เป็นเพื่อนบ้านกัน
            v. ดำเนินมาตรการที่เหมาะสมเพื่อลอผลกระทบของการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของส่ิงม่ีชีวิตที่เกิดจากการตัดต่อสารพันธุกรรมโดยเป้นไปตามพิธีสารคาร์ทาเกน่าว่าด้วยควาปลอดภัยทางชีวภาพภายในปี 2558
            vi. จัดตั้งเครือข่ายการทำงานในระดับภุมิภาคเพืรีอการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดทำรายการของทรัพยากรทางชีวภาพและมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียนภายในปี 2558
         
  vii. ส่งเสริมบทบาทและศัยภาพของศูนย์อาเวียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์ความเป็นเลิศในระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการอนุรักษ์ และการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
            viii. ส่งเสริมการมีสวนร่วมของชุมชนท้องถ่ินในการักษาความหลากหลายทางชีวภาพแลสุขภาพป่าไม้ ภายในปี 2558
            ix. ส่งเสริมนโยบายการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและแนวปฏิบัติที่จะลอผลกระทบจากการบุกรุกของสายพันธุ์ต่างถิ่นในระดับภูมิภาคและระหว่งประเทศ
            x. ส่งเสริมความร่วมมือในระดับภูมิภาคว่าด้วยการจัดการความหลากหลายทางชีัวภาพอย่างยั่งยืน เช่น การทำวิจัยร่วมกัน และการพัฒนาประสบการณ์ การแลกเปลี่ยนผุ้เชี่ยวชาญและการฝึกอบรม
           xi. เสริมสร้างความพยายาที่จะควบคุมการต้าข้ามพรมแดนในเรื่องสัตว์ป่าและพืชป่าภายใต้แผนงานอาเซียนว่าด้วยเรื่องการต้าพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ปี 2548-2553 และเครือข่ายการป้องกันและปราบปรามการต้าสัตว์ป่าที่ผิดกฎหมาย (อาเซียน-เว็น) เพื่อดำเนินการตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาว่ด้ายการต้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส)
          xii. แสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดทำการสำรวจร่วมกันและการติดตามการอพยพของสัตว์ป่า
          xiii. ส่งเสริมความร่วมือระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดการพื้นดินเสื่อมโทรมสำหรับการจัดการพื้นดินอย่างยั่งยืนเพื่อสนัยสนุนการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d8/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)