วันจันทร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2560

ASEAN CONNECTIVITY II

      โครงการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนที่สำคัญ
       โครงข่ายทางหลวงอาเซียน คือ โครการก่อรสร้างโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการขนส่งทางบกนำร่องซึ่งจะรวมกันเป็นเส้นทางสายหลัก หรือ ทางหลวงระหว่างประเทศ เพื่อสร้างเป็นระบบเรือข่ายการขนส่งโดยรวมของอาเซียน ทางหลวงอาเซียนจะมีส่วนร่วมห้ผุ้ประกอบการสามารถเข้าถึงตลาดที่ใหญ่ขึ้น รวมทั้งลดต้นทุนการขนส่งและการค้า ทำหน้าที่เชื่อต่อห่วงโซ่อุปทานระดับภูมิภาคและระดับโลก ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือ การรวมตัว และการลดช่องว่างทางการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน
        การดำเนินงานก่อสร้างทางหลวงอาเซียนในปัจจุบัน ยังคงมีเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแกนในบางช่วงที่ไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ดังนั้นโครงข่ายทางหลวงอาเซียนจึงมีวัตถุประสงค์หลักในหารก่อสร้างถนนเพ่ิมเติมในช่วงของการขนส่งที่ไม่ต่อเนือง และทำการปรับปรุงยกระดับถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ในเส้นทางที่กำหนด ภายในปี พ.ศ. 2558
        สำหรับช่วงของการขนส่งที่ขาดหาย และต้องการเชื่อมต่อการขนส่งที่ต่อเนื่องมุ่งเน้นไปที่การก่อสร้าง 1) ทางหลวง AH 112 ระยะทาง 60 กม. เชื่อมโยงระหว่างท่าตอน เมาะละแห่ง ละยา และคลองลอย ในสหภาพพม่า และ 2) ทางหลวง  AH 123 ระยะทาง 141 ก.ม. เชื่อมโยงระหว่างทวาย และ ช่องแม่สะแม ในสหภาพพม่า ในส่วนของการปับปรุงเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแดนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงเส้นทางต่อไปนี้
          - ลาว AH 12 เวียงจันทน์ - หลวงพระบาง ระยะทาง 393 กม.
          - ลาว AH 15 บ้านลาว - น้ำนาว ระยะทาง 98 กม.
          - พม่า AH 1 ตามู - มัณฑะเลย์ -บากู -เมียวดี ระยะทาง 781 กม.
          - พม่า AH 2 เม็กทิลา - ลอยเล็ม - เชียงตุง - ท่าขี้เหล็ก ระยะทาง 593 กม.
          - พม่า AH 3 เชียงตุง - เมืองลา ระยะทง 93 กม. สำหรับทางหลวงอาเซียนช่วงที่ผ่านประเทศไทยประกอบด้วยเส้นทางหลัก 6 สาย ได้แก่
                 A-1 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอดไปตามทางหลวงหมายเลข 105 ถึง จ.ตาก เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1  ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.บางปะอิน เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.หินกองเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 33  ผ่าน จ. นครนายก ปราจีนบุรี จรดชายแดนเขชมรที่ อ.อรัฐประเทศ เป้นทางผิวลาดยาง และคอนกรีตตลอดระยะทางประมาณ 698 กม.
                A-2 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอด ไปตามทางหลวงหมายเลข 110 ถึง จ. เชียงราย ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.ลางปะอิน เลี้ยวขวาไปทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกรุงเทพฯ และจากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายพลเขล 4 ผ่าน จ.นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และชุมพร แล้วตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 41 ถึง จ.พัทลุง เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่าน อ. หาดใหญ่และไปจรดชายแดนของมาเลเซียที่ อ. สะเดา สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีต ตลอดสายระยะทางประมาณ 1,945 กม.
             A-3 เร่ิมต้นจากปยกสาย A-2 ที่ จ. เชียงราย ไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ไปจรดเขตแดนทของลาวที่ อ.เชียงของ เป็นทางลาดยางตลอดสายระยะทางประมาณ 115 กม.
             A-12 เริ่มต้นจากแยกสาย A-1 ที่สามแยกหินกองไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง จ.สระบุรี เลี่้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2 ผ่าน จ.นครราชศรีมา ขอนแก่นอุดรธานี สิ้นสุดที่หนองคาย สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีตแล้วตลอดสาย ระยะทางประมาณ 524 กม.
            A-15 เริ่มต้นจากแยกสาย A-12 ที่ จ.อุดรธานี ไปตามทางหลวงหมายเลข 22 ผ่าน จ. สกลนคร สิ้นสุดที่ จ. นครพนม สภาพทางลาดยางตลอดระยะทางประมาณ 241 กม.
            A-18 เริ่มต้นจากแยกสายที่ A-2 ที่ อ.หาดใหญ่ ไปตามทางหลวง หมายเลข 43 แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงเชย 42 ผ่าน จ.ปัตตานีไปจนถึง จ. นราธิวาส จากนั้นไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ไปจนจรดเขตแดนของ มาเลเซียที่ อ.สุไหง-โกลก เป็นทางลาดยางตลอดสาย ระยะทางประมาณ 275 กม.
                       เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง
            เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง เป็นโครงการนำรองสำหรับโครงสร้างพื้นฐานทางคมนคมอีกหนึ่งโครงการที่มีความสำคัญ โดยมีเป้าหมายอยู่ที่การเชื่อมโยงประเทศในกลุ่มอาเวียน 7 ประเทศ ซึ่งได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม พม่า และสปป.ลาวกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยในเบื้องต้นเพื่อให้โครงการนี้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจะให้ความสำคัญกับ เส้นทางหลัก 4 ช่วง ซึ่งในปัจจุบันยังมีการเชื่อมโยงกันที่ยังไม่สมบูรณ์ ได้แก่
          - ไทย อรัญประเทศ - คลองลึก ( 6 กม.)
          - กัมพูชา ปอยเปต - ศรีโสภณ ( 48 กม.)
          - กัมพูชา พนฒเปญ - ล็อกนิน ( 254 กม.)
          - เวียดนาม ล็อกนิน - โฮจิมินห์ (129 กม.)
       
สำหรับเส้นทางรถไฟสายนี้ตัดผ่านปะเทศไทย 17 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นครปฐม ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ภาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประชวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุ
ง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และช่วงของรางรถไฟที่จะต้องมีการก่อสร้างเพ่ิมเติมในประเทศไทย จะอยู่บริเวณสภานีรถไฟน้ำตก จ. กาญจนบุรี ถึงธันบูซายัด ในสหภาพพม่ ารวมระยะทาง 263 กม.
        แนวระเบียงเศราฐกิจ ประกอบด้วย
        แนวระเบียงเศษฐกิจตะวันออก- ตะวันตก มีจุดเร่ิมต้นจากเมืองเมาะละแหม่งของพม่ ผ่านเมืองเมียวดี ก่อนจะเข้าสู่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ประเทศไทย และผ่านจ. พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ข้ามสะพานมิตรภาพแห่งที่สองเข้าสู่แขวงสะหวันนะเขต ของ สปป.ลาว ผ่านแดนสะหวั น และเข้าสู่ประเทศเวียดนามที่เมืองลาวบาว ผ่านเมืองเว้ ดองฮา และสิ้นสุดที่เมืองดานัง เมื่องท่าสำคัญของเวียดนาม
        แนวระเบียบเศรษฐกิจ แม่โขง-อินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมภูมิภาคลุ่มน้ำโข. ซึ่งประกอบด้วยประเทศ กัมพุชา ไทย และสหภาพพม่ เข้กับฝั่งตะวันออกของอินเดีย โดยผ่าน เส้นทางโฮจิมินห์ -พนมเปญ-กรุงเทพฯ -ทะวาย-เจนไน ซึ่งใช้เป็นเส้นทางลัดสำหรับขนส่งสินค้า ควบคุ่ไปกับการพัฒนาเขตเศราฐกิจและอุตสาหกรรมบริเวณโดยรอบเส้นทาง และเป็นการเน้นบย้ำถึงความสำคัญของอินเดียในฐานะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ทางด้านการต้า แลการลงทุนของอาเซียน รมไปถึงความสอดคล้องกับนโยบาย มองระวันออก ของอินเดียที่มุ่งสนับสนุนการดำเนินความสัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
         โครงการเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซอาเซียน ในการประชุมรัญมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน ครั้งที่ 20 ณ เมืองบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2545 อาเซียนได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจโครงการเชื่อมโยงท่าก๊าซธรรมชาต ิอาเซียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นกรอบการทำงานอย่างกว้าง ๆ สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนในการประสานความร่วมมือเพื่อดำเนินโครงการให้สัมฤทธิ์ผล และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของภูมิภาคอาเซียน โดยอาเซียนได้มอบหมายให้คณะมนตรี
อาเซียนว่าด้วยปิโตรเลี่ยม เป็นกลไกหลักในการดำเนินโครงการ ASCOPE ได้จัดตัเ้งคึณะทำงานเฉพาะกิจเกี่ยวกับโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน และได้จัดทำแผนแม่บงทโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน โดยปรับปรุงจากแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาและการใช้ก๊าซธรรมชาติในภุมิภาคอาเซีน ในปี พ.ศ. 2539
         ปัจจุบันอาเซียนมีากรเชื่อโยงท่าส่งก๊าซธรรมชาติ ระยะทางรวมทั้งสิ้น 3,020 กม.และมีแผนการที่จะก่อสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต โดยแหล่งก๊าซนาทูน่า ทางตะวันออกของอินโดนีเซียจะเป็นแหล่งก๊าซหลักที่จะสนับสนุนโครงการท่อก๊าซในอาเซียนและอาจมีการนำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว จากภายนอกภูมิภาค เพื่อนำมากระจายผ่านโครงข่ายก๊าซของอาเซียนอีกด้วย
        ระบบท่อก๊าซอาเว๊ยนที่อยุ่ในเขตพื้นที่ของประเทศไทยประกอบด้วย ท่อก๊าซเชื่อมโยงกับพม่าบริเวณจังหวัดราชบุรี และมาเลเซียในบริวเณอ่าวไทย นอกจานี้จะมีการขยายท่อก๊าซเพ่ิมเติมกับมาเลเซียในอ่าวไทย และการก่อสร้างท่อก๊าซใหม่ไปเชื่อมกับแหล่งนาทูน่าตะวันออกของอินโดนีเซยด้วย
        โครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเวียนมีนโยบายร่วมกัน ที่จะพัฒนาและเชื่ดม
โยงโครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เพื่อส่งเสริมความมั่นคงของการจ่ายไฟฟ้าของภูมิภาค และส่งเสริมให้มีการซื้อขายพลังงานไฟฟ้าระหว่างประเทศ เพื่อลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าโดยรวม โดยที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้ายพลังงาน ครั้งที่ 25 ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยเรื่อง โครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2550 เพื่อเป้ฯกรอบในการกำหนดนโยบายร่วมของภุมิภาคนการผลัดันให้การเชื่อมโยงระบบสายส่งไฟฟ้า และการซื้อขายไฟฟ้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
          สำหรับโครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน มีโครงการเร่งรัด 2 โครงการที่ต้องรีดำเนินการ ซึ่งได้แก่ โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อ มะละกา - เปกันบารู ภายใต้แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย และโครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อกะลิมนตันตะวันตก และซาวารักภายใจ้เขตพัฒนาเศราฐกิจอาเซียนด้านตะวันออก บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในส่วนของไทยนั้น ได้มีการซื้อขายไฟฟ้ากับ สปป. ลาว และมาเลเซีย ผ่านจุดเชื่อมโยงสายส่งบริเวณจังหวัดสกลนคร อุดรธานี ร้อยเดอ็ด มุกาหาร อุบลราชธานี และผ่านระบบเชื่อโยงไทย - มาเลเซีย บริเวณจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ รัฐบาลไทย ยังมีแผนที่จะซื้อขายไฟฟ้ากับพม่าและกัมพา รวมทั้งก่อสร้างจุดเชื่อมโยงสายส่งเพิ่มเติมอีกด้วยwww.mfa.go.th/asean/contents/files/customize-20121218-094305-241038.pdf

วันอาทิตย์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2560

ASEAN CONNECTIVITY

           แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนเป็ฯเอกสารทางยุทธศาสตร์เื่อเร่งรัดการเชื่อมโยงระหวา่งประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศให้เป็หหนึ่งเดียวทั้งในด้านโครงกสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชน โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อการสร้างอาเซียนให้เป็นประชาคมอย่างแท้จริงในปี 2558 และเป็นศูนย์กลางของสถาปัตยกรรมภูมิภาค
           แม้ว่าอาเซียนจะมีศักยภาพทางภูมิศาสตร์ที่เอื้อต่อการเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นๆ และภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุภูมิภาคทั้งหบลาย ได้มีการจัดทำแผนการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมที่สำคัญหลายโครงการแต่การใช้ประโยชน์จากความเชื่อมโยงที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ เพื่อเข้าสู่ตลาดที่มีขนาดใหญ่เขึ้นและขยยการต้าการลงทุนให้เพ่ิมมากขึ้น ยังต้องเผชิญความท้าทายอยุ่อีกมาก ทั้งในด้านการระดมทุนเพื่อให้แผนงานที่กำหนดไว้ในแผนการเชื่อมโยงในกรอบอนุภูมิภาคเหล่านั้นบรรลุผลสำเร็จ การพัฒนาทักษณะและขีดความสามารถของผุ้ประกอบการแรงงานฝีมือ และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การส่งเสริมความตระหนักรู้ในการเป็นชาวอาเซียน และการเรียนรู้ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างกัน
         แผนแม่บทว่าด้ยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นกรอบใหญ่ที่ประสานแผนการเชื่อมโยงภายใต้ควารมร่วมมือในอนุภูมิภาคเข้าด้วยกัน โดยได้วางยุทธศาสตร์หลักเพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงด้านต่างๆ ไว้ ดังนี้
         - ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์การก่อสร้งและยกระดับถนน เส้นทางรไฟ การขนส่งทางน้ำ การขนส่งทางอากาศร่วมทั้งการเชื่อมโยงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านพลังงาน (โครงการท่อก๊าซและระบบสายส่งไฟฟ้าของอาเซียน) โดยองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนในแต่ละสาขาจะเป็นผุ้รับผิดชอบหลักในการดำเนินการให้เป็นไปทันเวลาที่กำหนดไว้
         - ด้านกฎระเบียบ แผนแม่บทฯ จะมีส่วนในการเร่งรัดความตกลง กฎระเบียบต่างๆ ในการอำนวยความสะดวกในการข้ามแดนในอาเซียน ให้มีผลใช้บังคับเพื่อความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใน ลดค่าใช้จ่าย และต่อยอดไปสู่การเคลื่อนบ้ายสินค้าบริกา และการลงทุนโดยภาคเอกชนมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ช่วยป้องกันและแก้ปัญหาที่จะตามมาจาการเชื่อมโยง เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ แรงงานผิดกฎหมาย การลักลอบค้ามนุษย์ ยาเสพติดและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ
         - ด้านประชาชน แผนแม่บท จะช่วยเสริมสร้างการไปมาหาสู่ระหว่างกันระหว่างประชาชน การเชื่อมโยบทางสังคม วัฒนธรรม ซึ่งเป้ฯหัวใจของการเป็นประชาคมอาเซียนที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างแท้จริง
          ผู้นำอาเวียนได้ให้การรับรองแถลงการณ์่ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ณ ชะอำ หัวหินย ประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เพื่อใช้ข้อได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของอาเซียน ซึ่งตั้งอยุ่ในใจกลางของภูมิภาคที่มีความเจริญเติบโตทงเษนษฐกิจสูง กลาวคือ มีพรมแกนทางทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศอนิเดียแลฃะเอเชียใต้ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับประเทศจี เกาหลีใต้ และญี่ป่นุ และทางด้านทิศต้ใกล้กับประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการเร่งรัดการสร้างประาคมอาเซียนให้เป็นหนึ่งเดียวภายในปี 2558
       
 แผนการสร้งความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียน ไม่เพียงแต่ครอบคลุมช่องทางการเชื่อมโยงทางด้เานโครงสร้างพื้นฐาน แต่ยังรวมไปถึงกฎระเบียบเพื่อำนวยความสะดวกในการเชื่อมโยงระหว่างกัน และการไปมาหาสู่ระหว่างประชาชนด้วย ทั้งนี้องค์ประกอบหลักของความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียนประกอบด้วย
          การเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงโครงสร้งพื้นฐานทั้ง ทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ โดยการปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพโครงสร้างพื้นฐานเดิมที่มีอยุ่แล้สให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้นและการขยายเครื่อข่ายโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วถึงยิ่งขึ้น
ื            ยุทธศาสตร์
             - ก่อสร้างโครงข่า่ยทางหลวงอาเซียนให้เแล้วเสร็จ
             - เร่งรัดโครงการสร้างเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ
             - สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพและะเชื่อมโยงกัน
             - สร้างระบบการขนส่งทางทะเลที่เชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้
             - สร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอื่นๆ
             - เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้งพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศสมาชิก
             - ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน
           การเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบที่จะช่วยอำนวยความสะดวกกระบวนการทำงานของหน่วยงานต่างๆ อยางมีประสิทธิผล โดยเร่งรัดผลักดัน ความตกลง และข้อตกลงต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการเชื่อมดยงระหว่างกัน ที่มีอยุ่แล้งให้มีผลบังคับใช้ รวมทั้งปรับปรุงรายละเอียดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในงปฏิบัิ อาทิ กรอบความตกลงอาเซยนว่าด้วยการอำนวความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่ง สินค้าข้ามแดน กรอบความตกลงว่าด้วยการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ฯลฯ
         ยุทธศาสตร
             - ดำเนินการตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่าด้วยการอำนวนความสะดวกในการขนส่ง
             - เริ่มดำเนินโครงการการอำนวนความสะดวกด้านการขนส่งผุ้โดยสารในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ
             - สร้างตลาดการบินเดียวในอาเซียน
             - สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน
             - เพิ่มการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรีภายในภูมิภาคอาเซีนน โดยการกำจัดอุปสรรคทางการต้าระหว่างกันในภูมิภาค
            - เร่งรัดการพัฒนาภาคบริการด้านโลจิสตกกส์ให้มีประสิทธิภาพและแข่งขันได้ โดยเฉพาะในสาขาการขนส่ง โทรคมนาคม และากรบริการด้านการเชื่อมโยงอื่นๆ
            - พัฒนาและปรับปรุงการอำนวยความสะดวกด้านการต้าในภูมิภาคอย่างจริงจัง
            - ยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการข้ามพรแดน
            - เร่งรัดให้ประเทศสมาชิกอาเวียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาคมากยิ่งขึ้น โดยใช้กฎระเบียบการลงทุนที่เป็นธรรม
             เสริมสร้างขีดความสามารถของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านกฎระเบียบในพื้นที่หรือกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาน้อยกว่าในภูมิภาค และปรับปรุงการประสานนโยบายแผนงาน และโครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค
            การเชื่อมโยงด้านประชาชน มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงระหว่งประชาชน โดยการสงเสริมการเรียนรุ้ระหว่างกันทางวัฒนธรรมแบะสังคมของประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ การส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาของประเทศต่างๆ ในอาเซียนเป้ฯภาษาที่สาม การเชื่อมโยงระบบการศึกษาระหว่งกันโดยให้มีการโอนย้ายหน่วยกิตระหว่างสถาบันการศึกษาในอาเวียนการแลกเปลี่ยนนักศึกาาและอาจารย์ รวมถึงการส่งเสริมและอำนวนความสะดวกการไปมาหาสู่ระวห่างประชาชน โดยใบ้มาตรการต่างๆ อาทิ การอำนวนความสะดวกและยกเว้นวีซ่าระหว่างกัน และการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในอาเซียนเพื่อให้ประชาชนในภุมิาภคได้เรียนรู้และ เข้าใจถึงประทเศในกลุ่มสมาชิก ได้อย่างลึกซึ้งมากย่ิงขึ้น ทั้งในส่วนของสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งจะช่วยสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่งกันและความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อันเป็นเป้าหมายสำคัญของการเป็นประชาชนอาเซียน
          ยุทธศาสตร์
           - ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างกันในด้านังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
           - ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้มากยิ่งขึ้นwww.mfa.go.th/asean/contents/files/customize-20121218-0943
            -

วันเสาร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2560

ASEAN Economic Community

             ท่ามกลางบริบททางเศณาฐกิจ การต้าและการลงทุนระหว่างประเทศที่มีการแข่งขันสูง อันส่งผลให้ประเทศต่างๆ ต้องปรับตัวเองเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากระบบเศรษบกิจโลก รวมถึงการรวมกลุ่มการต้ากันของประเทศต่างๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการต้าเสรีอเมริกาเหนือ  ผุ้นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้เห็นชอบเมื่อปี 2545 ให้จัดตั้ง "ประชาคมเศราฐกิจของอาเซียน" ภายในปี 2558 เพื่อส่งเสริมให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้า บริการ การลงทุนแรงงานฝีมือระหว่าประเทศสมาชิกโดยเสรี ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน ลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งเสริมให้อาเซียนสามารถรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกได้อย่างไม่อยู่ในภาวะ ที่เสียเปรียบ
             กระบวนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักในการที่จะทำให้อาเซียนบรรลุสู่การะเปน "ประชาคมอาเซียน" ภายในปี 2558 มีรากฐานมาจากนำความร่วมมือและความตกลงทางเศณาฐกิจที่อาเซียนได้ดำเนินการ มาระยะหนึ่งแล้ว มาต่อยอดให้มีผลเป็นรูปธรรมและมีความแบบแผนมากยิ่งขึ้น อาทิ ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน ความตกลงด้านการส่งเสริมการลงทุนอาเวียน ความตกลงด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน และความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน
           ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน จะเป็นเครืองมือสำคัญที่จะช่วยขยายปริมาณการต้าและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพึ่งพาตลาดในประเทศที่สาม สร้างอำนาจการต่อรองและศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียนในเวทีเศราฐกิจโลก เพ่ิมสวัสดิการและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนของประเทศสมาชิกอาเซียน บนหลักการของการจัดตั้งประาคมเศราฐกิจ ซึ่งได้แก่ การประหยัดต่อขนาด การแบ่งงานกันทำ และการัพัฒนาความชำนาญในการผลิตของประเทศมาชิกอาเซียน
         
 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่ อ.ชะอำ อ.หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ที่ประชุมผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้รับรองพิมพ์เขียวว่าด้วยการดำเนินงาน ไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจของอาเซียน ซึ่งกำหนดกรอบและกิจกรรมที่จะทำให้อาเซียนบรรลุเป้าหมายการเป็นประชาคมทาง เศรษฐกิจภายในปี 2558 โดยในปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียนกำลัีงอยู่ในระหว่างการปฏิบัติตามพิมพ์เขียวดังกล่าว
          ทั้งนี้ ในการประชุมครั้งนี้ ประเด็นสำคัญที่จะมีการหารือเกี่ยวกับประชาคมเศราฐกิจอาเซียนคือความร่วมมือ ด้านอาหารและพลังงาน โดยเฉฑาะอย่างยิ่งการจัดตั้งคลังสำรองข้าวในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งไทยผลักดันให้มีการจัดตั้งขึ้นในประเทศไทย จะทำให้ไทยซึ่งเป็นประเทศผุ้ส่งออกข้าวรายใหญ่ของโลกและพี่น้องเกษตรกรของ ไทยได้รับประโยชน์โดยตรงทั้งจากการจำหน่ายข้าวเพื่อจัดเก็บในคลังสำรองข้าว และการติดตามตรวจสอบปริมาณและความต้องการข้าวภายใต้เครือข่ายข้อมูลของคลัง สำรองข้าวซึ่งจะมีสวนสำคัญในการวางแผนการผลิตและจำหน่ายข้าวของไทย
             อีกประเด็นสำคัญที่จะมีการหารือคือความร่วมมือด้านการ เงินระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ป่นุ และเกาหลีใต้ ในการจัดต้งกองทุนสำรองพหุภาคีภายใต้มารตรการริเริ่มเชียงใหม่ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินการคลังใภูมิภาค โดยเฉพาะในกรณีเผชิญกับวิกฤตทางเศราฐกิจการเงิน ตลอดจนส่งเสริมการต้า การลงทนุ เพ่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชาชนทุกคนในภูมิภาค
             นอกจากนี้ การจัดตั้ง "คณะกรรมาธิการระหว่งรัฐบาลอาเวียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน" ซึ่งจะมีการประกาศจึดตั้งอย่างเป็นทางการในการประชุมครั้งนี้ จะส่งผลกระทบทางอ้อมต่อความร่วมมือกับประเทศและองค์การระหว่างประเทศนอกอาเซียนในทุกๆ ด้าน รวมทั้งด้านเศราฐกิจ เนื่องจากการมีกลไกทางด้านสิทธิมนุษยชนอย่างเป้ฯรูปธรรมจะทำให้อาเซียนเป็น ที่ยอมรับของนานาประเทศมากขึ้น ซึ่งจะมีสวนลดเงือนไขที่ประเทศคู่ค้าสำคัญในประเทศตะวันตกจะนำไปใช้กำหนด มาตรการที่มีผลกีดกันทางการค้า อาทิ การส่งออกกุ้งแช่แข็งของไทยไปยังสหภาพยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาแรงงาน เด็ก เป็นต้น
  www.mfa.go.th/asean/th/customize/30641-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html
             1. นโยบายและเป้าประสงค์
                   1.1 รัฐบาลไทยได้ให้ความสำคัญกับการดำเนินนโยบายความสัมพันะ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศกับอาเซียนในลำดับต้นๆ ในฐานะมิตรประเทศที่มีความใกล้ชิดกบไทยมากที่สุด ไม่ว่าในด้านภูมิศาสตร์ความใกล้เคียงกันด้านสังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงการเป็นหุ้นส่วนทางเศราบกิจที่ำคัญ ซึ่งมีมายาวนานและเหนี่ยวแน่นที่สุด
                 
 1.2 เป้าหมายในการเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเวียน คือ กาเรป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวที่แข็งแกร่ง และดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาใน๓มิภาค รวมทั้งไทยด้วย
                   1.3 จากเดิมที่อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับ 4 ของไทยในปี 2536 ผลจากความร่่วมมือทางเศราฐกิจที่ผ่านมาทำให้อาเซียนกลายเป้ฯคู่ค้าอันดับ 1 ของไทยตั้งแต่ปี 2551 ปัจจุบัน อาเวียนยังเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับหนึ่งของไทย นำหน้าตลาดเดิมอย่างสหรัฐอเมริกาและญีปุ่น และยังมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สถิติมูลค่าการต้ารวมล่าสุดระหว่งไทยและอาเซียนในปี 2556 และ 2557 อยู่ที่ประมาณ 1 แสนล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี โดยไทยยังคงได้ดุลการต้ากับอาเว๊ยน
                   1.4 ในการประชุมสุดยอดอาเวยนเมื่อเดือนตุลาคม 2546 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผุ้นำอาเวียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน เห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน ต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเว๊ยน ครั้งที่ 13 เมื่อเดิอนมกราคม 2550 ทีเมื่องเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้บรรลุผลจากเดิมที่กำหนดไว้ในปี 2563 เป็นปี 2558 โดยในสวนของประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษบกิจอาเวียน เป้นแผนงานบูรณาการการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจต่างๆ ที่จะนำไปสูการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเว๊ยนภายในปี 2558
                   1.5 กรมอาเซียนทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการอาเวียนแห่งชาติ โดยเป็นไปตามข้อบทที่ 13 ของกฎบัตรอาเซียน ซึ่งกำหนดให้แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนจัดตั้งสำนักเลขาธิการอาเวียนแห่งชาติเพื่อช่วยขับเคลื่อการดำเนินงานภายใต้ 3 เสาหลักไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ประเทศไทยได้จัดตั้งคณะกรรมการอาเวียนแห่งชาติ โดยมีรัฐมนตรีว่าดารกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน และมีการกระทรวงพาณิชย์เป้นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเสาเศรษบกิจ
                  1.6 ปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศราฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำยุทธศาสตร์ประเทศในภาพรวม ซึ่งห้ความสำคัญกับการเครียมความพร้อมและการใช้โอากศจาการเป้นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อีกด้วย
              2. ข้อตกลงและพันธกรณีในการเข้าร่วมประชาคมเศราฐกิจอาเวียน
                   2.1 อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศราฐกกิจอาเซียน เป็นแผนงานบูรณาการการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจต่างๆ ที่จะนำไปสู่าการเป้นประชาคมเศราฐกิจอาเวียนภายในปี 2558 พิมพ์เขียว  AEC ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ซึ่งอ้าอิงมาจากเป้าหมายการรวมกล่มทางเศณาฐกิจของอาเซียนตามแถลงการณืบาหลี ฉบับที่ 2 ได้แก่ 1) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการการลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่งเสร และการเคลื่อยย้ายเงินทุนอย่งเสรีมากขึ้นรวมทั้งการส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขาความร่วมมือทางวเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเว๊ยนให้เป็นรูปธรรม 2)
การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเวียน ซึ่งให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายที่จะช่วยสงเสริมาการร่วมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น กรอบนโยบายการแข่งขันของอาเซียน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทงปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงกสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยี สารสนเทศ และพลัีงงาน) 3) การพัฒนาเศราฐกิจอย่างเสมอภาค ซึ่งเป้นการสงเสริมการร่วมกลุ่มทางเศราฐกิจของประเทศสมาชิกและลดช่องว่างของระดับการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่าและสมาชิกใหม่ของอาเซียน เช่น การสนับสนุนการพัฒนา SMEs และการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่างๆ เช่น ความคิดริเริ่มเพื่อากรรวมกลุ่มของอาเซียน เพื่อลดข่องว่างด้านการพัฒนาทางเศณาฐกิจ 4) การบูรณาการเข้ากับเศราฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเศภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีต่วมกันอย่งชัดเจน เช่น การจัดทำเขชตการต้าเสรีของอาเซียนกับประทเศคู่เจรจาต่างๆ รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายใน้ดานการผลิต/จำหน่ายภายในภูมิภาคให้เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก
             2.2 กลไกหลัก ในการขับเคลื่อนประชาคมเศณาฐกิจอาเวียน ได้แก่ การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน และการประชุมรัฐมนตรีเศราฐฏิจอาเวียน และเพื่อให้การจัดตังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประสบความสำเร็จตามที่ตั้งไว้ เปรเทศสมาชิกอาเวียนรวมั้งประเทศไทยมีพันธกิจต้องดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยเฉพาะการดำเนินงานให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน ซึ่งมีควาตกลงสำคัญ 3 ฉบับ ที่ขับเคลื่อนในเรื่องนี้ คือ
               
 2.2.1 ความตกลงการต้าสินค้าของอาเซียน กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเวียนลดภาษีสินค้าในบัญชีลดภาษีให้ครบถ้วนภายในปี 2553 และใช้มาตรการที่มิใช้ภาษีศุลกากรได้เฉพาะเรื่องที่จำเป้น โดยกำหนดให้ลดภาษีสินค้าทุกรายการเหลือร้อยละ 0 ยกเว้นสินค้าอ่อนไหวและสินค้าอ่อนไหวสูง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และตั้งแต่วันที่ 1 มกรคม 2558 สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ (CLMV) ในส่วนของไทย กาแผ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง และไม้ตัดดอก อยู่ในบัญชีสินค้าอ่อนไหวซึ่ลดภาษีเหลือร้อยละ 5 ทั้งนี้ ยังมีเรื่องเกี่ยวกับมาตรการกีดกันที่มิใช่ภาษี ที่อาเซียนกำลังเร่งดำเนินการ
                2.2.2 กรอบความตกลลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเวียยทยอยเปิดตลอดบริการ ซึ่งตาม พิมพ์เขียวกำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดตลาดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นสามารถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70 ยกเว้นสาขาที่อ่อนไหว ปัจจุบัน นักลงทุนอาเวียถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ในสาขา อี-อาเซียน สาขาสุขภาพ สาขาท่องเที่ย และสาขาการบิน ซึ่งทั้ง 4 สาขาถือเป้ฯสาขาบริการเร่วรัด สำหรับสถานะล่าสุดประเทศสมาชิกอาเซียน (ยกเว้นฟิลิปปินส์) ได้ลงนามข้อผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้ความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียน(AFAS) แล้ว โยอยู่ระหว่างการจัดทำข้อผูกพันชุดที่ 10 ซึ่งมีเป้าหมายให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
               2.2.3 จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัติวิชาชีพ โดยปัจจุบันอาเซียนได้ลงนาม MRA ของคุณสมบัตินักวิชาชีพแล้ว 7 สาขา คือ ทันตแพทย์ แพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี ช่างสำรวจ พยายาล และ 1 กลุ่มวิชาชีพ (เน้นในมิติความร่วมมือ)  ได้แก่ การท่องเที่ยว โดยในส่วนบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดทำกอบสมรรถนะมาตรฐานของบุคลากรที่ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยว ประกอบด้วยสมรรถนะร่วมสำหรับทุกกลุ่มสาขา และสมรรถนะ วิชาชีพ โดยบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน ครอบคลุมตำแหน่งงาน 32 ตำแหน่ง
             2.2.4 ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดเสรีและให้การปฏิบัตเยี่ยงคนชาติในสาขาที่ตกลงกัน 5 ประเภท คือ เกษตร ป่าไม้ ประมง เหมืองแร่ และอุตสาหกรรมการผลิต รวมทั้งให้ความคุ้มครอง การสงเสริม และการอำนวนความสะดวกด้านการลงทุนแก่ประเทศสมาชิกอื่นใน 5 สาขาที่กล่าวมาข้างต้นด้วย ปัจจุบัน ความตกลง ด้านการลงทุนของอาเซียน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2556 โดยังสามารถแก้ไขรายการข้อสงวนได้ภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ ACIA มีผลบังคับใช้
            2.3 สรุปได้ว่า อาเซียนสามารถบรรลุเป้าหมายในการเปิดเสรีด้านการต้าสินค้าได้อย่งน่าพอใจ นับจาก AFTA ซึ่งถือเป็นช่วงแรกสำหรับพัฒนาการของ AEC จนถึงปัจจุบัน และภายในสิ้นปี 2558 อาเซียนกำลังเร่งสานต่อการเปิดเสรีด้านการต้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี รวมถึงการปรับกฎระเบียบให้มีความสอดคล้องกัน เพื่อการเข้าสู่ประชาคมเศณาฐกิจอาเซียนอย่างสมบูรณ์..www.mfa.go.th/asean/contents/files/other-20150612-172511-932159.pdf
               
           

วันศุกร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2560

Forest resources

            ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรชาติที่มีความสำคัญอย่างย่ิงต่อส่ิงมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ เพราะป่าไม้มีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัยสี่ คื ออาการ เครื่องนุ่งห่ม ที่อยุ่อาเศียและยารักษาโรคสำหรับมนุษย์ และยังมีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัยสี คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาเสัยและยารักษาโรคสำหรับมนุษ์ และยังมีประโยชน์ในการรักษาสมดุลของิ่งแวดล้อม ถ้าป่าไม้ถูกทำลายลงวไปมาก ๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น สัตว์ป่า ดิน น้ำ อากาศ ฯลฯ เมื่อป่าไม้ถูกทำลาย จะส่งผลไปถึงดินและแหลง้ำด้วย เพราะเมื่อเผาหรือถางป่าไปแล้ว พื้นดินจะโล่งขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะล้างหน้าดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนั้นเมื่อขาดต้นไม้คอยดูดซับน้ำไว้น้ำก็จะไหลผ่าท่วมบ้านเรื่อน และที่ลุ่มในฤดู้ำหลากพอถึงฤดูแล้งก็ไม่มีน้ำซึมใต้ดินไว้หล่อเี้ยงต้นน้ำลำธารทำให้แม่น้ำมีน้ำน้อย ส่งผลกระทบต่อมาถึงระบบเสราฐกิจและสังคม เช่น การขาดแคลนน้ำในการชลประทาฯทใไ้ทำนาไม่ไ้ผลจขาดน้ำมาผลิตกระแสไฟฟ้า
         
ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย ประเภทของป่าไม้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการกระจายของฝน ระยะเวลาที่ฝนตกรวมท้งปริมาณน้ำฝนทำให้ป่าแต่ละแห่งมีความชุ่มชื้นต่างกัน สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
           - ป่าประเภททีไม่ผลัดใบ เป็นป่าทีมองดุเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ขึ้นอยู่เป้นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่าชนิดสำคัญซึงจัดอยุ่ในประเภทนี้ ได้แก่
              ป่าดงดิบ ซึ่งมักกตะจายอยู่บริเวณที่มีความชุ่มชื้นมากๆ เช่น ตามหุบเขาริมแม่น้ำลำธาร ห้วย แหล่งน้ำ และบนภูเขา ซึ่งสมาถแยกออกเป็นป่าดงดิบชนิดต่างๆ ดังนี้
              ป่าดิบชื้น เป้ฯป่ารกที่มองดูเขียวชอุ่มตลอดปีมีพันธุ์ไม้หลายร้อยชนิดขึ้นเพบียดเสียดกันอยู่มักจะพบกระจัดกระจายตั้งแต่ความสุง 600 ม. จากระดับน้ำทะเล ไม้ที่สำคัญคือ ไม้ตะกูฃยางต่างๆ เช่น ยางนา ยางเสียน ส่วนไม้ชั้นรอง คือ พวกไม้กอ เช่น กอน้ำ กอเดือย
              ป่าดิบแล้ง เป้ฯป่าที่อยู่ในพื้นที่ค่อยข้างรา่บมีความชุ่มชื้นน้อย เช่น ในแถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉอียงเหนือมัอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ที่สำคัญได้แก่ มะคาโมง ยางนา พยาม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสือ
              ป่าดิบเขา ป่าชนิดนี้เกิดขคึ้นในพื้นที่สูงๆ หรือบนภูเขา ตั้งแต่ 1,000-1,200 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ำทะเล ไม้สวนมากเป็นพวก ยีนโมโนสเปริม ได้แก่ พวกไม้ขุนและสนสามพันปี นอกจากนี้ยังมีไม้ตระกูลกอขึ้นอยู่ พวกไม้ชั้นที่สองรองลวมาได้แก่ เป้ง สะเดาช้าง และขมิ้นต้น
           
 ป่าสนเขา ป่าสนเขามักปรากฎอยู่ตามภูเขาสูงส่วนใหญ่เป็ฯพื้นที่ึ่งมีความสูงประมาณ 200-1,800 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ำทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันอกเฉียงเหนือ บางที่อาจประากฎในพื้นที่สูง 200-300 เมตร จากระดับน้ำทะเลในภาคระวันอกเแียงใต้ ป่าสนเขามัลักษณะเป้ฯป่าโปร่ง ชนิดพันธุ์ไม้ที่สำคัญของป่าชนิดนี้คือ สนสองใบ และสนสามใบ ส่วนไม้ชนิดือื่นที่ขึ้นอยู่ด้วยได้แก่พันธุ์ไม้ป่าดิบเขา เช่น กอชนิดต่างๆ หรือพันธ์-ม้ป่าแดงบางชนิด คือ เต็ง รัง เหนียง พลวง เป็นต้น
             ป่าชายเลน บางที่เรียกว่า "ป่าเลนน้ำเค็ม" หรือป่าเลน มีต้นไไม้ขึ้นหนาแน่นแต่ละชนิดมีรากค้ำยันและรากหายใจ ปาชนิดนี้ปรากฎอยู่ตามที่ดิจและริมทะเลหรือบริเวณปากน้ำแม่น้ำใหญ่ ๆ ซึ่งมีน้ำเค็มท่วมถึงในพื้นที่ภาคใต้มีอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั้งสองด้าน ตามชายทะเลภาคตะวันออกเมีอยู่ทุกจังหวัด พันธ์ไม้ที่ขึ้นอยุ่ตามป่าชายเลน ส่วนมากเป้ฯพันธุ์ไม้ขนาดเล็กใช้ประโยชน์สำหรับการเผาถ่านและท่ำฟืนไม้ชนิดที่สำคัญ คือ โกกาง ประสัก ถั่วขาว ถัวขำ โปรง ตะบุน แสมทะเล ลำพูนและสำแพน ฯลฯ สวนไม้พื้นล่างมักเป้ฯพวก ปรงทะเลเหวือกปราหมอ ปอทะเล และเป้. เป็นต้น
             ป่าพรุนหรือป่าบังน้ำจืด ป่าชนิดนี้มักปรากฎในบริเวณที่มีน้ำจือดท่ามมากๆ ดินระบายน้ำมไ่ดีป่าพรุในภาคกลาง มีลัษณะโปร่งและมีต้นไม้ขึ้อยู่ห่าง ๆ เช่น ครอเที่ยน สนุ่น จิก โมกบ้าน หวายน้ำ หยายโปร่ง ระกำ อ้อ และแขม ในภาคใต้ป่าพรุมีขคึ้นอยู่ตามบริเวณที่มีน้ำขึงตลอดปี ดินป่าพรุที่มีเนือที่มากที่สุดอยู่ในบริเวณจังหวัดนรธิวาสดินเป็นพท ซึ่งเป็นซากพืชสลายทับถมกัน เป็นเวลานานป่าพรุแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบริเวณซึ่งเป็นพรุน้ำกรอ่ยใกล้ชายทะเลต้นเสม็ดจะขั้นอยุ่หนาแน่นพื้นที่มต้นกกชนิดต่างๆ เรียก "ป่าพรุเสม็ด หรือ ป่าเสม็ด" อีกลักษณะเป็นป่าที่มีพันธ์ไมต่างๆ มากชนิดขึ้นประปนกัน ชนิดพันธุืไม้ที่สำคัญของป่าพรุ ได้แก่ ทินทนิล น้ำหว้า จิก โสกน้ำ กระทุ่มน้ำกันเกรา โงงันกระทั่งหัน ไม้พื้นล่างประกอบด้วย หวาย ตะค้ำทาองหมากแดง และหมากชนิดอื่นๆ
             ป่าชายหาด เป็นป่าโปร่งไม้ผลัดใบขึ้นอยู่ตามบริเวณหาดชายทะเล น้ำไม่ท่วมตามฝั่งดินและชายเขาริมทะเล ต้นไม้สำคัญที่ขึ้นอยู่ตามหาดชายทะเล ต้องเป็นพื้ชทนเค็ม และมักมีลักาณะไม้เป็นพุ่มลักษณะต้นคดงอ ใบหนาแข็ง ได้แก่ สนทะเล หูกลาว โพธิ์ทะเล  กระทิง ดินเป็ดทะเล หยีน้ำ มักมีต้นเตยและหญ้าต่างๆ ขึ้นอยู่เป็นไม้พื้นล่าง ตามฝั่งดินและชายเขา มักพบไม้เกตลำบิด มะคาเต้ แระบองเพชร เสมา และไม้หนามชนิดต่างๆ เช่น ชิงชัง หนามหัน กำจาย มะดันขอ เป็นต้น
         
 - ป่าประเภทผลัดใบ ต้นไม่ที่ขึ้นอยู่ในป่าประเภทน้ลี้เป็นจำพวกผลัดใบแทบทั้งสิ้น ในฤดูผนป่าประเภทนี้จะมองดูเขียวชอุ่มพอถึงฤดูแล้งต้นไม้ ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบทำให้ป่ามองดูโปร่งขึ้น และมักจะเกิดไฟผ่าเผาไหม้ใบไม้และต้นไม้เล็กๆ ป่าชนิดสำคัญซึ่งอยู่ประเภทนี้ ได้แก่
                ป่าเบญจพรรณ ป่าผลัดใบผสม หรือป่าเบญจพรรณมีลักษณะเป็ป่าโปร่งและยังมีไม้ไผ่ขชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่กระจัดกระจายทั่วไปพื้นที่ดินมักเป็นดินร่วนปนทราย ป่าเญจพรรณ ในภาคเหนือมักจะมีไม้สักขึ้นปะปนอยู่ทั่วไปครอบคลุมลมาถึงจงหวัดกาญจนบุรี ในภาคกลางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก มีป่าเญจพรรณน้อยมากและกระจัดกระจาย พันธุ์ไม้ชนิดสำคัญได้แก่ สัก ประดูดแดง มะค่าโมง ตะแบก สเลา อ้อยชาง ส้าน ยม ห่อม ยมหิน มะเหลือ สมฬง เก็ตดำ เก็แง ฯลฯ นอกจากนี้ไม้ไผ่ที่สำคัญ เช่น ไผ่ป่า ไผ่บง ไผ่ชาง ไผ่รวก ไผ่ไร เป็นต้น
               ป่าเต็งรัง หรือที่เรียกกันว่าป่าแดง ป่าแพะ ป่าโคก ลักษณะทั่วไปเป็นป่าโปรง ตามพื้นป่ามักจะมีโค ต้นแปรง และหญ้าเพ็ก หืพ้นที่แห้งแล้งดินร่วมปนทราย หรือกรวด ลูกรัง พบอยู่ทั่วไปในที่ราบและที่ภูเขา ในภาคเหนือส่วนมากขึ้นอยุ่บนเขาทีั่มีดินตื้นและแห้งแล้งมากที่าภคาตะวันอกเแียงเนือ มีป่า แดงหรือป่าเต็งรังนี้มากที่สุด ตามเนินเขาหรือที่ราบดินทรายชนิดพันธุ์ไม้ที่สำคัญในป่าแดง หรือป่าเต็งรักง ได้แก่ เต็ง รังเหนียง พลวง กรวด พะยอม ติ้ว แต้ว มะเค่าแต ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบก เลือดแสดงใจ รกฟ้า ฯลฯ ส่วนไม้พื้นล่างที่พบมา ได้แก มะพร้าวเต่า ปุ่มแป้ง หญ้า เพ็ก โจด ปรุงและหญ้าชนดอื่นๆ
              ป่าหญ้า ป่าหญ้าที่อยุ่ทุกภาคบริเวณป่าที่ถุกแผ้วถางทำลายบริเวณพื้นที่ดินที่ขาดความสมบูร์และถูกทอดท้อง หญ้าชนิดต่างๆ จึงเกิดขึ้นทแดทนและพอถึงหน้าแล้งก็เกิดไผไหม้ทำให้ต้นไม้บริเวณข้างเคียงล้มตาย พื้นที่ป่าหญ้าจึงขยายมากขึ้นทุกปี พืชที่พบมากที่สุดในป่าหย็าก็คือ หญ้า หย็าขนตาชาง หญ้าโขมง หญ้าเพ็กและปมแป้ง บริเวณที่พอจะมีความชื้นอยู่บ้าง และการระบายน้ำได้ดีก็มักจะพบพงและแซมขึ้นอยู่ และอาจพบต้นไม้ทนไฟขึ้นอยู่  เช่น ดับเต่า รกฟ้าตามเหลือง ติ้วและแต้ว web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/forest/forestn.htm
                ประเทศในภูมิภาคอาเซียนมีพื้นที่ป่าประมาณ 2 ล้านตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 42.7 ของพื้นที่ทั้งหมดแต่อย่งไรก็ดี แนวโน้มที่ผ่ามมาคือเกือบทุกปะเทศล้วนมีสัดส่วนพื้นที่ป่าที่ลดลง และหากพิจาณรถึงพื้นที่อนุรักาณ์ ประเทศที่มีพื้นที่อนุนรักษ์สูงที่สุด คือประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีพื้นทีอนุรักษ์ประมาณ  247,269 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือประเทศไทย และฟิลิปปินส์ ตามลำดับ แต่เมือพิจารณาถึงสัดส่วนของพื้นที่อนุรักษ์ ต่อพื้นที่ทั้งหมดของประเทศแล้ว ประเทศที่มีสัดส่วนของพื้นที่อนุรักษ์สูงที่สุด  ือประเทศกัมพูชา โดยมีสัดส่วนอยู่ที่อระมาณร้อยละ 23.5 ของพื้นที่ประเทศ รองลงมาคือประเทศไทย และฟิลปปินส์ ตามลำดับ หากพิจารณาทรัพยการป่าายแลน จะพบว่าแทบทุกประเทศมีพื้นที่ป่าชายเลนที่ลดลงจาในอดีต การอนุรักษ์พื้นที่ป่าชายเลนจึงหลายเป็นประเด็นการอนุรักษ์ที่สำคัญในภูมิภาคอาเซียน

            พื้นที่ป่าไม้ในประเทศอาเซียน


             สัดส่วนของพื้นที่คุมครองต่อสัดส่วนของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ


            พื้นที่ป่าชายเลน เปรียบเทียบ ค.ศ. 1980 และ 2005


               mnre.stage.symetr.com/th/asean-environment-natural-resources/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89/

              อาเซียนให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม โดยระบุไว้ใน พิมพ์เขียวความร่วมมืออาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม ในหมวดที่่  D ว่าด้วยความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดยในข้อ D 11 "ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน" โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ในภูมิภาคอาเวียนอย่างยั่งยืนและขจึดกิจกรรมยั่งยทน รวมถึงการดำเนินการปราบปรามการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ การถ่ายโอนเทคโนโลยี และส่งเริมการตระหนักรับรู้และส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายและธรรมาภิบาล
              โดยมีมาตรการ คือ
               i. ดำเนินตามแผนงานยุทธศาสตร์ของมาตรการความร่วมมือของอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านป่าไม้ ปี 2548-2553
               ii. สนับสนุนการวางแผนเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่งยั่งยืนและการจัดการเรืองป่าในอาเซียน
               iii. เสริมสสร้างการจัดการสังคมและวัฒนธรรมในด้านปัญหาการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการขจัดความยากจนและการปฏิบัติที่ผิดกฎหมาย เช่น การคอร์รัปชั่นและการฟอกเงิน
              iv. สนับสนุนข้อริเร่ิมระดับโลกและรดับภูมิภาคในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ทำลายป่าและการแผ้วถางป่า และเพื่อส่งเสริมการปลูกป่า และฟื้นฟูพื้นที่ป่าภายใต้ความพยายามของกำไกการพัฒนาที่สะอดา เพื่อกำหนดแรงจูงใจและความช่วยเหลือที่เหมาะสมระหวางประเทศ
              v. สรับสนุนข้อริรเ่มระดับภูมิภาคที่เกี่ยวกับป่าไม้ เช่นข้อริเร่ิมเรื่องการปลูกป่าในใจกลางบอร์เนียว หุ้นส่วนป่าแห่งเอเชีย และเครือข่ายเอเชีย-แปซิฟิก เพื่อการจัดการและการฟื้นฟูป่าอย่างยั่งยืนรวมทั้งความพยายามระดับโลก เช่น ป่าไม้ 1 เวที
             
vi. เสริมสร้างขีดความสามารถและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการวิจัยและการพัฒนาด้านป่าไม้เพื่อบรรลุการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
              vii. เสริมเสร้างความร่วมมือในอาเซียนและร่วมกันจัดการปัญหาเรื่องป่าไม้ทั้งในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศเพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาหุ้นส่วนระดับโลกเพื่อการพัฒนา
              viii. ส่งเสริมการจัดการป่าไ้ รวมทั้งการดำรงชีวิตในชุมชนที่อยู่ในบรเเวณป่าและพื้นที่รอบๆ ป่าให้มีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนของป่าไม้และความเจริญรุ่งเรื่องของประชาชน
              ix. ส่งเสริมการขัดแนวปฏิบัติการที่ไม่ยั่งยืนและที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย
              x. เสริมสร้างการดำเนินการเรื่องการบังคับใช้กฎหมายด้านป่าไม้และ ธรรมาภิบาลเพื่อบรรลุการจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและเพื่อช่วยสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหัสวรรษ รวมทั้งการขจัดและการต่อสู้กับกระบวนการลักลอบตัดไม้ผิดกฎหมายและการต้าที่เกี่ยวข้อง รวมทัี้งการขจัดแนวปฏิบยัติที่ผิดกฎหมายเลช่นในเรื่องคอร์รัปชั้นและการฟอกเงิน
              xi. ตำเนินการตามแผนงานนการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเสริมสร้างป่าและธรรมาภิบาลในอาเวียน ปี 2551-2558 mnre.stage.symetr.com/th/ascc/d11/
           

วันพฤหัสบดีที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2560

Global warming

             ปรากฎการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใหล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
             ในช่วง 100 ปี ที่ผ่านมา นับถึง พงศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉพลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.75 (บวก, ลบ) 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหวางรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า "จากการสังเกตการณืการเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) คอนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพ่ิมความเข้มของ
แก๊สเรือนกระจก ที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่ เป็นผลในรูปของปรากฎการณ์เรือนกระจก ปรากฎการธรรมชาติบาองอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุรหภูิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมาข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการับรองโดยสมาคมและสภาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประทศอุตสาหกรรมต่างๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงสวนใหญ่ของนักวิทยาศาสต์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิ อากาศของโลกโดยตรงเห้ฯด้วยกับข้อสรุปนี้  
         
แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึคง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544-2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสภานการณ์แบบต่างๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปทีช่วงเวลาถึงเพียงปี พงศ. 2643 แต่ความร้อนจะยังคงเพ่ิมขึ้นและระดับน้ำทะเลก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษ แม้ว่าระดับของแก๊สเรือนกระจกจะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูิและระดับน้ำทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจากความจุความร้อนของน้ำในมหาสมุทรซึ่งมีค่าสุงมาก
           การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทำให้เกิดภาวะลมฟ้าอากาศสุโต่ง ที่รุแรงมาขึ้นปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้ำฟ้า จะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่นๆ ของปรากฎกาณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารน้ำเเข็ง การสูยพันธุ์พืช-สัตว์ต่างๆ รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่างๆ เพ่ิมมากขึ้น  th.wikipedia.org/wiki/ปรากฏการณ์โลกร้อน
          การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงการกระจายทางสถิติของรูปแบบสภาพอากาศเมื่อกาเรปลี่ยนแปลงนั้นกินเวลานาน (เช่น หลายสิบปีถึงหลายล้านปี) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเฉลี่ย หรือความแปรผันของเวลาของสภาพอากาศเกี่ยวกับภาวะเฉลี่ยที่กินเวลานาน (คือ มีเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้นมากขึ้นหรือน้อยลง) การเปลี่ยนแปลวภุมิอากาศมีสาเหตุจากปัจจัยอย่งกระบวนการชีวนะ ความแปรฝันของรังสีดวงอาทิตย์ที่โลกได้รับ การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค และการปะทุของภูเขาไฟ กิจกรรมบางอย่างของมนุษย์ยังถูกระบุว่าสาเหตุสำคัญของการเปลี่ยนแปลงภูมิอาเกาศลาสุด มักเรียกว่า "โลกร้อน"
           ตามความหายของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)) หรือหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่สามารถพิสูจน์ได้างสถิติของสภาพภูมิอากาศจากภาวะปกติหรือเกินไปจากความแปรผันตามธรรมชาติและากรเปลี่ยนไปนั้นมีความต่อเนื่องยาวนานเกินทศวรรษ ซึ่งสามารถเกิดได้จากการเปลี่ยนแปลงตามะรรมชาติหรือการเปลี่ยนแปลงจากกิจกรรมของมนุณย์
          ความหมายจากกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC)) ที่ให้ความหมายว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเป็นผลทางตรง หรือทางอ้กมจากิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้องค์ประกอบของบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป นอกเหนือจากความผันแปรตามธรรมชาติ th.wikipedia.org/wiki/การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
         ประชาคมโลกตอสนองต่อปัญหานี้ดังนี้
          ในการประชุมภูมิอากาศโลกครั้งแรก ซึ่งจัดขึ้นที่เจนีวประเทศวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 12-23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 นักวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักถึงปัญหารเปลี่ยนแปลงภูมิแอากาศของโลก การประชุมครั้งนี้เน้นถึงเรื่องผลกระทบของการปลี่ยนแปลงภูมิากาสที่มีต่อมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ และเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลงและป้องกันการกระทำของมนุษย์เอง นอกจากนี้ยังได้วางแผนจัดตั้ง "แผนงานภูมิอากาศโลก" ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ และ International Council of Science Unions หรือ ICSU
          หลังจาก พ.ศ. 2522 เป็นต้นมาได้มรการประชุมระหว่าประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีกหลายครั้ง ซึ่งการประชุมเหล่านี้ช่วยให้ประเทศต่างๆ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศมาขึ้น ผุ้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผุ้กำหนดนโยบายในหน่วยงานรัฐบาล นักวิทยาศาสตร์และนักสิ่งแวดล้อม ไดพิพจารณาประเด็นทั้งด้านวิทยาศาสตร์และนโยบาย และเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกร่วมมือดำเนินการเกี่ยวกับปัญหานี้
          พ.ศ.2531 องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และโครงการสิ่งแวล้อมแห่งสหประชาชาติ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาส โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมนข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเท่าปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศ
          พ.ศ. 2533 IPCC ได้เสนอรายงานการประเมินครั้งที่ 1 ซึค่งเน้นย้ำปรากฎการณ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายงานนี้มีผลอย่างมากต่อสาธารณชนและผุ้กำหนดนโยบาย และเป็นพื้นฐานในการเจรจาอนุสัญญาว่าด้วยการเปลีี่ยนแปลงภูมิอากาศ
          เดือนธันวาคม 2533 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติมีมติให้เร่ิมดำเนินการเจรจาข้อตกลง โดยตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลบเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งได้มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง ต้งแต่กุมภาพันธ์ 2534- พฤษภาคม 2535 และเนื่งจากเส้นตายที่จะมีการประชุมสุดยอดของโลก หรือการประชุมแ่หงสประชาชาติว่า้ดวยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ในดิืนมิถุนาย 2535 ผู้เจรจาจาก 150 ประเทศ จึงจัดทำร่างอนุสัญญาฯ เสร็จสิ้น และยอมรับยที่นิวยอร์ค เมื่อวันที่ พ9 พฤษภาคม 2535 ในการปะชุมสุดยอดของโลก เมื่อเดินมิถุนายน 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ตัวแทนรัฐบาล 154 รัฐบาล ผรวมสหภาพยุโรป) ได้ลงนามในอนุสัญญาสหปรุชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยเป้าหมายสูงสุดของ คือ การรักษาระดับประมิาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่อยู่ในรดับที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบภูมิอากาศ
       
 21 มีนาคม 2537 เป็นวันที่อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้ เนื่องจากอนุสัญญาณ ระบุว่าให้มีผลบังคับใช้ภายใน 90 วัน หลังจากประเทศที่ 50 ให้สัตยาบัน ต่อจากนั้นอีก 6 เดือน
         21 กันยายน 2537 ประเทศพัฒนาแล้วเร่ิมเสนอรายงานแห่งชาติ เกี่ยวกับกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงภูมิาอากาศ ขฯะเดียวกัน คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลฯ ได้มีการประชุมกันหลายครั้งเพื่อพิจารณาเรื่องการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ การจัดการเกี่ยวกับการเงิน การสนับสนุนเงินทุนและเทคโนโลยีแก่ประเทศกำลังพัฒนารวมทั้งแนวทางการดำเนินงสรแลสถาบันที่เกี่ยวช้อง ต่อมาคณะกรรมการชุนนี้ค่อยไ ลดบทบาทลงและยุบไป (การประชุมครั้งสุดท้าย เดือนกุมภาพันธ์ 2538) และได้ไให้ที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ เป็นองค์กรสุงสุดของุอนุสัญญาฯ โดย COP มีหน้าที่ติดตามตรวจสอลกาอนุวัติตามอนุสัญญาฯ และประเด็นทางกฎหมายที่เีก่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งการตัดสินใจสนับสนุนและส่งเสริมการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ อย่างมีประสิทธิภาพ...www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=86
         อาเซียนเองก็ตระหนักถึงความสำคัญเรือง "ภาวะโลกร้อน" ซึ่งในประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม ในความสำคัญที่ว่าด้วยความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม หมวด D ข้อ D10  คือ "การตอบสอนงต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ" โดยเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ การส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรากบิจและสังค สุขภาพและส่ิงแวดล้อมในรัฐสมาชิกอาเซียน ดดยดำเนินมาตรการนใการบรรเทาและการปรับตัวบนพื้นฐานของหลักความเป้นธรรม ความยืดหยุ่น การมีประสิทธิภาพและความรับผิดชขชอบร่วมกัน และแตกต่างกัน ตามขีดความสามารถ รวสมทั้งสะท้อนสภาวะที่แตกต่างทางสังคมและเศรษบกิจของแต่ละประเทศ
       
โดยมีมาตรการดังนีั
          i. ส่งเสริมความเข้าใจร่วมกันของอาเซียนว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภพภูมิอากาศและ (เท่าที่เป็นไปได้) มีส่วนร่วมในความพยายามและท่าที่ร่วมกันในการจัดการประเด็นเหล่านี้
          ii. ส่งเสริมความพยายามในการจัดทำข้อริเร่ิมการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
          iii. ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ (R&D) การถ่ายทือดเทคโนโลยีและแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการปรับตัวแลมาตรการลดผลกระทบ และส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
          iv. สรับสนุนให้ประชาคม
ดลกมีส่วนร่วมและช่วยสนับสนุนความพยายามของอาเซียนในเรื่องการปลูกป่า และฟื้นฟูผืนป่ารวมทั้งเพื่อลดปริมาณการตัดไม้ทำลายป่าและากรทำให้ป่าเสื่อมสสภพ
          v. พัฒนายุทธศาสตร์ระดับภูมิภาคเพ่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวสำหรับกิจกรรมทางเศรษบกิจที่ก่อให้เกิดคาร์บอนต่ำ และส่งเสริมการตะหนักรับรู้ของสาธารณชนเพื่อจัดการผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภุมิอากาศ
           vi. เสริมสร้างการประสานงานระหว่งประเทศมาชิกอาเซียนและประเทศคุ่เจรจาในการจัดการภูมิอากาศที่เกี่ยวกับภัยพิบัติและดครงการการเลปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
           vii. พัฒนาระบบสังเกตการณ์ในระดับภมิภาคเพื่อตรวจสอบผลกระทบจากการเปลียนแปลงทงภูมิอากาศที่เป็นภัยต่อระบบนิวศในอาเซียน
           viii. สนับสนุนการจัดทำนโยบายระดับภมูิภาค การศึกษาทางวิทยาศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยดำเนินการให้เป็นไปตามอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและอนุสัญญาที่เกี่ยวข้อง
            ix. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้แลสนับสนุนการมีส่วนร่วมของขชุมขชนในการปกป้องสุขภาพมนุาญ์จาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
           x. ส่งเสิรมการมีส่วนนร่วมขององค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน องค์กรเอกชน และชุมชนในการจัดการกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมออากาศ
           xi. ส่งเสิรมยุทธศาสตร์เพื่อทำให้เิดความเชื่อมั่นว่าข้อริเริ่มที่นำไปสู่ประชาคมอาเซียนที่มีเศรษบกิจที่ดีและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดดยคำนึงถึงความร่วมมือที่ต่างผ่ายต่างได้ประโยชน์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาทงเศรษบกิจmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d10/
         

วันพุธที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560

Water

            น้ำ เป็นสารประกอบเคมี ชนิดหนึ่ง มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอม และไฮโตรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเนต์น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ
            น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ติน 1.7% ในธารน้ำแข็งและขั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติการและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเสษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจาก
อนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ)และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3 % เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนน้ำนพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และขั้นบรรยากาศ และนำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของส่ิงมีชีวิตและผลิตภัณฑ์
           น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฒจักรของการระเหยเป้นไอและการคายน้ำ(การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปภถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน
           น้ำดื่มสะอาดเป็นส่ิงจำเป้นสำหรับมุนษย์และส่ิงมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะมไ่ม่มีแคลอรีหรือสารอาการ ที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่อมสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ปรชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่ 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเก่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่งไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี ค.ศ. 2025 ประชากรโลกมากกว่าครึ่งหนึ่งจะประสบปัญหาความเสี่ยงที่เกี่ยวกับน้ำ รายงานล่าสุดเมือเดอืนพฤศจิกายน ค.ศ. 2009 รายงานว่า ภายในปี ค.ศ. 2030 ในพื้ที่ประเทศที่ำกำลังพัฒนาจะมีความต้องการน้ำจะเพิ่มขึ้นเกิดประมาณน้ำที่มีกว่า 50% น้ำมีบทบาทสำคัญในเสณษฐกิจโลก เนื่องจากน้ำเป้นตัวทำละลายของสารเคมีหลากหลายชนิดและอำนวนความสะดวกในเรื่องการให้ความเย็นในภาคอุตสาหกรรมและการคมนาคม น้ำจืดประมาณ 70% มนุษย์ใช้ไปกับเกษตรกรรม...
       
 น้ำจืด หมายถึงน้ำในแหล่งน้ำทั่วไปอาทิ บ่อน้ำ ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำธาร เป็นต้น ที่ซึ่งมีเกลือและของแข็งอื่นละลายอยู่ในระดับต่ำ มีความหนาแน่นน้อย นั่นคือน้ำจอดไม่ได้เป็นน้ำเค็มและน้ำกร่อย นำ้จืดสามารถเป็นผลผลิตของน้ำทะเลที่เอาเกลือออกแล้วได้
           น้ำจืดเป็นทรัพยากรหมุนเวียนที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนบกเป็นสวนใหญ่ และเป้ฯที่จำเป้นต่อมนุษย์สำหรับน้ำดื่ม และใช้ในเกาตรกรรมเป้ฯต้น องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่า ประชากรโลกประมาณร้อยละ 18 ขาดแคลนน้ำด่มที่ปลอดภัย...
           ทรัพยากรน้ำ หมายถึง แหล่งต้นตอของน้ำที่เป็นประดยชน์หรือมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์ ทรัพยากรน้ำมีความสำคัญเนื่องจากน้ำเป็นสิ่งจำเป็นเนื่องจากจำเป็นแก่การดำรงชีวิตของสิงมี่ชีวิตทุกชนิด ได้มีการนำน้ำมาใช้ในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บ้านเรือน นันทนาการและกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งด้าานสิ่งแวดล้อม น้ำที่มนุษย์นำมาใช้ในกิจกรรมต่างวๆ ดังกล่าวนั้นจะเป้ฯน้ำจือด แต่น้ำจืดในโลกเรามีเพียงร้อยละ 2.5 เท่านั้น และปริมาณ 2 ใน 3 ของน้ำจืดจำนวนนี้เป็นน้ำแข็งในรูปของธารน้ำแข็ง และน้ำแข็งที่จับตัวกันอยุ่ที่ขั้นโลกทั้งสองขั้ว ผัจุบันความต้องการน้ำมีมากว่าน้ำจืดที่มีอยุ่ในหลายส่วนของโลก และใอีกหฃลายพื้นที่ในโลกกำลังจะประสบปัญหาความไใ่สมดุลของปุปสงค์และุอุปทานของน้ำในอนาคตอันไม่ไกลนัก กรอบปฏิบัตเพื่อการจัดสรรทรัยากรน้ำให้แก่ผุ้ใช้น้ำ(ในพื้นที่ที่มีกรอบปฏิบัติแล้ว) เรียกว่า "สิทธิการใช้น้ำ"th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน้ำ
           แหล่งน้ำจืด
           น้ำผิวดิน ได้แก่น้ำในแม่น้ำลำคลอง ทะเลสบและในพื้นที่ชุมน้ำที่เป้นน้ำจืด ปกตินำผิวดินจะได้รับการเติมจาผนหรือหิมะ และจะหายไปตามธรรมชาติด้วยการระเหยการไหลออกสู่ทะเลและากรซึมลงไปใต้ดิน
           แม้ว่าการเติมน้ำจืดโดยธรรมชาิของระบบน้ำผิวดินจะได้จากการตกของผนหรือหิมะลงเฉพาะบนบริเวณลุมน้ำนั้นๆ ณ เวลาหนึ่งก็ตาม แต่ประมาณรวมของน้ำยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นอีกหลายปัจจัย ปัจจัยเหล่านี้รยมถึงปริมาณความจุของทะเลสาบ พื้นที่ชุมน้ำและอ่างเก็บน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นอัตราการซึมของดินในพื้นที่กักเก็บต่างๆ ดังกล่าว ลักษณะของการไหลตามผิวพื้นที่ลุ่มน้ำ ช่วงเวลาการตกของฝนหรือหิมะและอัตราการระเหยของพื้ที่นั้นๆ ปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อสัดส่วนของน้ำที่ไหลออกสูทะเล ระเหยและซึมลงใต้ดิน
           กิจกรรมของมนุษย์สามารถสร้างผลกระทบต่อปัจจัยต่ารงๆ ดังกล่าวได้มากมนุษย์มักเพิ่มความจุน้ำเก็บกักด้วยการสร้างอ่างเก็บน้ำและละความจุ้ำเก็ฐกักด้วยการระบายพื้นที่ชุ่มน้ำให้แห้ง มนุษย์เพ่ิมปริมาณและความเร็วไหลตามผิวของน้ำด้วยการดาดผิวพื้นต่างๆ ให้แข็งรวมทั้งการทำทางให้น้ำไหลทิ้งไปรวดเร็วขึ้น
       
ปริมาณโดยรวมของน้ำที่มีให้ใช้ ณ เวลาหนึ่งนับเป็นข้อพิจารณาที่มีความสำคัญมาก การใช้น้ำบางประเภทของมนุษย์เป็นการใช้แบบหยุดๆ เดินๆ ตัวอย่ง เช่นการทำเกษตรกรรมหลายแห่งต้องการ้ำเป้นปรมาณมากในช่วฤดูเพาะปลูกและไม่ใช้น้ำอีกเลยหลังฟดูเกฐเกี่ยว การจ่ายน้ำให้พื้นที่เกษตรกรรมประเภทดังกล่าว ระบบน้ำผิวดินเพื่อากรนี้อาจต้องมีขนาดการเก็บกักที่ใหญ่เพื่อให้สามารถเก็บกักน้ำฝนที่ตกลงมาทั้งปีไว้ สำหรับปล่อยมาใบ้ภายเในเวลาที่สั้นเป็นต้น การใบ้น้ำปะเภทนี้ค่อยๆ ใช้ในปริมาณครั้งละไม่่มากแต่สม่ำเสมอทั้งปี เช่น้ำสำหรับหล่อเย็นในโรงผลิตไฟฟ้า การจ่าย้ำในกรณีนี้ ระบบน้ำผิวดินต้องการเพียงอ่างหรือแหล่งกักเก็บที่มีความจุให้พอสำหับไว้ชดเชยน้ำในสาธารที่มีอัตราการไหลเข้าอ่างในฤดูแล้วต่ำหว่งอัตราการใช้น้ำในการหล่อเย็น
           น้ำผิวดินตามธรรมชาติสามารถเพ่ิมพูนได้โดยการนำน้ำเข้ามาจากแหลงในลุมน้ำอื่นด้วยการขุดคลองส่งน้ำหรอวางท่อส่งน้ำ หรืออาจทำด้วยวิธีอื่นๆ แต่ก็ได้ไม่มาก มนุษย์เรามีส่วนทำให้ระบบน้ำผิวดินไม่มั่นคงหรือ "หายไป" จากการสร้างมลพิษ
           บราซิล เป็นประเทศที่ประมาณกันว่ามีแหล่งน้ำจืดมากที่สุดในโลกตามด้วยแคนาดาและรัศเซีย
         
น้ำใต้ผิวดินหรือน้ำใต้ดินหมายถึงน้ำจือดที่ขังอยุ่ในช่วงว่างของดินหรือหินและยังหมายถึงน้ำที่ไหลอยู่ภายในชั้นหินอุ้มน้ำ หรือชั้นน้ำ ซึ่งอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใจ้ติด ในบางครั้งก็มีประโยชน์ที่จะแยกให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง น้ำใต้ผิวดินที่อยุ่ใกล้และสัมพันธ์กับน้ำผิวดิน กับ น้ำผิวดินที่สัมพันธ์กับน้ำใต้ผิวดินที่อยู่ใกล้และสัมพันะ์กับน้ำผิวดิน กับน้ำผิวดินที่สัมพันะ์กับน้ำใต้ผิวดินที่อยู่ลึคกมากในชั้นหินอุ้มน้ำ บางครั้งก็เรียกน้ำชนิดนี้ว่า่ "น้ำซากดึกดำบรรพ์"
           ความเครียดน้ำ
           แนวคิดของความเครียดน้ำค่อนข้างตรงไปตรงมา สมัชชาธุรกิจเพื่อากรพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ความหมายว่าเป้ฯสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมือเกิดการขาดแคบนน้ำสำหรับใช้ในกิจการต่างๆ ไม่ว่าจะเป้นเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรมหรือภาคครัวเรือน การใช้เพื่อบ่งชี้ขีดเร่ิมเครียดน้ำในแง่่ของควาเพียงพอของน้ำต่อหัวนับเป็นเรื่องที่ซับซ้อนมากขึ้น อย่างไรก็ดี การใช้ดดยทั่วไปหมายึถงการใช้นำ้และประสิทธิภาพของการใช้น้ำ ได้มีการเสนอว่า เมือใดที่น้ำจืดที่ใช้หมุนเวียนได้ที่ใช้ต่อคน/ปีลดต่ำลงกว่า 1,700 ลูกบาสก์เมตร ประเทศนั้นๆ จะพบกับปัหาการเครียดน้ำ ต่ำกว่า 1,000 ลบม. ความขาดแคลนน้ำจะเริ่มมีผลกระทบต่อเศรษบกิจของประเทศและเกิดปัญหาสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชน
       
 มีหลายส่ิงที่คุกคามต่อแหล่งน้ำจืดของโลก สิ่งคุกคาดังกล่วได้แก่
         - การเพิ่มจำนวนประชากร
         - การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน้ำ
         ประชาคมอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม หมวดว่าด้วยความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม ในข้อ D9 : ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยการน้ำจืด เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร คือ ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด ดดยให้ความเชื่อมั่นในเรื่องการเข้าถึงทรัพยากรน้ำอย่างเท่าเทียมกัน และคุณภาพที่ได้รับการอมรับได้ในปริมราณที่เพียงพอ เพื่อรองรับความต้องการของประชาชนอาเซียน
          มาตรการ :
          i. สารต่อการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์อาเซียนว่าด้วยการจัดการทรัพยากรน้ำ
          ii. พยายามที่จะลดจำนวนประชากร ที่ไม่สามารถเข้าถึงน้ำดื่มปลอดภัยใหนเลหือเพียงครึ่งเดียวภายในปี 2553
         iii. จัดการทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผลเพื่อให้สามารถได้บริการน้ำดื่มได้อย่างเพียงพอภายในปี 2558
         iv. ส่งเสริมการดำเนินการจัดการลุ่มแม่น้ำอย่างบูรณาการภายในปี 2558
         v. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้และากรเป็นหุ้นส่วนเพื่อสเริมสร้างการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการ
         vi. ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาควาด้วยมาตรการและดครงการอนุรักษ์น้ำ รวมทั้งนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการปรับปรุงคุณภาพและการจัดหาน้ำmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d9/
         
         

วันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560

CITES : The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora

           อนุสัญญาไซเตส ไซเตส อนุสัญญาว่าด้วยการต้าระหว่งประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสัญญาวอชิงตัน ประเทศไทยเป็นสมาชิกลำดับที่ 80 โดยลงนามรับรองอนุสัญญาในปี 2518  และให้สัตยาบันในวันที่ 21 มกราคม 2526 
           คณะกรรมการ ไซเตส ประจำปรเทศไทย สังกัน กระทรวงเกษตรและสหกรณื เนื่องจากประทรวงเกษตรและสหกรณื ได้มีคำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ไซเตส ประจำประเทศไทยขึ้น โยมีัหน้าที่ดำเนินการในกิจกรรมต่างๆ และให้คำปรึกษาแก่รัญมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอนุสัะญญา ไซเตสในประเทศไทย
           กระทรวงเกาณตาและสหการณ์ได้จัแบ่หน้าที่รความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานของ ไซเตส ในปรเทศไทยมอบหมายให้ ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดดยตรง ในการดูแลชนิดพันธุ์ที่ ไซเตส ควบคุม คือ
         
 สัตว์ป่า พืิชป่า ของป่า อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมป่าไม้
           พืช อยู่ในความรีับผิดชอบของ กรมวิชาการเกษตร
           สัตว์น้ำ อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมประมง 
           ปัจจุบัน การดำเนินงานการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์ป่า เพื ่อมิให้ประชกรของสัตว์ป่าลดน้อยลงหรือสูญพันธุ์ไป กรมป่าไม้ ได้ดำเนินการร่วมมือและประสานงานกับนานาชาติในการอนุรักษ์สัตว์ป่าและดำเนินงานด้านการป้องกันและปราบปราม โดยได้จัดตั้งด่านตรวจสัตว์ป่าขึ้นที่ทาอากาศยานนานาชาติ ท่าเรือและจุดตรวจตามแนวชายแดน เพื่อป้องกันการลักลอบการค้ การนำเ้ขา การสงออกและนำผ่านแดนซึ่งสัตว์ป่า ที่กระทำผิด พ.ร.บ.สงงนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ในปัจจุบันได้จัดตั้งขึ้นแล้วจำนวน 49 ด่าน
           ไซเตส เร่ิมมีขึ้นเมื่อ สหพันะ์ระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ หรือ IUCN ได้จัดการประชุมนานาชาติ ขึ้นในปี 2516 ที่กรงุวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อร่างอนุสัญญา ไซเตส ขึ้น มีประเทศที่เข้าร่วมประชุม 83 ประเทศรวมทั้งตัวแทนจากประเทไทยด้วย โดยมีผุ้ลงนามรับรองอนุสัญญาฉบับนี้ทันที่ 21 ประเทศและในปี พ.ศ. 2518 IUCN ได้จัดตั้งสำนักงานเลขาธิการ ไซเตส ขึ้น ทำหน้าที่บริหารอนุสัญญาฉบับนี้ ภายใต้การดูแลของ IUCN ปัจจุบนมีสำนักงานอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวตตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกกว่า 140 ประเทศ โดยสมาชิกจะต้องจ่ายเงินอุดหนุนรายไปเป็นค้าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักเลขาธิการ ไซเตส สำหรับประเทศไทยนั้น กรมป่าไม้เป้นผุ้ขอตั้งงบประมาณเงินอุดหนุน ไซเตส โดยช่วงปี พ.ศ. 2536-2538 ประทศไทยต้องจ่ายเงินปีละ 112,000 บาทให้กับ ไซเตส
           
ไซเตสมีจุประสงค์ คือ การอนุรักษณ์ททรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าในโลก เพื่อประโยชน์แห่งมวลมนุษย์ชาติโดยเน้นทรัพยากรสัตว์ป่าแฃละพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือมีการคุกคาม ทำให้มีปริมาณร่อยหรอจนอาจเป้นเหตุให้สูญพันธุ์ วิธีการอนุรักษ์ของ ไซเตส ก็คือ การสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่ไม่ควบคุมการต้าภายในประทเศ สำหรับชนิดพันธุ์อื่นๆ 
              หน้าที่ของไซเตส คือ 
               - สมาชิกต้องกำหนดมาตราการในการบังคับใช้อนุสัญญ ไซเตส มิให้มีการต้าสัตว์ป่า พืชป่าที่ผิดระเบียบอนุสัญญาฯ โดยมีมาตรการลงโทษผุ้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีที่ทราบถึงถ่ินกำเนิด
               - ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่าระหว่งประเทศเพื่อควบคุมและตรวจสอบการต้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญ ไซเตส
               - ต้องส่งรายงานประจำปี เกี่ยวกับสถิติการต้าสัตว์่ป่า พืชป่าของประเทศตนแก่สำนักงานเลขาธิการ ไซเตส
               - ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการ และคณะทำงานฝ่ายวิทยาการ ประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
              -  มีสิทธิเสนอขอเเลกเปลี่ยนชนิดพันธุ์ในบัญชี Appendix I-II-III ให้ภาคีพิจารณา
             ระบบการควบคุมของไซเตส การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศจะถูกควบคุมโดยระบบใบอนุญาต ซึ่งหมายถึงว่า สัตว์ป่าและพืชป่าที่ ไซเตส ควบคุมต้องมีใบอนุญาตในการ 
           
  -นำเข้า
              - ส่งออก
              - นำผ่าน
             - ส่งกลับออกไป 
              ประชาคมอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้มีการจำแนกความสำคัญในลักษณะต่างๆ โดยสิ่งแวดล้อมอยู่ในหมวด  D ซึ่งในข้อ D8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษณ์ทรัยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน โดยเป้าหมายทางยุทธศาตร์ คือ ให้ความมัี่นใจว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณ์ของอาเวียนจะได้รับการรักษาและจัดการอย่างยั่งืนโดยการเสริมสร้างสภาวะที่ดีทางด้านสังคม เศราฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
            มาตรการ :
            i. บรรลุเป้าหมาย ภายในปี 2553 ในเรื่องการลดอย่างมีความหมายของอัตราการสูญเสียในปัจจุบันของความหลากหลายทางชีวภาพโดยกาดำเนินแผนงานที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ 
            ii. ส่งเสริมการประสานงาน การแบ่งปันตัวอย่างบทเรียนในการเข้าถึงและการแบ่งปันทรัพยากรทางพันธุกรรมและชีวภาพอย่วงเท่าเทียมกันภายในปี 2558 
            iii. ส่งเสริมการจัดทำรายการและการร่วมกันจัดการอุทยานที่เป็นมรดกของอาเซียนในการเป้นเวทีที่มีประสิทธิภาพสำหรับการจัดการพิ้ที่ที่ได้รับการคุ้มครองทางระบบนิเวศ ภายในปี 2558 
            iv.ส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการพื้นที่คุ้มครองข้ามพรมแดนระหว่างประเทศสมราชิกอาเวียนที่เป็นเพื่อนบ้านกัน
            v. ดำเนินมาตรการที่เหมาะสมเพื่อลอผลกระทบของการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของส่ิงม่ีชีวิตที่เกิดจากการตัดต่อสารพันธุกรรมโดยเป้นไปตามพิธีสารคาร์ทาเกน่าว่าด้วยควาปลอดภัยทางชีวภาพภายในปี 2558
            vi. จัดตั้งเครือข่ายการทำงานในระดับภุมิภาคเพืรีอการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดทำรายการของทรัพยากรทางชีวภาพและมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียนภายในปี 2558
         
  vii. ส่งเสริมบทบาทและศัยภาพของศูนย์อาเวียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์ความเป็นเลิศในระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการอนุรักษ์ และการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
            viii. ส่งเสริมการมีสวนร่วมของชุมชนท้องถ่ินในการักษาความหลากหลายทางชีวภาพแลสุขภาพป่าไม้ ภายในปี 2558
            ix. ส่งเสริมนโยบายการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและแนวปฏิบัติที่จะลอผลกระทบจากการบุกรุกของสายพันธุ์ต่างถิ่นในระดับภูมิภาคและระหว่งประเทศ
            x. ส่งเสริมความร่วมมือในระดับภูมิภาคว่าด้วยการจัดการความหลากหลายทางชีัวภาพอย่างยั่งยืน เช่น การทำวิจัยร่วมกัน และการพัฒนาประสบการณ์ การแลกเปลี่ยนผุ้เชี่ยวชาญและการฝึกอบรม
           xi. เสริมสร้างความพยายาที่จะควบคุมการต้าข้ามพรมแดนในเรื่องสัตว์ป่าและพืชป่าภายใต้แผนงานอาเซียนว่าด้วยเรื่องการต้าพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ปี 2548-2553 และเครือข่ายการป้องกันและปราบปรามการต้าสัตว์ป่าที่ผิดกฎหมาย (อาเซียน-เว็น) เพื่อดำเนินการตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาว่ด้ายการต้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส)
          xii. แสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดทำการสำรวจร่วมกันและการติดตามการอพยพของสัตว์ป่า
          xiii. ส่งเสริมความร่วมือระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียนในการจัดการพื้นดินเสื่อมโทรมสำหรับการจัดการพื้นดินอย่างยั่งยืนเพื่อสนัยสนุนการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนmnre.stage.symetr.com/th/ascc/d8/

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...