ASEAN CONNECTIVITY II

      โครงการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนที่สำคัญ
       โครงข่ายทางหลวงอาเซียน คือ โครการก่อรสร้างโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการขนส่งทางบกนำร่องซึ่งจะรวมกันเป็นเส้นทางสายหลัก หรือ ทางหลวงระหว่างประเทศ เพื่อสร้างเป็นระบบเรือข่ายการขนส่งโดยรวมของอาเซียน ทางหลวงอาเซียนจะมีส่วนร่วมห้ผุ้ประกอบการสามารถเข้าถึงตลาดที่ใหญ่ขึ้น รวมทั้งลดต้นทุนการขนส่งและการค้า ทำหน้าที่เชื่อต่อห่วงโซ่อุปทานระดับภูมิภาคและระดับโลก ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือ การรวมตัว และการลดช่องว่างทางการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน
        การดำเนินงานก่อสร้างทางหลวงอาเซียนในปัจจุบัน ยังคงมีเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแกนในบางช่วงที่ไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ดังนั้นโครงข่ายทางหลวงอาเซียนจึงมีวัตถุประสงค์หลักในหารก่อสร้างถนนเพ่ิมเติมในช่วงของการขนส่งที่ไม่ต่อเนือง และทำการปรับปรุงยกระดับถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ในเส้นทางที่กำหนด ภายในปี พ.ศ. 2558
        สำหรับช่วงของการขนส่งที่ขาดหาย และต้องการเชื่อมต่อการขนส่งที่ต่อเนื่องมุ่งเน้นไปที่การก่อสร้าง 1) ทางหลวง AH 112 ระยะทาง 60 กม. เชื่อมโยงระหว่างท่าตอน เมาะละแห่ง ละยา และคลองลอย ในสหภาพพม่า และ 2) ทางหลวง  AH 123 ระยะทาง 141 ก.ม. เชื่อมโยงระหว่างทวาย และ ช่องแม่สะแม ในสหภาพพม่า ในส่วนของการปับปรุงเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแดนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงเส้นทางต่อไปนี้
          - ลาว AH 12 เวียงจันทน์ - หลวงพระบาง ระยะทาง 393 กม.
          - ลาว AH 15 บ้านลาว - น้ำนาว ระยะทาง 98 กม.
          - พม่า AH 1 ตามู - มัณฑะเลย์ -บากู -เมียวดี ระยะทาง 781 กม.
          - พม่า AH 2 เม็กทิลา - ลอยเล็ม - เชียงตุง - ท่าขี้เหล็ก ระยะทาง 593 กม.
          - พม่า AH 3 เชียงตุง - เมืองลา ระยะทง 93 กม. สำหรับทางหลวงอาเซียนช่วงที่ผ่านประเทศไทยประกอบด้วยเส้นทางหลัก 6 สาย ได้แก่
                 A-1 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอดไปตามทางหลวงหมายเลข 105 ถึง จ.ตาก เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1  ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.บางปะอิน เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.หินกองเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 33  ผ่าน จ. นครนายก ปราจีนบุรี จรดชายแดนเขชมรที่ อ.อรัฐประเทศ เป้นทางผิวลาดยาง และคอนกรีตตลอดระยะทางประมาณ 698 กม.
                A-2 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอด ไปตามทางหลวงหมายเลข 110 ถึง จ. เชียงราย ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.ลางปะอิน เลี้ยวขวาไปทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกรุงเทพฯ และจากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายพลเขล 4 ผ่าน จ.นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และชุมพร แล้วตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 41 ถึง จ.พัทลุง เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่าน อ. หาดใหญ่และไปจรดชายแดนของมาเลเซียที่ อ. สะเดา สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีต ตลอดสายระยะทางประมาณ 1,945 กม.
             A-3 เร่ิมต้นจากปยกสาย A-2 ที่ จ. เชียงราย ไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ไปจรดเขตแดนทของลาวที่ อ.เชียงของ เป็นทางลาดยางตลอดสายระยะทางประมาณ 115 กม.
             A-12 เริ่มต้นจากแยกสาย A-1 ที่สามแยกหินกองไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง จ.สระบุรี เลี่้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2 ผ่าน จ.นครราชศรีมา ขอนแก่นอุดรธานี สิ้นสุดที่หนองคาย สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีตแล้วตลอดสาย ระยะทางประมาณ 524 กม.
            A-15 เริ่มต้นจากแยกสาย A-12 ที่ จ.อุดรธานี ไปตามทางหลวงหมายเลข 22 ผ่าน จ. สกลนคร สิ้นสุดที่ จ. นครพนม สภาพทางลาดยางตลอดระยะทางประมาณ 241 กม.
            A-18 เริ่มต้นจากแยกสายที่ A-2 ที่ อ.หาดใหญ่ ไปตามทางหลวง หมายเลข 43 แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงเชย 42 ผ่าน จ.ปัตตานีไปจนถึง จ. นราธิวาส จากนั้นไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ไปจนจรดเขตแดนของ มาเลเซียที่ อ.สุไหง-โกลก เป็นทางลาดยางตลอดสาย ระยะทางประมาณ 275 กม.
                       เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง
            เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง เป็นโครงการนำรองสำหรับโครงสร้างพื้นฐานทางคมนคมอีกหนึ่งโครงการที่มีความสำคัญ โดยมีเป้าหมายอยู่ที่การเชื่อมโยงประเทศในกลุ่มอาเวียน 7 ประเทศ ซึ่งได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม พม่า และสปป.ลาวกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยในเบื้องต้นเพื่อให้โครงการนี้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจะให้ความสำคัญกับ เส้นทางหลัก 4 ช่วง ซึ่งในปัจจุบันยังมีการเชื่อมโยงกันที่ยังไม่สมบูรณ์ ได้แก่
          - ไทย อรัญประเทศ - คลองลึก ( 6 กม.)
          - กัมพูชา ปอยเปต - ศรีโสภณ ( 48 กม.)
          - กัมพูชา พนฒเปญ - ล็อกนิน ( 254 กม.)
          - เวียดนาม ล็อกนิน - โฮจิมินห์ (129 กม.)
       
สำหรับเส้นทางรถไฟสายนี้ตัดผ่านปะเทศไทย 17 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นครปฐม ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ภาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประชวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุ
ง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และช่วงของรางรถไฟที่จะต้องมีการก่อสร้างเพ่ิมเติมในประเทศไทย จะอยู่บริเวณสภานีรถไฟน้ำตก จ. กาญจนบุรี ถึงธันบูซายัด ในสหภาพพม่ ารวมระยะทาง 263 กม.
        แนวระเบียงเศราฐกิจ ประกอบด้วย
        แนวระเบียงเศษฐกิจตะวันออก- ตะวันตก มีจุดเร่ิมต้นจากเมืองเมาะละแหม่งของพม่ ผ่านเมืองเมียวดี ก่อนจะเข้าสู่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ประเทศไทย และผ่านจ. พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ข้ามสะพานมิตรภาพแห่งที่สองเข้าสู่แขวงสะหวันนะเขต ของ สปป.ลาว ผ่านแดนสะหวั น และเข้าสู่ประเทศเวียดนามที่เมืองลาวบาว ผ่านเมืองเว้ ดองฮา และสิ้นสุดที่เมืองดานัง เมื่องท่าสำคัญของเวียดนาม
        แนวระเบียบเศรษฐกิจ แม่โขง-อินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมภูมิภาคลุ่มน้ำโข. ซึ่งประกอบด้วยประเทศ กัมพุชา ไทย และสหภาพพม่ เข้กับฝั่งตะวันออกของอินเดีย โดยผ่าน เส้นทางโฮจิมินห์ -พนมเปญ-กรุงเทพฯ -ทะวาย-เจนไน ซึ่งใช้เป็นเส้นทางลัดสำหรับขนส่งสินค้า ควบคุ่ไปกับการพัฒนาเขตเศราฐกิจและอุตสาหกรรมบริเวณโดยรอบเส้นทาง และเป็นการเน้นบย้ำถึงความสำคัญของอินเดียในฐานะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ทางด้านการต้า แลการลงทุนของอาเซียน รมไปถึงความสอดคล้องกับนโยบาย มองระวันออก ของอินเดียที่มุ่งสนับสนุนการดำเนินความสัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
         โครงการเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซอาเซียน ในการประชุมรัญมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน ครั้งที่ 20 ณ เมืองบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2545 อาเซียนได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจโครงการเชื่อมโยงท่าก๊าซธรรมชาต ิอาเซียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นกรอบการทำงานอย่างกว้าง ๆ สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนในการประสานความร่วมมือเพื่อดำเนินโครงการให้สัมฤทธิ์ผล และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของภูมิภาคอาเซียน โดยอาเซียนได้มอบหมายให้คณะมนตรี
อาเซียนว่าด้วยปิโตรเลี่ยม เป็นกลไกหลักในการดำเนินโครงการ ASCOPE ได้จัดตัเ้งคึณะทำงานเฉพาะกิจเกี่ยวกับโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน และได้จัดทำแผนแม่บงทโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน โดยปรับปรุงจากแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาและการใช้ก๊าซธรรมชาติในภุมิภาคอาเซีน ในปี พ.ศ. 2539
         ปัจจุบันอาเซียนมีากรเชื่อโยงท่าส่งก๊าซธรรมชาติ ระยะทางรวมทั้งสิ้น 3,020 กม.และมีแผนการที่จะก่อสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต โดยแหล่งก๊าซนาทูน่า ทางตะวันออกของอินโดนีเซียจะเป็นแหล่งก๊าซหลักที่จะสนับสนุนโครงการท่อก๊าซในอาเซียนและอาจมีการนำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว จากภายนอกภูมิภาค เพื่อนำมากระจายผ่านโครงข่ายก๊าซของอาเซียนอีกด้วย
        ระบบท่อก๊าซอาเว๊ยนที่อยุ่ในเขตพื้นที่ของประเทศไทยประกอบด้วย ท่อก๊าซเชื่อมโยงกับพม่าบริเวณจังหวัดราชบุรี และมาเลเซียในบริวเณอ่าวไทย นอกจานี้จะมีการขยายท่อก๊าซเพ่ิมเติมกับมาเลเซียในอ่าวไทย และการก่อสร้างท่อก๊าซใหม่ไปเชื่อมกับแหล่งนาทูน่าตะวันออกของอินโดนีเซยด้วย
        โครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเวียนมีนโยบายร่วมกัน ที่จะพัฒนาและเชื่ดม
โยงโครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เพื่อส่งเสริมความมั่นคงของการจ่ายไฟฟ้าของภูมิภาค และส่งเสริมให้มีการซื้อขายพลังงานไฟฟ้าระหว่างประเทศ เพื่อลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าโดยรวม โดยที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้ายพลังงาน ครั้งที่ 25 ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยเรื่อง โครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2550 เพื่อเป้ฯกรอบในการกำหนดนโยบายร่วมของภุมิภาคนการผลัดันให้การเชื่อมโยงระบบสายส่งไฟฟ้า และการซื้อขายไฟฟ้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
          สำหรับโครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน มีโครงการเร่งรัด 2 โครงการที่ต้องรีดำเนินการ ซึ่งได้แก่ โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อ มะละกา - เปกันบารู ภายใต้แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย และโครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อกะลิมนตันตะวันตก และซาวารักภายใจ้เขตพัฒนาเศราฐกิจอาเซียนด้านตะวันออก บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในส่วนของไทยนั้น ได้มีการซื้อขายไฟฟ้ากับ สปป. ลาว และมาเลเซีย ผ่านจุดเชื่อมโยงสายส่งบริเวณจังหวัดสกลนคร อุดรธานี ร้อยเดอ็ด มุกาหาร อุบลราชธานี และผ่านระบบเชื่อโยงไทย - มาเลเซีย บริเวณจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ รัฐบาลไทย ยังมีแผนที่จะซื้อขายไฟฟ้ากับพม่าและกัมพา รวมทั้งก่อสร้างจุดเชื่อมโยงสายส่งเพิ่มเติมอีกด้วยwww.mfa.go.th/asean/contents/files/customize-20121218-094305-241038.pdf

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)