วันเสาร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2560

ASEAN Economic Community

             ท่ามกลางบริบททางเศณาฐกิจ การต้าและการลงทุนระหว่างประเทศที่มีการแข่งขันสูง อันส่งผลให้ประเทศต่างๆ ต้องปรับตัวเองเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากระบบเศรษบกิจโลก รวมถึงการรวมกลุ่มการต้ากันของประเทศต่างๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการต้าเสรีอเมริกาเหนือ  ผุ้นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้เห็นชอบเมื่อปี 2545 ให้จัดตั้ง "ประชาคมเศราฐกิจของอาเซียน" ภายในปี 2558 เพื่อส่งเสริมให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้า บริการ การลงทุนแรงงานฝีมือระหว่าประเทศสมาชิกโดยเสรี ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน ลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งเสริมให้อาเซียนสามารถรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกได้อย่างไม่อยู่ในภาวะ ที่เสียเปรียบ
             กระบวนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักในการที่จะทำให้อาเซียนบรรลุสู่การะเปน "ประชาคมอาเซียน" ภายในปี 2558 มีรากฐานมาจากนำความร่วมมือและความตกลงทางเศณาฐกิจที่อาเซียนได้ดำเนินการ มาระยะหนึ่งแล้ว มาต่อยอดให้มีผลเป็นรูปธรรมและมีความแบบแผนมากยิ่งขึ้น อาทิ ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน ความตกลงด้านการส่งเสริมการลงทุนอาเวียน ความตกลงด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน และความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน
           ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน จะเป็นเครืองมือสำคัญที่จะช่วยขยายปริมาณการต้าและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพึ่งพาตลาดในประเทศที่สาม สร้างอำนาจการต่อรองและศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียนในเวทีเศราฐกิจโลก เพ่ิมสวัสดิการและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนของประเทศสมาชิกอาเซียน บนหลักการของการจัดตั้งประาคมเศราฐกิจ ซึ่งได้แก่ การประหยัดต่อขนาด การแบ่งงานกันทำ และการัพัฒนาความชำนาญในการผลิตของประเทศมาชิกอาเซียน
         
 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่ อ.ชะอำ อ.หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ที่ประชุมผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้รับรองพิมพ์เขียวว่าด้วยการดำเนินงาน ไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจของอาเซียน ซึ่งกำหนดกรอบและกิจกรรมที่จะทำให้อาเซียนบรรลุเป้าหมายการเป็นประชาคมทาง เศรษฐกิจภายในปี 2558 โดยในปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียนกำลัีงอยู่ในระหว่างการปฏิบัติตามพิมพ์เขียวดังกล่าว
          ทั้งนี้ ในการประชุมครั้งนี้ ประเด็นสำคัญที่จะมีการหารือเกี่ยวกับประชาคมเศราฐกิจอาเซียนคือความร่วมมือ ด้านอาหารและพลังงาน โดยเฉฑาะอย่างยิ่งการจัดตั้งคลังสำรองข้าวในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งไทยผลักดันให้มีการจัดตั้งขึ้นในประเทศไทย จะทำให้ไทยซึ่งเป็นประเทศผุ้ส่งออกข้าวรายใหญ่ของโลกและพี่น้องเกษตรกรของ ไทยได้รับประโยชน์โดยตรงทั้งจากการจำหน่ายข้าวเพื่อจัดเก็บในคลังสำรองข้าว และการติดตามตรวจสอบปริมาณและความต้องการข้าวภายใต้เครือข่ายข้อมูลของคลัง สำรองข้าวซึ่งจะมีสวนสำคัญในการวางแผนการผลิตและจำหน่ายข้าวของไทย
             อีกประเด็นสำคัญที่จะมีการหารือคือความร่วมมือด้านการ เงินระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ป่นุ และเกาหลีใต้ ในการจัดต้งกองทุนสำรองพหุภาคีภายใต้มารตรการริเริ่มเชียงใหม่ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินการคลังใภูมิภาค โดยเฉพาะในกรณีเผชิญกับวิกฤตทางเศราฐกิจการเงิน ตลอดจนส่งเสริมการต้า การลงทนุ เพ่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชาชนทุกคนในภูมิภาค
             นอกจากนี้ การจัดตั้ง "คณะกรรมาธิการระหว่งรัฐบาลอาเวียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน" ซึ่งจะมีการประกาศจึดตั้งอย่างเป็นทางการในการประชุมครั้งนี้ จะส่งผลกระทบทางอ้อมต่อความร่วมมือกับประเทศและองค์การระหว่างประเทศนอกอาเซียนในทุกๆ ด้าน รวมทั้งด้านเศราฐกิจ เนื่องจากการมีกลไกทางด้านสิทธิมนุษยชนอย่างเป้ฯรูปธรรมจะทำให้อาเซียนเป็น ที่ยอมรับของนานาประเทศมากขึ้น ซึ่งจะมีสวนลดเงือนไขที่ประเทศคู่ค้าสำคัญในประเทศตะวันตกจะนำไปใช้กำหนด มาตรการที่มีผลกีดกันทางการค้า อาทิ การส่งออกกุ้งแช่แข็งของไทยไปยังสหภาพยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาแรงงาน เด็ก เป็นต้น
  www.mfa.go.th/asean/th/customize/30641-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99.html
             1. นโยบายและเป้าประสงค์
                   1.1 รัฐบาลไทยได้ให้ความสำคัญกับการดำเนินนโยบายความสัมพันะ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศกับอาเซียนในลำดับต้นๆ ในฐานะมิตรประเทศที่มีความใกล้ชิดกบไทยมากที่สุด ไม่ว่าในด้านภูมิศาสตร์ความใกล้เคียงกันด้านสังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงการเป็นหุ้นส่วนทางเศราบกิจที่ำคัญ ซึ่งมีมายาวนานและเหนี่ยวแน่นที่สุด
                 
 1.2 เป้าหมายในการเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเวียน คือ กาเรป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวที่แข็งแกร่ง และดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาใน๓มิภาค รวมทั้งไทยด้วย
                   1.3 จากเดิมที่อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับ 4 ของไทยในปี 2536 ผลจากความร่่วมมือทางเศราฐกิจที่ผ่านมาทำให้อาเซียนกลายเป้ฯคู่ค้าอันดับ 1 ของไทยตั้งแต่ปี 2551 ปัจจุบัน อาเวียนยังเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับหนึ่งของไทย นำหน้าตลาดเดิมอย่างสหรัฐอเมริกาและญีปุ่น และยังมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สถิติมูลค่าการต้ารวมล่าสุดระหว่งไทยและอาเซียนในปี 2556 และ 2557 อยู่ที่ประมาณ 1 แสนล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี โดยไทยยังคงได้ดุลการต้ากับอาเว๊ยน
                   1.4 ในการประชุมสุดยอดอาเวยนเมื่อเดือนตุลาคม 2546 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผุ้นำอาเวียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน เห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน ต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเว๊ยน ครั้งที่ 13 เมื่อเดิอนมกราคม 2550 ทีเมื่องเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้บรรลุผลจากเดิมที่กำหนดไว้ในปี 2563 เป็นปี 2558 โดยในสวนของประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษบกิจอาเวียน เป้นแผนงานบูรณาการการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจต่างๆ ที่จะนำไปสูการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเว๊ยนภายในปี 2558
                   1.5 กรมอาเซียนทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการอาเวียนแห่งชาติ โดยเป็นไปตามข้อบทที่ 13 ของกฎบัตรอาเซียน ซึ่งกำหนดให้แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนจัดตั้งสำนักเลขาธิการอาเวียนแห่งชาติเพื่อช่วยขับเคลื่อการดำเนินงานภายใต้ 3 เสาหลักไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ประเทศไทยได้จัดตั้งคณะกรรมการอาเวียนแห่งชาติ โดยมีรัฐมนตรีว่าดารกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน และมีการกระทรวงพาณิชย์เป้นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเสาเศรษบกิจ
                  1.6 ปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศราฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำยุทธศาสตร์ประเทศในภาพรวม ซึ่งห้ความสำคัญกับการเครียมความพร้อมและการใช้โอากศจาการเป้นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อีกด้วย
              2. ข้อตกลงและพันธกรณีในการเข้าร่วมประชาคมเศราฐกิจอาเวียน
                   2.1 อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศราฐกกิจอาเซียน เป็นแผนงานบูรณาการการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจต่างๆ ที่จะนำไปสู่าการเป้นประชาคมเศราฐกิจอาเวียนภายในปี 2558 พิมพ์เขียว  AEC ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ซึ่งอ้าอิงมาจากเป้าหมายการรวมกล่มทางเศณาฐกิจของอาเซียนตามแถลงการณืบาหลี ฉบับที่ 2 ได้แก่ 1) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการการลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่งเสร และการเคลื่อยย้ายเงินทุนอย่งเสรีมากขึ้นรวมทั้งการส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขาความร่วมมือทางวเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเว๊ยนให้เป็นรูปธรรม 2)
การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเวียน ซึ่งให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายที่จะช่วยสงเสริมาการร่วมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น กรอบนโยบายการแข่งขันของอาเซียน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทงปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงกสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยี สารสนเทศ และพลัีงงาน) 3) การพัฒนาเศราฐกิจอย่างเสมอภาค ซึ่งเป้นการสงเสริมการร่วมกลุ่มทางเศราฐกิจของประเทศสมาชิกและลดช่องว่างของระดับการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่าและสมาชิกใหม่ของอาเซียน เช่น การสนับสนุนการพัฒนา SMEs และการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่างๆ เช่น ความคิดริเริ่มเพื่อากรรวมกลุ่มของอาเซียน เพื่อลดข่องว่างด้านการพัฒนาทางเศณาฐกิจ 4) การบูรณาการเข้ากับเศราฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเศภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีต่วมกันอย่งชัดเจน เช่น การจัดทำเขชตการต้าเสรีของอาเซียนกับประทเศคู่เจรจาต่างๆ รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายใน้ดานการผลิต/จำหน่ายภายในภูมิภาคให้เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก
             2.2 กลไกหลัก ในการขับเคลื่อนประชาคมเศณาฐกิจอาเวียน ได้แก่ การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน และการประชุมรัฐมนตรีเศราฐฏิจอาเวียน และเพื่อให้การจัดตังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประสบความสำเร็จตามที่ตั้งไว้ เปรเทศสมาชิกอาเวียนรวมั้งประเทศไทยมีพันธกิจต้องดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยเฉพาะการดำเนินงานให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน ซึ่งมีควาตกลงสำคัญ 3 ฉบับ ที่ขับเคลื่อนในเรื่องนี้ คือ
               
 2.2.1 ความตกลงการต้าสินค้าของอาเซียน กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเวียนลดภาษีสินค้าในบัญชีลดภาษีให้ครบถ้วนภายในปี 2553 และใช้มาตรการที่มิใช้ภาษีศุลกากรได้เฉพาะเรื่องที่จำเป้น โดยกำหนดให้ลดภาษีสินค้าทุกรายการเหลือร้อยละ 0 ยกเว้นสินค้าอ่อนไหวและสินค้าอ่อนไหวสูง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และตั้งแต่วันที่ 1 มกรคม 2558 สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ (CLMV) ในส่วนของไทย กาแผ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง และไม้ตัดดอก อยู่ในบัญชีสินค้าอ่อนไหวซึ่ลดภาษีเหลือร้อยละ 5 ทั้งนี้ ยังมีเรื่องเกี่ยวกับมาตรการกีดกันที่มิใช่ภาษี ที่อาเซียนกำลังเร่งดำเนินการ
                2.2.2 กรอบความตกลลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเวียยทยอยเปิดตลอดบริการ ซึ่งตาม พิมพ์เขียวกำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดตลาดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นสามารถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70 ยกเว้นสาขาที่อ่อนไหว ปัจจุบัน นักลงทุนอาเวียถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ในสาขา อี-อาเซียน สาขาสุขภาพ สาขาท่องเที่ย และสาขาการบิน ซึ่งทั้ง 4 สาขาถือเป้ฯสาขาบริการเร่วรัด สำหรับสถานะล่าสุดประเทศสมาชิกอาเซียน (ยกเว้นฟิลิปปินส์) ได้ลงนามข้อผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้ความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียน(AFAS) แล้ว โยอยู่ระหว่างการจัดทำข้อผูกพันชุดที่ 10 ซึ่งมีเป้าหมายให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
               2.2.3 จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัติวิชาชีพ โดยปัจจุบันอาเซียนได้ลงนาม MRA ของคุณสมบัตินักวิชาชีพแล้ว 7 สาขา คือ ทันตแพทย์ แพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี ช่างสำรวจ พยายาล และ 1 กลุ่มวิชาชีพ (เน้นในมิติความร่วมมือ)  ได้แก่ การท่องเที่ยว โดยในส่วนบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดทำกอบสมรรถนะมาตรฐานของบุคลากรที่ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยว ประกอบด้วยสมรรถนะร่วมสำหรับทุกกลุ่มสาขา และสมรรถนะ วิชาชีพ โดยบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน ครอบคลุมตำแหน่งงาน 32 ตำแหน่ง
             2.2.4 ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดเสรีและให้การปฏิบัตเยี่ยงคนชาติในสาขาที่ตกลงกัน 5 ประเภท คือ เกษตร ป่าไม้ ประมง เหมืองแร่ และอุตสาหกรรมการผลิต รวมทั้งให้ความคุ้มครอง การสงเสริม และการอำนวนความสะดวกด้านการลงทุนแก่ประเทศสมาชิกอื่นใน 5 สาขาที่กล่าวมาข้างต้นด้วย ปัจจุบัน ความตกลง ด้านการลงทุนของอาเซียน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2556 โดยังสามารถแก้ไขรายการข้อสงวนได้ภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ ACIA มีผลบังคับใช้
            2.3 สรุปได้ว่า อาเซียนสามารถบรรลุเป้าหมายในการเปิดเสรีด้านการต้าสินค้าได้อย่งน่าพอใจ นับจาก AFTA ซึ่งถือเป็นช่วงแรกสำหรับพัฒนาการของ AEC จนถึงปัจจุบัน และภายในสิ้นปี 2558 อาเซียนกำลังเร่งสานต่อการเปิดเสรีด้านการต้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี รวมถึงการปรับกฎระเบียบให้มีความสอดคล้องกัน เพื่อการเข้าสู่ประชาคมเศณาฐกิจอาเซียนอย่างสมบูรณ์..www.mfa.go.th/asean/contents/files/other-20150612-172511-932159.pdf
               
           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...