วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี คือ เพื่อสนับสนุ ASEAN ICT Master Plane 2025 ซึ่งส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกรอบความร่วมมือในการปองกันข้อมุลส่วนบุคคลที่สอดคล้องและครอบคลุมกัน เร่ิมจากการสร้างความโปร่งใส ดดยวางแนวทางสำหรับการกำหนดข้อปฏิบัติและข้อพึงประสงคในการจัดการข้อมูลโดยประเทศสมาชิกอาเซียน และการพิจารณาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในระดับสากล ผ่านการจัดกตั้งเวทีเพื่อแบ่งปันประสบการณ์สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน
3. โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อลดค่าใช้จ่ายของห่วงโซ่อุปทานในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
- เพื่พัฒนาความรวดเร็วและความน่าเชื่อถือของห่วงโซ่อุปทานในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 8 : การเสริมสร้างความแข็.แกร่งในการแช่งขันของอาเซียนผ่านการพัฒนาเส้นทางการต้าและ โลจิสติกส์
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อมุ่งเน้นการวิเคราะห์ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายของเ้นทางการต้าที่มีความสำคัญระดับต่างๆในอาเซียน สามารถสนับสนุนข้อริเริ่มนี้ได้โดยการทำงานร่วมกับสภาบันวิชาการอง์กรพหุภาคี ภาคเอกชน และคู่เจรจาในการวิเคราะห์เวลาและค่าใช้จ่ายของเส้นทางการต้าในระดับต่างๆ รวมทั้งแก้ไขปัญหาจุดติดขัด โดยเร่ิมจากการะบุเส้นทางการต้าที่มีความสำคัญ การเลือกโภคภัณฑ์ที่มีการขนส่งในเส้นทางดังกลาวเพื่อทดสอบและรายงาน จากนั้นจึงรอบรวมข้อมูลที่ได้เพื่อบรรจุไว้ในคลังข้อมูล แล้วเผยแพร่ในเว็บไซต์ของความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนในหมวดเส้นทางการต้าและโภคภัณฑ์โดยกำหนดให้มีการปรับสถานะของข้อมูลให้เ็นปัจจุบันสม่ำ
ข้อริเริ่มที่ 9 : การส่งเสริมประสิทธิภาถของห่วงโซ่อุปทานโดยการแก้ไขปัญหาจุดติขัด (เชคพ้อยต์) ที่สำคัญ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่ม คือ เพื่อพัฒนากรอบความร่วมมือของห่วงโซอุปทาน ซึ่งจะทำให้เกิดมาตรการการดำเนินงานเกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทานแบบบูรณาการ โดยเร่ิมจากการเจาะจงเส้นทางการต้าที่สำคัญ(ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ) และทำความเข้าใจจุดติดขัน (เชคพ้อยต์) ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางการต้าเหล่านี้ เช่น กาบริหารจัดการพรมแดน (ศุลกากร การตรวจคนเข้าเมือง การกักกันโรค) รวมไปถึงการจัดการการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของประชาชน สินค้า ระเบียบปฏิบัติ พิธีการด้านศุลกากร และแนวปฏิบัติในการจัดการพรมแดน โดยในการแก้ไขปัญหาจุดติดขัด (เชคพ้อยต์) จะใช้ข้อมุบทีมีอยู่แล้วรวมทั้งความเห็นของภาครัฐและเอกชนร่วมด้วย จากนั้จึงจะ
พัฒนาแผนการดำเนินงานร่วมกับคณะประสานงานด้านโลจิสติกส์ของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน (หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เทียบเท่า)
4. ความเป็นเลิศด้านกฎระเบียบ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อสร้างความสอดคตล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้อง และกฎระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มหลัก
- เพื่อลดจำนวนมาตการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้าในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 10 : การสร้างความสอดคล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้องและกฎ ระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มที่ได้รับการจัดอันดับความสำคัญ 3 กลุ่ม
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อสนับสนุนแผนงานประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการส่งเสริมการประสานงานระหว่างคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของ ASEAN กับเจ้าหน้าที่ด้านการต้าและ(ุ้ออกกฎระเบียบระดับชาติ โดยต้องเร่ิมจากการจัดอนดับความสำคัญของอสินค้ากลุ่มหลัก 3 กลุ่มโดยพิจารณาจากการไหลเวียนของการต้า ระดับของความสอดคล้องก้ดานมาตรฐาน ณ ปัจจุบัน อุปสรรคด้านการต้าเชิงเทคนิค สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบและความเกี่ยวข้องกับภาคเอกชน จากนั้น ต้องมีการรอบรวมและสร้างข้อเท็จจริงบนพื้นฐานของแนวปฏิบัติที่เป้น
เลิศระดับสากลในด้านมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค รวมถึงประโชน์ที่ค่าดว่าประเทศสมาชิกอเาซียนจะได้รับ
ข้อริเริ่มที่ 11 : การเพิ่มความโปร่งใสและการสร้างความเข้มแข็งให้กับการประเมินผลเพื่อลดมาตรการที่ มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้า
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนงนประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการเร่งขจัดอุปสรรคทางการค้า ที่มิใช่ภาษี โดย MPAC 2025 จะมี่วนช่วยในการเสริมสร้างความร่วมมือและวางกรอบแนวทาง ภายหลังจากการจัดตั้งคลังข้อมูลการต้าอาเซียน สำเร็จลุล่วง อันจะช่วยกระตุ้นให้กระบวนการการดำเนินงานของประเทศสาชิกอาเซียนในการลดมาตรการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการค้ารวดเร็วขึ้น
5. การเคลื่อนย้ายของประชาชน
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- ส่งเสริมให้สมารถเดินทงระหว่างกันภายในอาเซียนได้ง่ายขึ้น
- ลดช่องว่างของอุปสงค์และอุปทานด้านทักษะฝีมือแรงงานในอาเซียน
- การเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกษาในอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 12 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อทำให้นักท่องเที่ยวสามารถวางแผนการท่องเทียวได้ง่ายขึ้น ดดยการใช้เว็บไซต์ท่องเที่ยวอาเซ๊ยน ที่จะเป็น "one stop shop" ในการใหข้อมูลที่แม่นยำสำหรับการวางแผนการเดินทางในภูมิภาค โดยการพัฒนาเว็บไซต์นี้ ก่อนอื่นต้องตรวจสอบเว็บไซต์อื่นๆ ใน
ระดับชาติ ภูมิภาค และสากล เพื่อสามารถระบุโอกาสที่จะทำให้เว็บไซต์อาเซียนที่มีอยู่ดีขึค้น โดยมุ่งเน้นให้เนื่องหาตอบสนองความต้องการของผุ้ใช้ รวมทั้งมีแผนการเดินทางสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินทางในหลายประเทศในภุมิภาคอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 13 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่ออำนวนความสะดวกให้แก่ผุ้มาขอรับการตรวจลงตราโดยพัฒนาระบบการตรวจลงตราอิเล็กทรอนิกส์ บนเว็บไซต์อาเซียนให้กับผุ้ร้องออนไลน์ และในอนาคตอาจพัฒนาเป็น aon-stop application สำหรับนักท่องเที่ยว โดยภายใต้ระบบดังกล่าวนักท่องเที่ยวจะสามารถขอรับการตรวจลงตราสำหรับทุกประเทศสมาชิกอาเซียนโยใช้คำร้องรุปแบบเดียวกัน แต่สิทธิในการตรวจนั้นยังคงขึ้นอยู่กับประเทศปลายทาง
ข้อริเริ่มที่ 14 : การตั้งโครงการฝึกอบรมวิชาชีพ และการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพให้เป็นแบบเดี่ยว
กันในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ภายในที่แตกต่งกัน ของแต่ละประเทศ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อพัฒนาโครงการฝึกอบรมวิชาชีพขั้นสูง และการกำหนดกรอบคุณสมบัติทางวิชาชีพในกลุ่มประทศสมาชิกอาเวียนแปบบสมัครใจ โดย NPAC 2025 จะช่วยประสานโปรแกรมฝึกอบรมต่างๆ ระหว่งภาคการศึกษาและภาคแรงงาน เพื่อให้มั่นใจ่ มีการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพแบบเดียวกันในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 15 : การสนับสนุนการเคลื่อย้ายทางการศึกษาภายในประเทศสมาชิกอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ ช่วงส่งเสริมข้อริเริ่มที่มีอยู่เดินนด้านการศึกษาอันรวมถึงโครงการมอบทุนการศึกาาให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยเนนการเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกาาระหว่างกันในประเทศสมาชิกอาเซียน และแก้ไขช่วงว่างใน 4 ด้าน ได้แก่ ข้อมูล, การตระหนักรู้, กฎระเบียบและแรงจูงใจ โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลออนไลน์ที่ละเดียดและแม่นยำเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย ประโยชน์และโอกาสในการศึกษาในประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งมีการอำนวนความสะดวกด้านการตรวจลวตรด้วย
- แผนแม่บทว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ค.ศ. 2025 (คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
ข้อริเริ่มที่ 9 : การส่งเสริมประสิทธิภาถของห่วงโซ่อุปทานโดยการแก้ไขปัญหาจุดติขัด (เชคพ้อยต์) ที่สำคัญ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่ม คือ เพื่อพัฒนากรอบความร่วมมือของห่วงโซอุปทาน ซึ่งจะทำให้เกิดมาตรการการดำเนินงานเกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทานแบบบูรณาการ โดยเร่ิมจากการเจาะจงเส้นทางการต้าที่สำคัญ(ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ) และทำความเข้าใจจุดติดขัน (เชคพ้อยต์) ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางการต้าเหล่านี้ เช่น กาบริหารจัดการพรมแดน (ศุลกากร การตรวจคนเข้าเมือง การกักกันโรค) รวมไปถึงการจัดการการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของประชาชน สินค้า ระเบียบปฏิบัติ พิธีการด้านศุลกากร และแนวปฏิบัติในการจัดการพรมแดน โดยในการแก้ไขปัญหาจุดติดขัด (เชคพ้อยต์) จะใช้ข้อมุบทีมีอยู่แล้วรวมทั้งความเห็นของภาครัฐและเอกชนร่วมด้วย จากนั้จึงจะ
พัฒนาแผนการดำเนินงานร่วมกับคณะประสานงานด้านโลจิสติกส์ของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน (หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เทียบเท่า)
4. ความเป็นเลิศด้านกฎระเบียบ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อสร้างความสอดคตล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้อง และกฎระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มหลัก
- เพื่อลดจำนวนมาตการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้าในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 10 : การสร้างความสอดคล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้องและกฎ ระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มที่ได้รับการจัดอันดับความสำคัญ 3 กลุ่ม
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อสนับสนุนแผนงานประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการส่งเสริมการประสานงานระหว่างคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของ ASEAN กับเจ้าหน้าที่ด้านการต้าและ(ุ้ออกกฎระเบียบระดับชาติ โดยต้องเร่ิมจากการจัดอนดับความสำคัญของอสินค้ากลุ่มหลัก 3 กลุ่มโดยพิจารณาจากการไหลเวียนของการต้า ระดับของความสอดคล้องก้ดานมาตรฐาน ณ ปัจจุบัน อุปสรรคด้านการต้าเชิงเทคนิค สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบและความเกี่ยวข้องกับภาคเอกชน จากนั้น ต้องมีการรอบรวมและสร้างข้อเท็จจริงบนพื้นฐานของแนวปฏิบัติที่เป้น
เลิศระดับสากลในด้านมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค รวมถึงประโชน์ที่ค่าดว่าประเทศสมาชิกอเาซียนจะได้รับ
ข้อริเริ่มที่ 11 : การเพิ่มความโปร่งใสและการสร้างความเข้มแข็งให้กับการประเมินผลเพื่อลดมาตรการที่ มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้า
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนงนประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการเร่งขจัดอุปสรรคทางการค้า ที่มิใช่ภาษี โดย MPAC 2025 จะมี่วนช่วยในการเสริมสร้างความร่วมมือและวางกรอบแนวทาง ภายหลังจากการจัดตั้งคลังข้อมูลการต้าอาเซียน สำเร็จลุล่วง อันจะช่วยกระตุ้นให้กระบวนการการดำเนินงานของประเทศสาชิกอาเซียนในการลดมาตรการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการค้ารวดเร็วขึ้น
5. การเคลื่อนย้ายของประชาชน
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- ส่งเสริมให้สมารถเดินทงระหว่างกันภายในอาเซียนได้ง่ายขึ้น
- ลดช่องว่างของอุปสงค์และอุปทานด้านทักษะฝีมือแรงงานในอาเซียน
- การเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกษาในอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 12 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อทำให้นักท่องเที่ยวสามารถวางแผนการท่องเทียวได้ง่ายขึ้น ดดยการใช้เว็บไซต์ท่องเที่ยวอาเซ๊ยน ที่จะเป็น "one stop shop" ในการใหข้อมูลที่แม่นยำสำหรับการวางแผนการเดินทางในภูมิภาค โดยการพัฒนาเว็บไซต์นี้ ก่อนอื่นต้องตรวจสอบเว็บไซต์อื่นๆ ใน
ระดับชาติ ภูมิภาค และสากล เพื่อสามารถระบุโอกาสที่จะทำให้เว็บไซต์อาเซียนที่มีอยู่ดีขึค้น โดยมุ่งเน้นให้เนื่องหาตอบสนองความต้องการของผุ้ใช้ รวมทั้งมีแผนการเดินทางสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินทางในหลายประเทศในภุมิภาคอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 13 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่ออำนวนความสะดวกให้แก่ผุ้มาขอรับการตรวจลงตราโดยพัฒนาระบบการตรวจลงตราอิเล็กทรอนิกส์ บนเว็บไซต์อาเซียนให้กับผุ้ร้องออนไลน์ และในอนาคตอาจพัฒนาเป็น aon-stop application สำหรับนักท่องเที่ยว โดยภายใต้ระบบดังกล่าวนักท่องเที่ยวจะสามารถขอรับการตรวจลงตราสำหรับทุกประเทศสมาชิกอาเซียนโยใช้คำร้องรุปแบบเดียวกัน แต่สิทธิในการตรวจนั้นยังคงขึ้นอยู่กับประเทศปลายทาง
ข้อริเริ่มที่ 14 : การตั้งโครงการฝึกอบรมวิชาชีพ และการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพให้เป็นแบบเดี่ยว
กันในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ภายในที่แตกต่งกัน ของแต่ละประเทศ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อพัฒนาโครงการฝึกอบรมวิชาชีพขั้นสูง และการกำหนดกรอบคุณสมบัติทางวิชาชีพในกลุ่มประทศสมาชิกอาเวียนแปบบสมัครใจ โดย NPAC 2025 จะช่วยประสานโปรแกรมฝึกอบรมต่างๆ ระหว่งภาคการศึกษาและภาคแรงงาน เพื่อให้มั่นใจ่ มีการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพแบบเดียวกันในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 15 : การสนับสนุนการเคลื่อย้ายทางการศึกษาภายในประเทศสมาชิกอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ ช่วงส่งเสริมข้อริเริ่มที่มีอยู่เดินนด้านการศึกษาอันรวมถึงโครงการมอบทุนการศึกาาให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยเนนการเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกาาระหว่างกันในประเทศสมาชิกอาเซียน และแก้ไขช่วงว่างใน 4 ด้าน ได้แก่ ข้อมูล, การตระหนักรู้, กฎระเบียบและแรงจูงใจ โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลออนไลน์ที่ละเดียดและแม่นยำเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย ประโยชน์และโอกาสในการศึกษาในประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งมีการอำนวนความสะดวกด้านการตรวจลวตรด้วย
- แผนแม่บทว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ค.ศ. 2025 (คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)