ASEAN CONNECTIVITY IV

            ความท้าทายอันเกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
            1 การปรับตัวของภาคการเกษตร ในปัจจุบันาคการเกษตรของไทยจะมีสัดส่วนมูลค่าการผลตเพียงแค่ร้อยละ 10 ของGDP ของทั้งประเทศ แต่ประเทศไทยยังคงเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการส่งออกสินค้าเกษตรในระดับสุง โดยสินค้าส่งออกหลักของไทย ประกอบด้วย
            - ข้าว ซึ่งในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 5.341.1 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 706.8 ล้านดอลล่าร์ ( 13.23%)
            - น้ำตาลทรายและกากน้ำตาลในปี 2553 มีมุลค่าส่งออกทั่วโลก 2,182.5 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,263.1 ล้านดอลลาร์ ( 57.79%)
            - ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 2,161.4 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 535.7 ล้านดอลลาร์ ( 16.36%)
            ยางพารา ในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วโลก 7,896 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,467.8 ล้านดอลลาร์ (18.59%)
             หากมองในภาพรวมแล้ว โดยมีประเทศสมาชิกอาเซียนต่างมีภูมประเทศที่คล้ายคลึงกัน ลักาณะสินค้าจึงไม่ได้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ทำให้ปริมาณการส่งออก หรือนำเข้าสินค้าจึงไม่ได้มีความแตกต่างอย่างขัดเจน ทำให้ปริมาณการส่งออก หรือนำเข้าสินค้าระหว่างกันจะไม่ได้รับผลกระทบมากนัก แม้จะมีความเชื่อมโยงระหว่างกันสูงก็ตาม
         
แม้ว่าความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนจะนำมาซึ่งโอกาสทางเศราฐกิจอย่างกว้างขวาง แต่เกษตรกรและผุ้ประกอบการก็จำเป้นต้องเร่งปรับตัวและหาทางใช้ประโยชน์จากโอกาสดังกล่าวอยางเต็มที่ ดดยควรศึกษาหาลู่ทางในการใช้ช่องทางการขนส่งสินค้ารูปแบบใหม่ๆ การพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผุ้บริโภคอาเซียน  รวมไปึถงการขยายการลงทุนไปยังประเทศอาเซียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งการลดอุปสรรคทางการต้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี
          2. การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรมนับเป้ฯภาคการผลิตที่มีความสำคัญทางเศณาฐกิจของสมาชิกอาเซียนรวมทั้งประทเศไทย เนื่องจากมีมูลค่าในสัดส่วนเมื่อเรปรียบเทียบกับ GDP ของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องเร่งเพ่ิมพูนขีดความสามารถในการแขช่งขัน ดดยากรพัฒนาคุณภาพสินค้า และบิรการ ตลอดจนลดต้นทุนของการผลิต แนวทางหนึ่งซึ่จะช่วยลดต้อนทุนการผลิตดดยอาศัยประโยชน์จากความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน คือ การนำเข้าวัตถุดิบหรือสินค้าประเภทกึ่งสำเร็จรูปจากสมาชิกอาเซียน ที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสมในอัตราภาษีร้อยละ 0 มาผลิต หรือต่อยอดมูลค่าเพิ่มสินค้า ก็เพื่อลดต้นทุน และเปนการสร้างรายได้เพ่ิมให้กับประทเศุ้สงออก และนำเข้า
         
 3. การระดมเงินทุนเพื่อก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2554 อาเซียนได้เห็จชอบการจัดตังกองทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน กองทุนนี้มีจุดกำเนิดมาจากข้อเสนอของไทยในการประชุม
รัฐมนตรีคลังอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ 2552 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยประเทศสมาชิกในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ถนน ทางรถไฟ หรือโครงสร้างพื้นฐานสำคัญด้านพลังงานและอื่นๆ เพื่อกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งจะนำไปสู่การลดข่องว่างทางรายได้ภายในภุมิภาคในที่สุด
          ในเบื้องต้นกองทุนนี้มีเงินตั้งต้นจำนวน 485.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ดดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย จะให้เงินสนับสนุนจำนวน 150 ล้านดอลลาร์สหรัฐในระยะต่อไปเมื่อกองทุนฯ มีความเข้มแข็งมากขึ้น จะมีการออกธนบัตรกึ่งหนีุ้นเพอให้ประเทศสมาชิกและผุ้สนใจร่วมลงทุนด้วยอย่างไรก็ตามการระดมเงินทุนเป้าหมายจากประเทศสมาชิกจำเป็นต้องมีความต่อเนื่องและเพียงพอต่อการดำเนินโครงการสำคัญๆ ต่างๆ ในอนาคต
           ในปีแรกกองทุนฯ จะให้เงินยืมจำนวน 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนโครงการด้านการเชื่อมดยงในภุมิภาคใน 3 ด้าน คือ การคมนาคมขนส่ง พลังงาน และการจัดการน้ำ โดย ADB จะออกเงินสมทบดครงการเหล่านี้ด้วย
           กองทุนฯ ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซียโดยมีลักษณะเป็นบริษัทจำกัด ดำเนินการภายใต้กฎหมายของมาเลเซียและมีประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นกรรมการบริหารกำกับดูแลการดำเนินการของกองทุนฯ ร่วมกับ ADB
       
   4. การสร้างอัตลักาณ์อาเซียน และการใช้ภาษาสื่อสารระหว่างกัน การสงเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชนมุ่งเน้นการสร้างความรุ้ความเข้าใจระหว่างประเทศสมาชิกในด้านความเชื่อยงทางประวัติศาสตร์มรดกทางวัฒนธรรมอาศัยการสร้างทัศนคติที่ดีต่อกันระหว่งพลเมืองในภูมิภาค ซึ่งมีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่มีความขัดแย้ง และหลากหลายซึ่งเป็นส่ิงที่ท้าทายสำหรับอาเซียนในการสร้างเอกลักษณ์ร่วมกัน
          นอกจากนี้ความแตกต่างทางด้านภาษายังเป็นอุสรรคสำคัญในการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ ดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานไทยยังคงมีจุอ่อนทางด้สนภาษา ส่งผลให้แรงงานไทยสูญเสียโอกาสการได้งานทำ เมพื่อเปรียบเทียบกับแรงงานในประเทศเืพ่อบ้านจึงเป้ฯจุดอ่อนที่ทำให้บรรดานายจ้าง เลือกแรงงานที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษเข้ามาทำงานก่อน
       
กล่าวโดยสรุป
          - ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน คือ ข้อริเริ่มที่จะยกระดับการเชื่อมโยงกันของอาเว๊ยน ทั้งในด้านดครงสร้างพื้นฐษน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชนให้ก้าวไปด้วยกันอย่างราบรื่นและมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นส่ิงที่สำคัญมากต่อการนำไปสู่ความเป้ฯประชาคมอาเซียน โยมีองค์ประกอบหลักที่สำคัญ ได้แกj
       ความเชื่อมดยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ากรคมนาคม เทคโนลโลนีสารสนเทศและการสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน หมายถึง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้านคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศและพลังงาน ตลอดจนกรอบกฎระเบียบที่จำเป็นในการให้บริการสาธารณณปโภคที่เกี่ยวข้อง
          แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่งกนในอาเซียนได้กำหนด 7 ยุทธศาสตร์หลักในการเพ่ิมพูนความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ดังนี้
          - ก่อสร้างทางหลวงอาเซียนให้แล้วเสร็จ
          - ดำเนินโครงการเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ
          - สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปให้มีประสิทธิภาพและเชือมโยงกัน
       
  - สร้างระบบขนส่งทางทะเลที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ และสามารถแข่งขันได้
          - สร้างระบบการขนสงต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คบ่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป้นศูนย์กลางการขนส่งในเอชียตะวัออกและภูมิภาคอื่นๆ
          - เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศสมาชิก
          - ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน
           ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ การเปิดเสรีทางการต้าและการอำนวยความสะดวกทางการต้า การเปิดเสรีและการอำนวยคามสะดวกในการบริการและการลงทุน ความตกลง/ ข้อตกลง ยอมรับร่วมกัน ความตกลงการขนส่งในภูมิาภค พิธการในกาข้ามพรมแดน และดคงการเสริมสร้างศักญภาพต่างๆ  ยุทธศาสตร์หลักในแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระวห่งกันในอาเซียเพื่อการเพ่ิมพูนความเชื่อมดยงด้านกฎระเบียบ มีดังนี้
         
 - ดำเนินตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่ง
           - เร่ิมดำเนินโครงการการอำนวยความสะดวกด้านขนส่งผุ้โดยสาร ในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ
           - สร้างตลาดการบินเดียวภายในอาเซียน
           - สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน
           - เพ่ิมการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสีในภูมิภาคอาเซียน โดยการลดอุปสรรคทางการต้าภายในระดับภูมิภาค
           - เร่งรัดการพัฒนาภาคกรบริการทางการขนส่งให้มีประสิทธิภาพและแขงขันได้โดยเฉพาะในสาขาโทรคมนาคม และารบริาการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อมโยงในภูมิภาค
           - การพัฒนาโครงการการอำนวยความสะดวกทางด้านการต้าในภูมิภาคอยางจริงจัง
           - ยกระดับความสามารถของการบริหารจัดากรพรมแดน
           - เร่งรัดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาคายใต้กฎระเบีบการลงทุนที่เป็นธรรม
           - เสริมสร้างความสามารถของหน่ยงานด้านกฎระเบียบในพื้นที่ และประเทศที่พัฒนาน้อยกว่าในภูมิภาคและปรับปรุง การประสานงานทางด้านนโยบาย แผนงานและดครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค
           ความเชื่อมโยงด้านประชาชน การศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว คือ การเชื่อมโยงทางสังคมและวัฒนธรรมที่ประานและยึดรวมประชาชนเข้าไว้ด้วยกัน ดดยประกอบไปด้วยข้อริเร่มทางการศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
          ยุทธสาสตร์หลักในการเพ่ิมพูนความเชื่อมโยงด้านประชาชน มีดังนี้ ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนงะรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และ ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชากรภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น
           - ความเชื่อมระหว่างกันในอาเวียนเป็นแนวความคิดที่มีการหยิบยกขึ้นหารือกันเป็นครั้งแรก โดยผุ้นำอาเซียนในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ณ ชะอำ- หัวหิน เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2552 โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับการเชื่อมดยงในภูมิภาคให้ดีขึ้น ซึ่งจะเป้นประโยชน์ต่อเสราฐกิจของประเทศสมาชิก ลดช่องว่างทางการพัฒนา และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประชากรอาเซียน ซึ่งจะมีส่วนส่งเสริมการสร้างประชาคมอาเซียน
           แนวคิดนี้ยังใช้ประโยชน์จากที่ตั้งของภูมิาภคอาเวีย ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ใจกลงภูมิภาคที่กำลังเจริญเติบโต มเสราฐกิจที่แข็งแกร่ง ห้อมล้อมด้วยอินเดียทางทิศตะวันตก จีน ญี่ปุ่น และเากหลีใต้ทางทิศตะวันอกเแียงเหนือ ออสเตรเลีย และนิซีแลนด์ ทางทิศมต้ การเพิ่มพูนความเชื่อมโยงระว่างกันในอาเวียนจะสนับสนุน ให้อาเซียนเป้ฯศูยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออก และดำรงไว้ซึ่งความเป้ฯสูนยกลางในภูมิภาค

                - ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน(ฉบับย่อ), กองอาเซียน 3 กระทรวงการต่างประเทศ, ธันวาคม 2554.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)