กรอบความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง
ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาอาเซียนได้มีข้อริเริ่มหลายประการในการอำนวยความสะดวกทางการขนส่งเพื่อสร้างระบบโลจิสติกส์ และระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ เืพ่อากรเคลื่อยย้ายสินค้าและการเชื่อมโยงการขนส่งข้อริเร่ิมเหล่านี้ ได้แก่
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขน่ส่งสินค้าผ่านแดน ซึ่งมีวัตถุปรสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้า โดย อนุญาตให้รถยนจ์ขนส่งที่จดทะเบียวในประเทศสมาชิกอื่นๆ สามารถขนส่งสินค้าผ่านเขตแดนขอวงประเทศตนได้
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการขนส่วอเนื่องหลายรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสรมการเชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบก ทางทะเล และทางอาเกาศ เพื่อำนวยความสะดวกในการส่งสินค้าไปึงผุ้รับในรูปแบบต่างๆ
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งวข้ามแดน ซึ่งมีวัตถุประสคืเพื่ออำนวนความสะดวกในการขนส่งสินค้าข้ามแดน โดยอนุญาตให้ผุ้ประกอบการขนส่งในประเทศหนึ่งสารถขนส่งินค้าเข้า หรือออกาจาอีกประเทศหนึ่ง และมีสิทธิในการบรรทุุกและขนถ่ายสินค้าที่มีปลายทางในอีกประเทศหนึ่งได้
ระบบอำนวยความสะวกด้านสุลการกรด้วยอเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน
ระบบ ASEAN Single Window มีวัตถุประสงค์หลักในกาเรชเื่อมโยงข้อมุลด้านศุลกากรแบบบูรณาการเพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จจากการติดต่อเพื่องจุดเดีวโดยผุ้นำเข้า ผุ้ส่งออก ตัทนออกของ และผุ้ประกอบการขนส่ง สามารถส่งข้อมุล อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้องกรอกข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ความผิดพลาดลดลง และลดการทำงานที่ไม่สร้างมูลค่าเพื่อม อีกทัี้งยังสมารถแลกเปลียนข้อมูบกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจได้อย่างสะดวกรวดเร็วแบบครบวงจร ทำให้ลดต้นทุนการบริหารการจัดการ แฃะการช้ทรัพยากรต่างๆ ตลอดกระบวนการต้าระหว่งประเทอีกทั้งสอดคล้องกับการดำนินการตามความตกลงอาเซียน
ปัจจุบันประเทศไทยมีระบบอำนวยความสะดวกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวในระดับประเทศ ที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานต่างๆ ได้ในระดับหนึ่ง ทำให้เอกสารบางประเภท อาทิ ใบอนุญาต การนำเข้า ใบอนุญาต การส่งออก และใบรับรองต่างๆ สามารถที่จะจัดส่งทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างอัตโนมัติไปให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจได้อย่างครอบวงจรทำให้ภาพรวมของการประกอบการต้ามีความสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงมากยิ่งขึ้นลดขึ้นตอนการทำงานระหวางหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยได้มีการเชื่อมโยงข้อมมูลกันแล้วจำนวนหนึ่ง ได้แก่ กรมศุลกากร กรมการต้าต่างประเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในอนาคตจะมีการเชื่อมโยงหน่วยงานเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ เมื่อการจัดทำระบบเสณ็จสิ้นโดยสมบุรณ์แล้ว จะก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้
- การนำเข้าส่งออกสะดวกรวดเร็ว สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางติดต่อหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน
- ผุ้ประกอบการสามารถใช้ข้อมูลเพียงชุดเดียวในการติดต่อหลายส่วนราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ลดความซ้ำซ้อนในการจัดทำ จัดส่ง ติดตาม และจัดเก็บข้อมูล
- หน่วยงานออกใบอนุญาตและใบรับรองต่างๆ สามารถลดการใช้เอกสาร ใบอนุญาต และใบรับรองต่างๆ จึงสามารถให้บริการผุ้ประกอบการต้าแบบครบวงจร
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี
อาเซียนมีเป้าหมายในการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายประชาชนในภุมิภาคให้มากขึ้น โดยการอำนวยความสะดวกในการเดินทางของบุคคลที่เกี่ยข้องกับการต้า และการ ลงทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานฝีมือ โดยอาเซียนได้ตกลงร่วมกันที่จะอำนวนความสะดวกในการตรวจลงตรา และการออกใบอนุญาติทำงานสำหรับผุ้ประกอบวิชาชีพและแรงงานฝีมืออาเวียน ดดยในส่วนของแรงงานฝีมือนั้น อาเซียนได้ตั้งเป้าหมายให้เกิดการเคลือนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี โดยได้แบ่งการดำเนินการไว้ 2 แนวทางคือ 1) การจัดตั้งกรอบทักษะฝีมือแงงานระดับประเทศ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนำไปสู่กรอบการยอมรับฝีมือแรงงานของอาเซียน และ 2) การจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม สำหรับผุ้ประกอบวิชาชีพบริการ
การสงเสริมการเคลื่อนย้ายแรรงานฝีมือในอาเซียนมีเป้าหมายหลัก ได้แก่
- บูรณาการมาตรฐานและระบบการให้การรับรองฝีมือแรงงานอาเซียน เข้าด้วยกัน
- สร้างมาตรฐานฝีมือและแนวปฏิบัติที่สอดประสานกัน
- บรรลุการเป็นตลาดแรงงานอาเซียนในประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ในปี 2558
เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว อาเซียนได้จัดทำข้อตกลง MRA ขึ้น 8 ฉบับ ในสาขาวิชาชีพ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม ข่างสำรวจ ท่องเที่ยว แพทย์ ทันตแพทย์ การบัฐชี เพื่อใช้เป็นกรอบการให้การยอมรับร่วมกันเรื่องคุณสมบัติของแรรงานฝีมือ ปะวัติการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการขอรับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ อย่างไรก็ตาม ข้อตกลง MRA มิได้ให้สิทธิพิเศษแก่แรงงานฝีมือที่ได้รับอนุญาตแต่อย่างใด ผุ้ที่ไปทำงานในต่างประเทศยังคงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ อยู่
แม้ว่าข้อตกลง MRA เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการทำให้เกิดการเคลื่อนยายแรงงานได้จริง แต่ MRA ก็เป็นเพียงเครืองมือในการช่วยอำนวยความสะดวกการของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเวียนเท่านั้น การเคลื่อนย้ายแรงงานจะเกิดขึ้นได้จริงจะต้องมีการเปิดเสรีการเคลื่อยย้ายบุคลากรในภาคบริการและการลงุนควบคู่ไปกับการสร้างความพร้อมของแรรงานฝีมือทั้งในด้านความรุ้ความสามารถ และการใช้ภาษา
โอกาส จากการความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
- การเข้าสู่ตลาดในภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ ปัจจุบันอาเซียนนับเป็นประเทศคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย ดยในปี 2553 การส่งออกของไทยไปยังอาวียนมีมุลค่า 1.4 ล้านล้านบ้า คิดเป็นร้อยละ 22.7 ของกรส่งออกทั้งหมด และสูงกว่าปริมาณการส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรปเกือบเท่าตัว ขณะที่การนำเข้าของไทยจากอาเซียนในปี 2553 มีมุลค่าเกือบ 1 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.6 ของการนำเข้าทั้งหมด ดังนั้นการส่งเสริมความเชื่อมโยงภายในอาเซียนจะช่วยให้ไทยสามารถทำารต้าขายกับอาเซียนได้สะดวกยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ อาเซีนประกอบด้วยประชากรกว่า 570 ล้านคน จึงมีขนาดของอุปสงค์ในการบริโภคึสินค้าอย่างมหาศาล ผุ้ผลิตที่สามารถเจาะตลาดอาเซียนได้จะได้รับ ประดยชน์นเรื่องของการประหยัดที่เกิดจาขนดของการลิต กล่าวคือ สามารถผลิตสินค้าในประมาณมาก และมีตนทุนการผลิตที่ลดลง
- ขยายการต้าและการลงทุน ความเชื่อมโยงระหว่างกันที่ดีขึ้น การคมนาคมขนส่งที่มีประสิทธิภาพ จะช่วยเกาษตรกรและผุ้ประกอบการที่ทำธุรกิจ ส่งออกในตลาดอาเซียนมีดอกาสในการขายสินค้าและบริการมากขึ้น และผุนำเข้าสามารถ ซื้อวัตถุดิบทั้งในด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมจากอาเซียนได้ในราคาถูกลง ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนในการผลิตและแปรรูปสินค้า ส่งผลให้ขีดความสามารถในการแข่งขันเพ่ิมขั้น แต่ในอีกด้านหนึ่ง ผุ้ประกอบธุรกิจภายในประเทศก็จะต้องเผชิญกับการแข่งขันจากสินค้าและบริการที่นำเข้าจากภายในอาเซียนได้สะดวกขึ้น จึงจำเป็นต้อง เร่งปรับตัวให้สามารถแข่งขันได้
- เพ่ิมขีดความสามารถของประเทศนการเจรจาต่อรองในเวทีโลก แนวโน้มของนโยบายการต้าและการลงทุนในอนาคต จะอยู่ในรูปของการเจรจาต่อรองกับกลุ่มประเทศมหาอำนาจ อาทิ อเมริกาเหนือ สหภาพยุดรป ตะวันออกกลาง อินเดีย และสาะารณรัฐประชาชนจีน ดังนั้นการรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกในอาเซียนจะช่วยเพิ่มอำนาจในการต่อรองให้กับประเทศไทยในเวทีการต้าโลก เนื่องจากประเทศไทยจะมีประเทศในกลุ่มสมาชิกเป็นแนวร่วมในการต่อรอง อีกทั้งสามารถสร้างความน่าสนใจให้กับประเทศอื่นๆ ที่จะเขช้ามาเปิดการต้าเสรีกับประเทศที่มีความพร้อมทางดครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงที่มประสิทธิภาพ อย่างเช่น ประเทศไทย ดดยผ่านช่องทางของประชาคมเศราบกิจอาเซียน
- สร้างความพร้อมให้กับประเทศสมาชิกเพื่อรับมือกับความเสี่ยงทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันปัญหาทางด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ประเทศทวีความรุนแรงมากขึ้น ปัญหาเหล่านั้นจะส่งผลกระทบต่อประเทศคู่คาดดยผ่าระบบการต้าการลงุทนระหว่างประเทศ และกระแสโลกาภิวัฒน์ ตัวอย่างของปัญหาเหล่านี้ ได้แก่ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ปัญหายาเสพติดปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปัญหาโรคระบาดและโรคติดต่อร้ายแรงปัญหาการศึกษาและทรัพยากรมนุษย์
การเชื่อมโยงใกล้ชิดยิ่งขึ้นระหว่างประเทศอาเซียนก้อาจทำให้ปัหญหาเหล่่านี้ทวีมากขึ้นด้วย หากไม่มีมาตรการที่รอบคอบ รัดกุม รอบรับ ดังนั้น อาเซียนจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมอย่างเป็นระบบ รัดกุม รองรับ ดังนั้น อาเซียนจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมอย่างเป็นระบบ โดยประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมกับองค์กรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขาของอาเซียนและภาคส่วนเกี่ยวข้องจะต้องร่วมกันพิจารณาแนวทางป้องกันและรับมือกับปัญหาเหล่านี้ต่อไป
นอกจากนั้น การสร้างความเชื่อมโยงด้านประชาชนเพื่อนำหปสู่สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ก็อาจเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็ง และเตรียมความพร้อมให้กับประเทศสมาชิกเพื่อที่จะรับมือกับปัญหาต่างๆ เหล่านี้ต่อไป..
- ความเชื่อมดยงระหว่างกันในอาเซียน (ฉบับย่อ) ASEAN CONNECTIVITY, กองอาเซียน 3 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ 443 ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม., 2554.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น